• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4efd89b856e9df7130a86fc2208b318d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/\" title=\"ระบบประสาทซิมพาเทติก \"><img src=\"/files/u40568/anigif_17.gif\" width=\"300\" height=\"150\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"><b>ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nerve)</b><br />\n     ระบบประสาทนี้แยกออกจากไขสันหลังบริเวณอกและเอว เรียกได้อีกอย่างว่าทอราโคลัมบาร์เอาต์โฟล์ว (thoraco-lumbar outflow)<br />\n     เซลล์ประสาทตัวแรก (preganglionic fibre) อยู่ที่ไขสันหลัง แล้วมีแอกซอนออกมากับเซลล์ประสาทสั่งการ แล้วแยกไปยังปมประสาทซิมพาเทติกบริเวณอกและเอว แอกซอนของเซลล์ประสาทตัวแรกจะปล่อยสารสื่อประสาท (neurotransmitter) เป็นสารแอซิติลโคลิน<br />\n     ภายในปมประสาทซิมพาเทติกจะมีเซลล์ประสาททำหน้าที่เ็ป็นเซลล์ประสาทตัวที่สอง(postganglionic fibre) ซึ่งจะส่งแอกซอนไปยังอวัยวะภายในต่าง ๆ  สารที่แอกซอนตัวที่สองปล่อยออกมาเป็นสาร นอร์อะดรีนาลิน หรือ นอร์เอพิเนฟริน จึงเีรียกเซลล์ประสาทพวกนี้ว่าเซลล์ประสาทอะดรีเนอร์จิก (adrenergic neuron) สารนี้เมื่อปล่อยออกมาจะถูกย่อยสลายโดยเอนไซม์มอนามีนออกซิเดส ช่วยให้ระบบประสาททำงานได้ใหม่อีก ( รับการกระตุ้นได้อีก )<br />\n     ระบบประสาทซิมพาเทติกมักจะกระตุ้นการทำงานมากกว่ายับยั้งการทำงาน</span></p>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/hrs_ce_002pic03.jpg\" width=\"297\" height=\"242\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"> </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">http://www.biocomtech.com/hrvscientific </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/433.gif\" width=\"454\" height=\"46\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/89249\" title=\"ย้อนกลับ\"><img src=\"/files/u40568/711_1.gif\" width=\"179\" height=\"102\" /></a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1726995327, expire = 1727081727, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4efd89b856e9df7130a86fc2208b318d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบประสาทซิมพาเทติก

 
 

ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nerve)
     ระบบประสาทนี้แยกออกจากไขสันหลังบริเวณอกและเอว เรียกได้อีกอย่างว่าทอราโคลัมบาร์เอาต์โฟล์ว (thoraco-lumbar outflow)
     เซลล์ประสาทตัวแรก (preganglionic fibre) อยู่ที่ไขสันหลัง แล้วมีแอกซอนออกมากับเซลล์ประสาทสั่งการ แล้วแยกไปยังปมประสาทซิมพาเทติกบริเวณอกและเอว แอกซอนของเซลล์ประสาทตัวแรกจะปล่อยสารสื่อประสาท (neurotransmitter) เป็นสารแอซิติลโคลิน
     ภายในปมประสาทซิมพาเทติกจะมีเซลล์ประสาททำหน้าที่เ็ป็นเซลล์ประสาทตัวที่สอง(postganglionic fibre) ซึ่งจะส่งแอกซอนไปยังอวัยวะภายในต่าง ๆ  สารที่แอกซอนตัวที่สองปล่อยออกมาเป็นสาร นอร์อะดรีนาลิน หรือ นอร์เอพิเนฟริน จึงเีรียกเซลล์ประสาทพวกนี้ว่าเซลล์ประสาทอะดรีเนอร์จิก (adrenergic neuron) สารนี้เมื่อปล่อยออกมาจะถูกย่อยสลายโดยเอนไซม์มอนามีนออกซิเดส ช่วยให้ระบบประสาททำงานได้ใหม่อีก ( รับการกระตุ้นได้อีก )
     ระบบประสาทซิมพาเทติกมักจะกระตุ้นการทำงานมากกว่ายับยั้งการทำงาน

 
http://www.biocomtech.com/hrvscientific
 
 
 
สร้างโดย: 
ครูกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวกนกวรรณ เกษมชัยชุติพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 324 คน กำลังออนไลน์