• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:485935cf3d6ddfc3ae704e2d08295eca' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/\" title=\"ระบบประสาทรอบนอก\"><img src=\"/files/u40568/anigif_11.gif\" width=\"300\" height=\"150\" /></a>        \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<b>เส้นประสาทสมอง (cranial nerve )</b><br />\n     เรียกกันทั่วไปว่า เส้นประสาทที่แยกออกจากสมอง ในปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำมีจำนวน10 คู่ ส่วน พวกในสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีจำนวน 12 คู่ สำหรับคนเรามี 12 คู่  คือ คู่ที่ 1 – 12<br />\n     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เส้นประสาท ออลแฟกทอรี (olfactory nerve) รับความรู้สึกเกี่ยวกับกลิ่น เยื่อหุ้มจมูก เข้าสู่ทอรีบัลล์ แล้วเข้าสู่ออลแฟกทอรีโลบของสมองส่วนซีรีบรัมอีกที่หนึ่ง<br />\n     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เส้นประสาทออพติก (optic nerve) รับความรู้สึกเกี่ยวกับการมองเห็นจากเรตินาของลูกตาเข้าสู่ออพติกโลบ แล้วส่งไปยังออพซิพิทัลโลบของซีรีบรัมอีกที่หนึ่ง<br />\n     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 เส้นประสาทออคิวโลมอเตอร์ (oculomotor nerve ) เส้นประสาท สั่งการจากสมองส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลูกตา 4 มัด ทำให้ลูกตาเคลื่อนไหวกลอกตาไปมาได้ และยังไปเลี้ยงกล้ามเนื้อที่ทำให้ลืมตา ทำให้ม่านตาหรี่หรือขยายและไปยังกล้ามเนื้อปรับเลนส์ตาอีกด้วย<br />\n     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 4 เส้นประสาททอเคลีย (trochlea nerve ) เป็นเส้นประสาทสั่งการ ไปยังกล้ามเนื้อลูกตา มองลงและมองไปทางหางตา\n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/F02_11.jpg\" width=\"257\" height=\"264\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://cwx.prenhall.com/bookbind/pubbooks/morris5/\" title=\"http://cwx.prenhall.com/bookbind/pubbooks/morris5/\">http://cwx.prenhall.com/bookbind/pubbooks/morris5/</a> chapter2/custom1/deluxe-content.html\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div>\n     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 เส้นประสาทไตรเจอมินัล (trigerminal nerve) แบ่งออกเป็น 3 แขนงทำหน้าที่รับความรู้สึกจากใบหน้า ลิ้นฟัน ปากเหงือก กลับเข้าสู่สมอง ส่วนพาเรียทัลโลบ และทำหน้าที่สั่งการไปควบคุมกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการเคี้ยวอาหาร<br />\n     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 6  เส้นประสาทแอบดิวเซนส์ (abducens nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการออกจากพอนส์ไปยังกล้ามเนื้อลูกตาทำให้เกิดการชำเลือง<br />\n     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 เส้นประสาทเฟเชียล (facial nerve) เป็นเส้นประสาทที่สั่งการไปยัง กล้ามเนื้อหน้าทำให้เกิดสีต่าง ๆ กัน และยังเป็นเส้นประสาทรับความรู้สึกรับรสจากปลายลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัมส่วนพาเรียทัลโลบ<br />\n     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เส้นประสาททออดิทอรี (auditory nerve) เส้นประสาทรับความรู้สึกแยกออกเป็น 2 แขนง แขนงหนึ่งจากคลอเคลียของหู ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยินเข้าสู่ซีรีบรัม ส่วนเทมพอรัลโลบ อีกแขนงหนึ่งนำความรู้สึกเกี่ยวกับการทรงตัวจากเซมิเซอร์์คิวลาร์แคแนล เข้าสู่ซีรีเบลลัม\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/reflex-circuit.gif\" width=\"107\" height=\"234\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/content/cranial_nerve3.html\" title=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/content/cranial_nerve3.html\">http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/con...</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div>\nเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 เส้นประสาทกลอสโซฟารินเจียล (glossopharyngeal nerve) เป็นเส้นประสาท รับความรู้สึกจากช่องคอ เช่น ร้อน เย็น และรับรสจากโคนลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัมส่วนพาเรียทัลโลบ และนำกระแสประสาทสั่งการจากสมอง ไปยังกล้ามเนื้อบริเวณคอหอยที่เกี่ยวกับการกลืน และต่อมน้ำลายใต้หูให้หลั่งน้ำลาย<br />\nเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 เส้นประสาทเวกัส (vegus nerve) เป็นเส้นประสาทรับความรู้สึกจากลำคอ กล่องเสียง ช่องอก ช่องท้อง ส่วนเส้นประสาทสั่งการจะออกจากเมดัลลาออบลองกาตาไปยังกล้ามเนื้อลำคอ กล่องเสียง อวัยวะภายใน ช่องปาก และช่องท้อง<br />\nเส้นประสาทสมองคู่ที่ 11 เส้นประสาทแอกเซสซอรี (accessory nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการจากเมดัลลาออบลองกาตา และไขสันหลัง ไปยังกล้ามเนื้อคอช่วยในการเอียงคอและยกไหล่<br />\nเส้นประสาทสมองคู่ที่ 12 เส้นประสารทไฮโพกลอสซัล (hypoglossal nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการไปยังกล้ามเนื้อลิ้นทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของลิ้น\n</div>\n<div>\n\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/path_nerve_impulse.jpg\" width=\"242\" height=\"254\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/content/cranial_nerve3.html\" title=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/content/cranial_nerve3.html\">http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/con...</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div>\n<b>เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ</b><br />\n     1.  กลุ่มเส้นประสาทรับความรู้สึกอย่างเดียว เรียกว่า เส้นประสาทรับความรู้สึก(sensory nerve) เส้นประสาทกลุ่มนี้มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ในปมประสาทเซลล์สมอง ได้แก่  เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 คู่ที่ 2 และคู่ที่ 8<br />\n     2.  กลุ่มเส้นประสาทสั่งการอย่างเดียว โดยสั่งการจากสมองไปยังอวัยวะตอบสนอง เรียกว่าเส้นประสาทสั่งการหรือนำคำสั่ง (motor nerve) เส้นประสาทกลุ่มนี้มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ที่เปลือกสมองหรือซีรีบัลคอร์เทกซ์ (cerebral cortex) ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 คู่ที่ 4 คู่ที่ 6 คู่ที่ 11 และคู่ที่12<br />\n     3.  กลุ่มเส้นประสาทที่ทำหน้าที่ทั้งรับความรู้สึกและสั่งการ เรียกว่าเส้นประสาทประสม(mixed nerve) ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 คู่ที่ 7 คู่ที่ 9 และคู่ที่ 10\n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/brain_branc_.jpg\" width=\"303\" height=\"256\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/content/cranial_nerve4.html\" title=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/content/cranial_nerve4.html\">http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/46/2/nerve/con...</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/436_0.gif\" width=\"500\" height=\"68\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/81853\" title=\"หน้าหลัก\"><img src=\"/files/u40568/15.gif\" width=\"126\" height=\"75\" /></a> \n</div>\n', created = 1726979851, expire = 1727066251, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:485935cf3d6ddfc3ae704e2d08295eca' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบประสาทรอบนอก

        
เส้นประสาทสมอง (cranial nerve )
     เรียกกันทั่วไปว่า เส้นประสาทที่แยกออกจากสมอง ในปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำมีจำนวน10 คู่ ส่วน พวกในสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีจำนวน 12 คู่ สำหรับคนเรามี 12 คู่  คือ คู่ที่ 1 – 12
     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เส้นประสาท ออลแฟกทอรี (olfactory nerve) รับความรู้สึกเกี่ยวกับกลิ่น เยื่อหุ้มจมูก เข้าสู่ทอรีบัลล์ แล้วเข้าสู่ออลแฟกทอรีโลบของสมองส่วนซีรีบรัมอีกที่หนึ่ง
     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เส้นประสาทออพติก (optic nerve) รับความรู้สึกเกี่ยวกับการมองเห็นจากเรตินาของลูกตาเข้าสู่ออพติกโลบ แล้วส่งไปยังออพซิพิทัลโลบของซีรีบรัมอีกที่หนึ่ง
     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 เส้นประสาทออคิวโลมอเตอร์ (oculomotor nerve ) เส้นประสาท สั่งการจากสมองส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลูกตา 4 มัด ทำให้ลูกตาเคลื่อนไหวกลอกตาไปมาได้ และยังไปเลี้ยงกล้ามเนื้อที่ทำให้ลืมตา ทำให้ม่านตาหรี่หรือขยายและไปยังกล้ามเนื้อปรับเลนส์ตาอีกด้วย
     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 4 เส้นประสาททอเคลีย (trochlea nerve ) เป็นเส้นประสาทสั่งการ ไปยังกล้ามเนื้อลูกตา มองลงและมองไปทางหางตา
 
 
http://cwx.prenhall.com/bookbind/pubbooks/morris5/ chapter2/custom1/deluxe-content.html
 
     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 เส้นประสาทไตรเจอมินัล (trigerminal nerve) แบ่งออกเป็น 3 แขนงทำหน้าที่รับความรู้สึกจากใบหน้า ลิ้นฟัน ปากเหงือก กลับเข้าสู่สมอง ส่วนพาเรียทัลโลบ และทำหน้าที่สั่งการไปควบคุมกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการเคี้ยวอาหาร
     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 6  เส้นประสาทแอบดิวเซนส์ (abducens nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการออกจากพอนส์ไปยังกล้ามเนื้อลูกตาทำให้เกิดการชำเลือง
     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 เส้นประสาทเฟเชียล (facial nerve) เป็นเส้นประสาทที่สั่งการไปยัง กล้ามเนื้อหน้าทำให้เกิดสีต่าง ๆ กัน และยังเป็นเส้นประสาทรับความรู้สึกรับรสจากปลายลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัมส่วนพาเรียทัลโลบ
     เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เส้นประสาททออดิทอรี (auditory nerve) เส้นประสาทรับความรู้สึกแยกออกเป็น 2 แขนง แขนงหนึ่งจากคลอเคลียของหู ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยินเข้าสู่ซีรีบรัม ส่วนเทมพอรัลโลบ อีกแขนงหนึ่งนำความรู้สึกเกี่ยวกับการทรงตัวจากเซมิเซอร์์คิวลาร์แคแนล เข้าสู่ซีรีเบลลัม
 
 
 
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 เส้นประสาทกลอสโซฟารินเจียล (glossopharyngeal nerve) เป็นเส้นประสาท รับความรู้สึกจากช่องคอ เช่น ร้อน เย็น และรับรสจากโคนลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัมส่วนพาเรียทัลโลบ และนำกระแสประสาทสั่งการจากสมอง ไปยังกล้ามเนื้อบริเวณคอหอยที่เกี่ยวกับการกลืน และต่อมน้ำลายใต้หูให้หลั่งน้ำลาย
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 เส้นประสาทเวกัส (vegus nerve) เป็นเส้นประสาทรับความรู้สึกจากลำคอ กล่องเสียง ช่องอก ช่องท้อง ส่วนเส้นประสาทสั่งการจะออกจากเมดัลลาออบลองกาตาไปยังกล้ามเนื้อลำคอ กล่องเสียง อวัยวะภายใน ช่องปาก และช่องท้อง
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 11 เส้นประสาทแอกเซสซอรี (accessory nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการจากเมดัลลาออบลองกาตา และไขสันหลัง ไปยังกล้ามเนื้อคอช่วยในการเอียงคอและยกไหล่
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 12 เส้นประสารทไฮโพกลอสซัล (hypoglossal nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการไปยังกล้ามเนื้อลิ้นทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของลิ้น
 
 
เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ
     1.  กลุ่มเส้นประสาทรับความรู้สึกอย่างเดียว เรียกว่า เส้นประสาทรับความรู้สึก(sensory nerve) เส้นประสาทกลุ่มนี้มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ในปมประสาทเซลล์สมอง ได้แก่  เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 คู่ที่ 2 และคู่ที่ 8
     2.  กลุ่มเส้นประสาทสั่งการอย่างเดียว โดยสั่งการจากสมองไปยังอวัยวะตอบสนอง เรียกว่าเส้นประสาทสั่งการหรือนำคำสั่ง (motor nerve) เส้นประสาทกลุ่มนี้มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ที่เปลือกสมองหรือซีรีบัลคอร์เทกซ์ (cerebral cortex) ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 คู่ที่ 4 คู่ที่ 6 คู่ที่ 11 และคู่ที่12
     3.  กลุ่มเส้นประสาทที่ทำหน้าที่ทั้งรับความรู้สึกและสั่งการ เรียกว่าเส้นประสาทประสม(mixed nerve) ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 คู่ที่ 7 คู่ที่ 9 และคู่ที่ 10
 
 
 
 
สร้างโดย: 
ครูกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวกนกวรรณ เกษมชัยชุติพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 449 คน กำลังออนไลน์