• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:32cbaee2d980cd3353f0cabd33d1ddb7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img width=\"600\" src=\"/files/u41057/h3.jpg\" height=\"150\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n2. การเจริญเติบโตขั้นที่สอง (Secondary growth)\n</p>\n<p>\nทำให้เกิดเนื้อเยื่อลำเลียงขั้นที่สอง โดยจะสร้าง Vascular cambium ขึ้นมาก่อน โดย Interfasicular cambium เปลี่ยนแปลงมาจากพิธเรย์ ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อ Parenchyma จะไปเชื่อมต่อกับ Interfasicular cambium ซึ่งมีอยู่เดิมแล้วใน Vascular bundle กลายเป็น Vascular cambium\n</p>\n<p>\nโดยที่ Vascular cambium จะแบ่งตัวให้กำเนิด\n</p>\n<p>\n1. โฟลเอมระยะที่สอง (Secondary phloem) จะออกด้านนอก มีปริมาณน้อย อายุยืนยาว\n</p>\n<p>\n2. ไซเลมระยะที่สอง (Secondary xylem) จะเข้าด้านใน มีปริมาณมาก อายุสั้น เกิดเป็นส่วนที่เรียกว่าเนื้อไม้ (Wood)\n</p>\n<p>\nเนื้อเยื่อชั้น Epidermis+Cortex+โฟลเอมระยะที่หนึ่ง+โฟลเอมระยะที่สอง+Vascular cambium รวมกันจะเรียกส่วนนี้ว่า เปลือกไม้ (Bark)\n</p>\n<p>\nไซเลมระยะที่สอง จะหนามาก เรียกเนื้อไม้ (Wood) โดยในแถบของโลกที่มีฤดูกาลต่างกันมาก เนื้อไม้จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ\n</p>\n<p>\n- Spring wood เกิดในฤดูน้ำมาก เซลล์มีขนาดใหญ่ ผนังเซลล์บาง\n</p>\n<p>\n- Summer wood เกิดในฤดูน้ำน้อย เซลล์จะมีขนาดเล็ก ผนังเซลล์หนา\n</p>\n<p>\nโดยที่ไซเลมทั้ง Spring wood และ Summer wood จะเรียกว่า วงปี (Annual ring) ซึ่งเกิดขึ้นในแต่ละปี สามารถใช้บอกอายุของพืชได้\n</p>\n<p>\nชั้นของเนื้อไม้มีการทำหน้าที่และสะสมสารต่างกันเป็น 2 ประเภท คือ\n</p>\n<p>\n1. แก่นไม้ (Heart wood) มีสารอินทรีย์พวกน้ำมันเรซินหรือแทนนิน และสารอื่นๆสะสม ทำให้ท่ออุดตัน แข็งอยู่ด้านในๆของลำต้น มีสีคล้ำ จะไม่มีการลำเลียงสาร\n</p>\n<p>\n2. กระพี้ (Sap wood) อยู่ใกล้ๆกับ Vascular cambium ยังไม่มีสารมาอุดตัน มีสีจางกว่าแก่นไม้ จะมีการลำเลียงสาร\n</p>\n<p align=\"center\">\nลำดับเนื้อเยื่อใน Vascular bundle เรียงจากในสุดอกมานอกสุด จะเป็นดังนี้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"600\" src=\"/files/u41057/st3.jpg\" height=\"150\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"279\" src=\"/files/u41057/image008.jpg\" height=\"243\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพแสดงการเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://1.bp.blogspot.com/_4UcWtGK_blc/S-5RoBbQs-I/AAAAAAAAAbU/cAtIJuUep80/s320/image008.jpg\" title=\"http://1.bp.blogspot.com/_4UcWtGK_blc/S-5RoBbQs-I/AAAAAAAAAbU/cAtIJuUep80/s320/image008.jpg\">http://1.bp.blogspot.com/_4UcWtGK_blc/S-5RoBbQs-I/AAAAAAAAAbU/cAtIJuUep8...</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82137\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u41057/but9.jpg\" height=\"35\" /></a>\n</p>\n', created = 1727177139, expire = 1727263539, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:32cbaee2d980cd3353f0cabd33d1ddb7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้าง หน้าที่ และการเจริญเติบโตของลำต้น

 

2. การเจริญเติบโตขั้นที่สอง (Secondary growth)

ทำให้เกิดเนื้อเยื่อลำเลียงขั้นที่สอง โดยจะสร้าง Vascular cambium ขึ้นมาก่อน โดย Interfasicular cambium เปลี่ยนแปลงมาจากพิธเรย์ ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อ Parenchyma จะไปเชื่อมต่อกับ Interfasicular cambium ซึ่งมีอยู่เดิมแล้วใน Vascular bundle กลายเป็น Vascular cambium

โดยที่ Vascular cambium จะแบ่งตัวให้กำเนิด

1. โฟลเอมระยะที่สอง (Secondary phloem) จะออกด้านนอก มีปริมาณน้อย อายุยืนยาว

2. ไซเลมระยะที่สอง (Secondary xylem) จะเข้าด้านใน มีปริมาณมาก อายุสั้น เกิดเป็นส่วนที่เรียกว่าเนื้อไม้ (Wood)

เนื้อเยื่อชั้น Epidermis+Cortex+โฟลเอมระยะที่หนึ่ง+โฟลเอมระยะที่สอง+Vascular cambium รวมกันจะเรียกส่วนนี้ว่า เปลือกไม้ (Bark)

ไซเลมระยะที่สอง จะหนามาก เรียกเนื้อไม้ (Wood) โดยในแถบของโลกที่มีฤดูกาลต่างกันมาก เนื้อไม้จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

- Spring wood เกิดในฤดูน้ำมาก เซลล์มีขนาดใหญ่ ผนังเซลล์บาง

- Summer wood เกิดในฤดูน้ำน้อย เซลล์จะมีขนาดเล็ก ผนังเซลล์หนา

โดยที่ไซเลมทั้ง Spring wood และ Summer wood จะเรียกว่า วงปี (Annual ring) ซึ่งเกิดขึ้นในแต่ละปี สามารถใช้บอกอายุของพืชได้

ชั้นของเนื้อไม้มีการทำหน้าที่และสะสมสารต่างกันเป็น 2 ประเภท คือ

1. แก่นไม้ (Heart wood) มีสารอินทรีย์พวกน้ำมันเรซินหรือแทนนิน และสารอื่นๆสะสม ทำให้ท่ออุดตัน แข็งอยู่ด้านในๆของลำต้น มีสีคล้ำ จะไม่มีการลำเลียงสาร

2. กระพี้ (Sap wood) อยู่ใกล้ๆกับ Vascular cambium ยังไม่มีสารมาอุดตัน มีสีจางกว่าแก่นไม้ จะมีการลำเลียงสาร

ลำดับเนื้อเยื่อใน Vascular bundle เรียงจากในสุดอกมานอกสุด จะเป็นดังนี้

ภาพแสดงการเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่

ที่มา : http://1.bp.blogspot.com/_4UcWtGK_blc/S-5RoBbQs-I/AAAAAAAAAbU/cAtIJuUep8...

 

สร้างโดย: 
คุณครูวรรณภา ศรีวิไลสกุลวงศ์ และ นางสาวภารดี สรรพพิทยากร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 300 คน กำลังออนไลน์