• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:12ba4c5861f130e6246be05ffbc13e10' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"150\" width=\"600\" src=\"/files/u40061/22.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"170\" width=\"260\" src=\"/files/u40061/Fivefiy.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\nลักษณะทั่วไปของหิ่งห้อย<br />\nหิ่งห้อย (firefly , lightening bug) แมลงแสง แมลงคาเรือง หรือ แมลงทิ้งถ่วง ทั่วโลกมีหิ่งห้อยประมาณ 2,000 ชนิด หิ่งห้อยตัวเต็มวัยเพศผู้มีปีก ส่วนเพศเมียมีทั้งปีกและไม่มีปีก บางชนิดมีปีกสั้นมาก (brachypterous) ชนิดที่ไม่มีปีก มีรูปร่างลักษณะคล้ายตัวหนอน หนอนของหิ่งห้อยเป็นตัวห้ำกินหอยฝาเดียว ไส้เดือน กิ้งกือ และแมลงตัวเล็กๆเป็นอาหาร หิ่งห้อยมีลักษณะเด่น คือสามารถทำแสงได้ทั้งระยะหนอน ดักแด้ ตัวเต็มวัย ส่วนระยะไข่ทำแสงได้เฉพาะบางชนิดเท่านั้น.\n</p>\n<p>\nการทำแสงของหิ่งห้อย<br />\nหิ่งห้อยมีอวัยะทำแสงอยู่บริเวณส่วนท้องด้านล่าง เพศผู้มีอวัยวะทำแสง 2 ปล้อง เพศเมียมี 1 ปล้อง แต่บางชนิดตัวเต็มวัยเพศเมียมีรูปร่างลักษณะคล้ายหนอนมีอวัยวะทำแสงด้านข้างของลำตัวเกือบทุกปล้อง แสงของหิ่งห้อย เกิดจากปฏิกริยาของสาร leciferin เป็นตัวเร่งปฏิกริยาและมีสาร adenosine triphosphate (atp) เป็นตัวให้พลังงาน ทำให้เกิดแสง หิ่งห้อยทำแสงเพื่อการผสมพันธุ์และสื่อสารซึ่งกันและกัน ความถี่การกะพริบแสงของหิ่งห้อยแตกต่างกันตามชนิดของหิ่งห้อย.\n</p>\n<p>\nแหล่งอาศัยของหิ่งห้อย. <br />\nหิ่งห้อยมีแหล่งอาศัยแตกต่างกัน บางชนิดอาศัยอยู่บริเวณแหล่งน้ำจืด แต่บางชนิดอาศัยอยู่บริเวณน้ำกร่อย หรือป่าชายเลน และมีอีกหลายชนิดอาศัยอยู่บริเวณสวนป่าที่มีสภาพแวดล้อมอุดมสมบูรณ์ซึ่งไม่เคยถูกทำลายมาก่อน.\n</p>\n<p>\nวงจรชีวิตของหิ่งห้อย<br />\nหิ่งห้อยมีการเจริญเติบโตแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis) คือมีระยะไข่ , ระยะหนอน , ระยะดักแด้ , ตัวเต็มวัย โดยเพศเมียจะวางไข่เป็นกลุ่มใต้ใบพืชน้ำ เช่น ใบจอกหรือวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ตามพื้นดินที่ชุ่มชื้น แล้วแต่ชนิดของหิ่งห้อย ไข่เมื่อฟักออกเป็นตัวหนอนมีการลอกคราบ 4-5 ครั้ง จึ่งเข้าดักแด้ แล้วออกเป็นตัวเต็มวัย.\n</p>\n<p>\nประโยชน์ของหิ่งห้อย<br />\n1. การกะพริบแสงระยิบระยับของหิ่งห้อยจำนวนมาก ทำให้พื้นที่บริเวณนั้นเกิดความสวยงามตามธรรมชาติในยามค่ำคืน สามารถจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้ เช่น การลงเรือชมหิ่งห้อยที่ จังหวัดสมุทรสงคราม เพชรบุรี และ ตราด<br />\n2. หิ่งห้อยเป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ และสภาพแวดล้อม<br />\n3. ระยะหนอนของหิ่งห้อย เป็นตัวทำลายหอย ซึ่งเป็นสัตว์อาศัยตัวกลางของพยาธิที่เป็นสาเหตุของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และพยาธิใบไม้ในสำไส้คน<br />\n4. นักวิทยาศาสตร์ กำลังสนใจศึกษาค้นคว้า สารลูซิเฟอริน ในหิ่งห้อยซึ่งเชื่อว่าสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์และ ด้านพันธุวิศวกรรม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715744057, expire = 1715830457, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:12ba4c5861f130e6246be05ffbc13e10' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หิ่งห้อย

ลักษณะทั่วไปของหิ่งห้อย
หิ่งห้อย (firefly , lightening bug) แมลงแสง แมลงคาเรือง หรือ แมลงทิ้งถ่วง ทั่วโลกมีหิ่งห้อยประมาณ 2,000 ชนิด หิ่งห้อยตัวเต็มวัยเพศผู้มีปีก ส่วนเพศเมียมีทั้งปีกและไม่มีปีก บางชนิดมีปีกสั้นมาก (brachypterous) ชนิดที่ไม่มีปีก มีรูปร่างลักษณะคล้ายตัวหนอน หนอนของหิ่งห้อยเป็นตัวห้ำกินหอยฝาเดียว ไส้เดือน กิ้งกือ และแมลงตัวเล็กๆเป็นอาหาร หิ่งห้อยมีลักษณะเด่น คือสามารถทำแสงได้ทั้งระยะหนอน ดักแด้ ตัวเต็มวัย ส่วนระยะไข่ทำแสงได้เฉพาะบางชนิดเท่านั้น.

การทำแสงของหิ่งห้อย
หิ่งห้อยมีอวัยะทำแสงอยู่บริเวณส่วนท้องด้านล่าง เพศผู้มีอวัยวะทำแสง 2 ปล้อง เพศเมียมี 1 ปล้อง แต่บางชนิดตัวเต็มวัยเพศเมียมีรูปร่างลักษณะคล้ายหนอนมีอวัยวะทำแสงด้านข้างของลำตัวเกือบทุกปล้อง แสงของหิ่งห้อย เกิดจากปฏิกริยาของสาร leciferin เป็นตัวเร่งปฏิกริยาและมีสาร adenosine triphosphate (atp) เป็นตัวให้พลังงาน ทำให้เกิดแสง หิ่งห้อยทำแสงเพื่อการผสมพันธุ์และสื่อสารซึ่งกันและกัน ความถี่การกะพริบแสงของหิ่งห้อยแตกต่างกันตามชนิดของหิ่งห้อย.

แหล่งอาศัยของหิ่งห้อย.
หิ่งห้อยมีแหล่งอาศัยแตกต่างกัน บางชนิดอาศัยอยู่บริเวณแหล่งน้ำจืด แต่บางชนิดอาศัยอยู่บริเวณน้ำกร่อย หรือป่าชายเลน และมีอีกหลายชนิดอาศัยอยู่บริเวณสวนป่าที่มีสภาพแวดล้อมอุดมสมบูรณ์ซึ่งไม่เคยถูกทำลายมาก่อน.

วงจรชีวิตของหิ่งห้อย
หิ่งห้อยมีการเจริญเติบโตแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis) คือมีระยะไข่ , ระยะหนอน , ระยะดักแด้ , ตัวเต็มวัย โดยเพศเมียจะวางไข่เป็นกลุ่มใต้ใบพืชน้ำ เช่น ใบจอกหรือวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ตามพื้นดินที่ชุ่มชื้น แล้วแต่ชนิดของหิ่งห้อย ไข่เมื่อฟักออกเป็นตัวหนอนมีการลอกคราบ 4-5 ครั้ง จึ่งเข้าดักแด้ แล้วออกเป็นตัวเต็มวัย.

ประโยชน์ของหิ่งห้อย
1. การกะพริบแสงระยิบระยับของหิ่งห้อยจำนวนมาก ทำให้พื้นที่บริเวณนั้นเกิดความสวยงามตามธรรมชาติในยามค่ำคืน สามารถจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้ เช่น การลงเรือชมหิ่งห้อยที่ จังหวัดสมุทรสงคราม เพชรบุรี และ ตราด
2. หิ่งห้อยเป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ และสภาพแวดล้อม
3. ระยะหนอนของหิ่งห้อย เป็นตัวทำลายหอย ซึ่งเป็นสัตว์อาศัยตัวกลางของพยาธิที่เป็นสาเหตุของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และพยาธิใบไม้ในสำไส้คน
4. นักวิทยาศาสตร์ กำลังสนใจศึกษาค้นคว้า สารลูซิเฟอริน ในหิ่งห้อยซึ่งเชื่อว่าสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์และ ด้านพันธุวิศวกรรม

 

สร้างโดย: 
นางสาวรัตนา สถิตานนท์ นางสาวสุจิตรา เบญจะมาศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 232 คน กำลังออนไลน์