• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a221bb7a775f5b774aced8e77a7f8849' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"150\" width=\"600\" src=\"/files/u40061/19.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"289\" width=\"400\" src=\"/files/u40061/Turtle.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<strong>ลักษณะทั่วไป</strong> <br />\nเต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานโบราณกลุ่มเล็ก ๆ ที่มีชีวิตอยู่ในโลกเมื่อ 175 ล้านปีมาแล้ว มีคำภาษาอังกฤษอยู่หลายคำด้วยกันที่ใช้เรียกเต่า เช่นคำว่า ตอร์ตอยส์ (tortoise) ซึ่งชาวอังกฤษใช้เรียกเต่าที่อยู่บนบกและเต่าน้ำจืด ส่วนคำว่าเตอร์เติล (turtle) มีความหมายกว้างใช้โดยทั่วไปกับเต่าทะเล เต่าบก และเต่าคอยาว สำหรับเตอร์ราปีน (terrapin) มีความหมายรวม ๆ ใช้กับเต่าที่มนุษย์กินเป็นอาหาร ซึ่งอาจจะเป็นเต่าน้ำกร่อย และเต่าน้ำจืด ชาวอเมริกาเรียกเต่ายักษ์ซึ่งอาศัยอยู่ในเกาะกะลาปะกอส (Galapagos) เรียกว่าตอร์ตอยส์ นักชีววิทยาจัดเต่าอยู่ในอันดับซีโลเนีย (Order Chelonia) มี 9 วงศ์ (Family) และมีทั้งหมดประมาณ 300 ชนิด พบแพร่กระจายอยู่ในเขตอบอุ่น อาศัยอยู่ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม บางชนิดอาศัยอยู่บนบกตลอดชีวิตเป็นเต่าบก เต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานซึ่งเกิดก่อนสัตว์จำพวกไดโนเสาร์ และสามารถดำรงเผ่าพันธุ์ได้เรื่อยมาจนถึงทุกวันนี้ ลักษณะสำคัญของเต่าคือ มีกระดองหุ้มห่อตัวอยู่ภายนอก เต่าส่วนใหญ่สามารถหดหัวและขาเข้าไปในกระดอง แต่เต่าทะเลไม่สามารถหดหัวและขาเข้าไปเก็บไว้ในกระดองได้ ทั้งนี้เพราะส่วนของเท้าและขาได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างคล้ายใบพายทำหน้าที่ในการว่ายน้ำ กระดองเต่ามีสองส่วนคือ ส่วนหลังหรือเรียกว่ากระดองหลังซึ่งมีลักษณะโค้งนูน และที่กระดองหน้าซึ่งจะเรียบเป็นแผ่น กระดองหน้าและหลังเชื่อมติดกัน กระดองของเต่าจะมีลักษณะเป็นเกล็ดคล้ายเกล็ดของปลา เกล็ดแต่ละเกล็ดเรียงซ้อนกันคล้ายมุงกระเบื้องหลังคา จำนวนของเกล็ดและการเรียงของเกล็ดแตกต่างกันไปตามชนิดของเต่าแต่บางชนิดกระดองของมันจะหุ้มห่อด้วยแผ่นหนัง เช่น เต่ามะเฟือง กระดองเต่าทำหน้าที่เป็นเกราะกำบังตัวให้ปลอดภัยจากศัตรูและอันตรายจากสิ่งภายนอก อายุของเต่าบางชนิดสามารถตรวจนับได้จากจำนวนวงปีซึ่งปรากฎอยู่บนแผ่นเกล็ดคล้ายกับวงปีที่พบในเกล็ดปลาบางชนิด โดยทั่วไปแล้วเต่าเป็นสัตว์ที่มีอายุยืนที่สุด บางชนิดมีอายุประมาณ 100-130 ปี พวกเต่ายักษ์ที่อาศัยอยู่ในเกาะกะลาปะกอส จะมีอายุยืนยาวถึง 130-180 ปี ขาแขนของเต่าโดยทั่วไปจะแบน และมีนิ้ว 5 นิ้ว ทั้งขาคู่หน้าและคู่หลัง แต่ละนิ้วจะมีเล็บทุกนิ้วยกเว้นเท้าคู่หลัง นิ้วด้านในจะไม่มีเล็บหนึ่งนิ้ว ขาคู่หน้าของเต่าทะเลมีลักษณะคล้ายใบพาย ฉะนั้นนิ้วเท้าจะลดจำนวนลงและในบางชนิดไม่มีนิ้วเท้า สำหรับเต่าบกมีขาสั้น เป็นท่อนทรงกระบอกกลมแข็งแรง เพราะใช้พยุงตัวขณะเดิน หางของเต่าใช้ในการแยกเพศได้ โดยปกติตัวผู้จะมีหางยาวกว่าตัวเมีย อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้เป็นติ่งสั้น ๆ ติดกับด้านหน้าผนังช่องก้น ช่องก้นของตัวผู้จะอยู่ค่อนไปทางปลายหางมากกว่าตัวเมีย ตาของเต่าสามารถมองเห็นได้ดี นัยน์ตามีหนังตาและมีผนังเยื่อใส ๆ หุ้มตา เวลาเต่าหลับจะใช้หนังตาล่างปิดตา ซึ่งตรงกันข้ามกับมนุษย์ที่หลับตาโดยใช้หนังตาบน ความรู้สึกในการดมกลิ่นไม่ดีนัก จมูกของเต่าสูดดมเฉพาะกลิ่นอาหารซึ่งเต่าหลายชนิด กินพืชและสัตว์ ทั้งที่มีชีวิตและที่ตายแล้ว แต่บางชนิดกินเฉพาะพืชเท่านั้น หูของเต่าไม่มีช่องหูทะลุออกเป็นรูให้เห็น เต่าสามารถรับฟังเสียงที่เกิดจากการสั่นสะเทือนบนพื้นดินได้เป็นอย่างดี แต่เสียงที่เกิดในอากาศเต่าไม่สามารถได้ยิน เต่าไม่มีฟัน แต่บริเวณกระดูกขากรรไกรจะมีแผ่นกระดูกแข็ง ทำหน้าที่คล้ายฟัน ในปากมีลิ้นสั้น ๆ ติดอยู่กับพื้นปาก เต่าหายใจด้วยปอด การหายใจเอาอากาศเข้าออกจากปอด โดยการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อส่วนท้อง เต่าน้ำบางชนิดหายใจโดยใช้ผิวหนังบริเวณลำคอ และช่องก้นจึงทำให้มันดำอยู่ใต้น้ำได้นาน เต่าเป็นสัตว์ที่มีความสามารถดำรงชีวิตอยู่ในที่มีอากาศอยู่อย่างจำกัด การผสมพันธุ์วางไข่ การจับคู่ผสมพันธุ์ของตัวผู้จะใช้เท้าคู่หลังขี่หลังตัวเมีย อวัยวะเพศอยู่ในช่องก้น ซึ่งอยู่ตรงโคนหาง อวัยวะเพศผู้มีลักษณะเป็นติ่งเนื้อรูปร่างคล้ายเดือยสั้น ๆ ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าไปในช่องเพศตัวเมีย เพื่อให้น้ำเชื้อเข้าผสมกับไข่ซึ่งอยู่ในรังไข่ต่อไป ตัวเมียจะใช้เท้าคู่หลังขุดหลุมสำหรับวางไข่ เปลือกของไข่มีสีขาว ผิวอาจจะนิ่มหรือบางชนิดมีเปลือกแข็ง จำนวนของไข่ขึ้นอยู่กับชนิดของเต่า บางชนิดมีไข่ฟองเดียว และบางชนิดอาจจะวางไข่นับร้อยฟอง เมื่อวางไข่เสร็จตัวเมียจะกลบหลุมไข่ของมัน ปล่อยให้ไข่ฟักออกเป็นตัวเองตามธรรมชาติ ไข่จะละเม็ด เป็นไข่ของเต่าตะนุกับเต่ากระ ซึ่งเชื่อกันว่าคุณค่าทางอาหารสูงกว่าไข่ไก่และไข่เป็ด แต่ความจริงแล้วไข่จะละเม็ดให้วิตามินบีหนึ่ง และบีสองมากกว่านิดหน่อยเท่านั้น ส่วนประกอบอื่น ๆ ก็ใกล้เคียงกัน ฉะนั้น ถ้าหากละเว้นได้จะช่วยอนุรักษ์พันธุ์เต่าไว้ให้เป็นชลสมบัติของโลกเพื่อประโยชน์ในการศึกษาจะเหมาะกว่า ตะพาบน้ำเป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับเดียวกับเต่า แตกแยกเป็นวงศ์ใหญ่\n</p>\n', created = 1715742462, expire = 1715828862, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a221bb7a775f5b774aced8e77a7f8849' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เต่า

ลักษณะทั่วไป
เต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานโบราณกลุ่มเล็ก ๆ ที่มีชีวิตอยู่ในโลกเมื่อ 175 ล้านปีมาแล้ว มีคำภาษาอังกฤษอยู่หลายคำด้วยกันที่ใช้เรียกเต่า เช่นคำว่า ตอร์ตอยส์ (tortoise) ซึ่งชาวอังกฤษใช้เรียกเต่าที่อยู่บนบกและเต่าน้ำจืด ส่วนคำว่าเตอร์เติล (turtle) มีความหมายกว้างใช้โดยทั่วไปกับเต่าทะเล เต่าบก และเต่าคอยาว สำหรับเตอร์ราปีน (terrapin) มีความหมายรวม ๆ ใช้กับเต่าที่มนุษย์กินเป็นอาหาร ซึ่งอาจจะเป็นเต่าน้ำกร่อย และเต่าน้ำจืด ชาวอเมริกาเรียกเต่ายักษ์ซึ่งอาศัยอยู่ในเกาะกะลาปะกอส (Galapagos) เรียกว่าตอร์ตอยส์ นักชีววิทยาจัดเต่าอยู่ในอันดับซีโลเนีย (Order Chelonia) มี 9 วงศ์ (Family) และมีทั้งหมดประมาณ 300 ชนิด พบแพร่กระจายอยู่ในเขตอบอุ่น อาศัยอยู่ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม บางชนิดอาศัยอยู่บนบกตลอดชีวิตเป็นเต่าบก เต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานซึ่งเกิดก่อนสัตว์จำพวกไดโนเสาร์ และสามารถดำรงเผ่าพันธุ์ได้เรื่อยมาจนถึงทุกวันนี้ ลักษณะสำคัญของเต่าคือ มีกระดองหุ้มห่อตัวอยู่ภายนอก เต่าส่วนใหญ่สามารถหดหัวและขาเข้าไปในกระดอง แต่เต่าทะเลไม่สามารถหดหัวและขาเข้าไปเก็บไว้ในกระดองได้ ทั้งนี้เพราะส่วนของเท้าและขาได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างคล้ายใบพายทำหน้าที่ในการว่ายน้ำ กระดองเต่ามีสองส่วนคือ ส่วนหลังหรือเรียกว่ากระดองหลังซึ่งมีลักษณะโค้งนูน และที่กระดองหน้าซึ่งจะเรียบเป็นแผ่น กระดองหน้าและหลังเชื่อมติดกัน กระดองของเต่าจะมีลักษณะเป็นเกล็ดคล้ายเกล็ดของปลา เกล็ดแต่ละเกล็ดเรียงซ้อนกันคล้ายมุงกระเบื้องหลังคา จำนวนของเกล็ดและการเรียงของเกล็ดแตกต่างกันไปตามชนิดของเต่าแต่บางชนิดกระดองของมันจะหุ้มห่อด้วยแผ่นหนัง เช่น เต่ามะเฟือง กระดองเต่าทำหน้าที่เป็นเกราะกำบังตัวให้ปลอดภัยจากศัตรูและอันตรายจากสิ่งภายนอก อายุของเต่าบางชนิดสามารถตรวจนับได้จากจำนวนวงปีซึ่งปรากฎอยู่บนแผ่นเกล็ดคล้ายกับวงปีที่พบในเกล็ดปลาบางชนิด โดยทั่วไปแล้วเต่าเป็นสัตว์ที่มีอายุยืนที่สุด บางชนิดมีอายุประมาณ 100-130 ปี พวกเต่ายักษ์ที่อาศัยอยู่ในเกาะกะลาปะกอส จะมีอายุยืนยาวถึง 130-180 ปี ขาแขนของเต่าโดยทั่วไปจะแบน และมีนิ้ว 5 นิ้ว ทั้งขาคู่หน้าและคู่หลัง แต่ละนิ้วจะมีเล็บทุกนิ้วยกเว้นเท้าคู่หลัง นิ้วด้านในจะไม่มีเล็บหนึ่งนิ้ว ขาคู่หน้าของเต่าทะเลมีลักษณะคล้ายใบพาย ฉะนั้นนิ้วเท้าจะลดจำนวนลงและในบางชนิดไม่มีนิ้วเท้า สำหรับเต่าบกมีขาสั้น เป็นท่อนทรงกระบอกกลมแข็งแรง เพราะใช้พยุงตัวขณะเดิน หางของเต่าใช้ในการแยกเพศได้ โดยปกติตัวผู้จะมีหางยาวกว่าตัวเมีย อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้เป็นติ่งสั้น ๆ ติดกับด้านหน้าผนังช่องก้น ช่องก้นของตัวผู้จะอยู่ค่อนไปทางปลายหางมากกว่าตัวเมีย ตาของเต่าสามารถมองเห็นได้ดี นัยน์ตามีหนังตาและมีผนังเยื่อใส ๆ หุ้มตา เวลาเต่าหลับจะใช้หนังตาล่างปิดตา ซึ่งตรงกันข้ามกับมนุษย์ที่หลับตาโดยใช้หนังตาบน ความรู้สึกในการดมกลิ่นไม่ดีนัก จมูกของเต่าสูดดมเฉพาะกลิ่นอาหารซึ่งเต่าหลายชนิด กินพืชและสัตว์ ทั้งที่มีชีวิตและที่ตายแล้ว แต่บางชนิดกินเฉพาะพืชเท่านั้น หูของเต่าไม่มีช่องหูทะลุออกเป็นรูให้เห็น เต่าสามารถรับฟังเสียงที่เกิดจากการสั่นสะเทือนบนพื้นดินได้เป็นอย่างดี แต่เสียงที่เกิดในอากาศเต่าไม่สามารถได้ยิน เต่าไม่มีฟัน แต่บริเวณกระดูกขากรรไกรจะมีแผ่นกระดูกแข็ง ทำหน้าที่คล้ายฟัน ในปากมีลิ้นสั้น ๆ ติดอยู่กับพื้นปาก เต่าหายใจด้วยปอด การหายใจเอาอากาศเข้าออกจากปอด โดยการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อส่วนท้อง เต่าน้ำบางชนิดหายใจโดยใช้ผิวหนังบริเวณลำคอ และช่องก้นจึงทำให้มันดำอยู่ใต้น้ำได้นาน เต่าเป็นสัตว์ที่มีความสามารถดำรงชีวิตอยู่ในที่มีอากาศอยู่อย่างจำกัด การผสมพันธุ์วางไข่ การจับคู่ผสมพันธุ์ของตัวผู้จะใช้เท้าคู่หลังขี่หลังตัวเมีย อวัยวะเพศอยู่ในช่องก้น ซึ่งอยู่ตรงโคนหาง อวัยวะเพศผู้มีลักษณะเป็นติ่งเนื้อรูปร่างคล้ายเดือยสั้น ๆ ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าไปในช่องเพศตัวเมีย เพื่อให้น้ำเชื้อเข้าผสมกับไข่ซึ่งอยู่ในรังไข่ต่อไป ตัวเมียจะใช้เท้าคู่หลังขุดหลุมสำหรับวางไข่ เปลือกของไข่มีสีขาว ผิวอาจจะนิ่มหรือบางชนิดมีเปลือกแข็ง จำนวนของไข่ขึ้นอยู่กับชนิดของเต่า บางชนิดมีไข่ฟองเดียว และบางชนิดอาจจะวางไข่นับร้อยฟอง เมื่อวางไข่เสร็จตัวเมียจะกลบหลุมไข่ของมัน ปล่อยให้ไข่ฟักออกเป็นตัวเองตามธรรมชาติ ไข่จะละเม็ด เป็นไข่ของเต่าตะนุกับเต่ากระ ซึ่งเชื่อกันว่าคุณค่าทางอาหารสูงกว่าไข่ไก่และไข่เป็ด แต่ความจริงแล้วไข่จะละเม็ดให้วิตามินบีหนึ่ง และบีสองมากกว่านิดหน่อยเท่านั้น ส่วนประกอบอื่น ๆ ก็ใกล้เคียงกัน ฉะนั้น ถ้าหากละเว้นได้จะช่วยอนุรักษ์พันธุ์เต่าไว้ให้เป็นชลสมบัติของโลกเพื่อประโยชน์ในการศึกษาจะเหมาะกว่า ตะพาบน้ำเป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับเดียวกับเต่า แตกแยกเป็นวงศ์ใหญ่

สร้างโดย: 
นางสาวรัตนา สถิตานนท์ นางสาวสุจิตรา เบญจะมาศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 269 คน กำลังออนไลน์