• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:11f9e39db03315a25d815182601e9be7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><b>อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง..........รังไข่ตำแหน่งของรังไข่ในร่างกายผู้หญิง    </b>    <br />\nรังไข่ตั้งอยู่ที่อุ้งเชิงกราน 2 ข้างของมดลูก ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์และเป็นต่อมไร้ท่อโดยผลิตฮอร์โมนเพศหญิง คือฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen ออกเสียงอีกอย่างได้ว่า เอสโทรเจน) และ โพรเจสเทอโรน (progesterone) ซึ่งเป็นสเตรอยด์   ระดับของฮอร์โมนจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของรอบประจำเดือนฮอร์โมนในเพศหญิง<br />\nฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน (progesterone ) ตามชื่อที่เรียก pro–gestation ซึ่งหมายถึง สนับสนุนการตั้งครรภ์ คือถ้าไม่มีฮอร์โมนนี้ จะไม่มีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น สร้างจากเพรกนิ โนโลน (pregnenolone) ซึ่งสร้างจาก คอเลสเทอรอล นอกจากสามารถ สร้างที่รังไข่ได้แล้ว ยังสามารถสร้างได้จากรก ต่อมอะดรีนัล คอร์เท็กซ์ และในอัณฑะอีกด้วย<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #99cc00\">ทำหน้าที่</span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">1. ทำให้เยื่อบุมดลูกพร้อมในการฝังตัวของไข่ที่ปฏิสนธิแล้ว<br />\n2. ส่งเสริมการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน เพิ่มการสะสมไกลโคเจน<br />\n3. ทำให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น<br />\n4. ทำให้มูกที่ปากมดลูกเหนียว เข้มขึ้น ป้องกันไม่ให้อสุจิตัวอื่นสามารถว่ายมาผสมกับไข่ที่ผสมแล้วได้สะดวก<br />\n5. ป้องกันไม่ให้มดลูกหดรัดตัวระหว่างตั้งครรภ์<br />\n6. ทำงานร่วมกับอีสโทรเจน โดยอีสโทรเจนจะทำให้มีการเจริญของท่อน้ำนม(duct) หลังจากนั้นอีสโทรเจนจะให้โพรเจสเทอโรนร่วมทำงานทำให้ท่อน้ำนมและถุงน้ำ นม(alveoli)เจริญอย่างสมบูรณ์ เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้นตึงตัวขึ้น (glandular development) แต่ระดับของอีสโทรเจนที่สูงในระหว่างตั้งครรภ์จะยับยั้งการทำงานของต่อมใต้ สมองส่วนหน้าไม่ให้หลั่งโพรแลกตินด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><b>ฮอร์โมนในเพศหญิง</b><br />\nฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen hormone) เมื่อสตรีเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ จะมีการหลั่งของฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รีลิสซิงฮอร์โมน (gonadotropin releasing hormone) หรือที่เรียกว่าจีเอ็น อาร์เอช (GnRH) มากระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่งฮอร์โมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอร์โมน(follicle stimulating hormone)   เรียกย่อว่า  เอฟ เอส เอช (FSH ) และลูทีไนซิงฮอร์โมนหรือแอล เอช(lutieinzing hormone : LH) ไปกระตุ้นการทำงานของรังไข่ให้เจริญเติบโตและสร้างฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen) และโพรเจสเทอโรน (progesterone) ออกมา</span></p>\n<p><b><span style=\"color: #99cc00\"><br />\nหน้าที่ของฮอร์โมนอีสโทรเจน</span></b> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">1. กระตุ้นการเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ของเพศหญิง (female secondary sex characteristics)  เมื่อฮอร์โมนเพศจับกับตัวรับสัญญาณของเซลล์ที่ อวัยวะเป้าหมายของสตรีจะทำให้สะโพกผาย อวัยวะเพศและเต้านมใหญ่ขึ้น มดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้น มีขนที่รักแร้และอวัยวะเพศ เสียงเล็ก ปลายกระดูกอิปิไพเซียล เพลท(epiphyseal plate) ในกระดูกยาว (long bone) ปิดเร็วขึ้น ทำให้ความสูงไม่ เพิ่มขึ้น</span></p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><br />\n2. ต่อต้านการแข็งตัวของเลือด ฮอร์โมนอีสโทรเจนจะเพิ่มระดับคอเลสเทอร อลชนิดดี (high density lipoprotein)) และลดคอเลสเท อรอลชนิดเลว (low density lipoprotein) ทำให้เส้นเลือดหยืดหยุ่น และเกล็ดเลือดไม่เกาะกลุ่มกัน ทำให้ไม่ค่อยเป็นโรคที่เกี่ยวกับเส้นเลือดแข็งตัวและปัญหาเส้นเลือดที่หัวใจไลโพโปรตีนประกอบด้วยโปรตีน ไขมันชนิดต่างๆ และคอเลสเทอรอล ซึ่งรวมตัวอยู่ด้วยกันด้วยแรงอ่อนๆ จึงมีองค์ประกอบที่เข้ามาจับรวมกันหรือหลุดออกจากกันไปได้ง่าย เช่น ไขมันและคอเลสเทอ-<br />\n- รอล คนมักจะกล่าวว่า HDL มีคอเลสเทอรอลชนิดดี ส่วน LDL มีคอเลสเทอรอลชนิดเลว อันที่จริงแล้วคอเลสเทอรอลใน HDL และLDL เป็นตัวเดียวกัน แต่คนเรียกคอเลสเทอรอลดีหรือเลวเป็นเพราะ HDL มีไขมันต่ำและคอเลสเทอรอลต่ำ ส่วน LDL มีไขมันและคอเลสเทอรอลมากกว่า การที่มีคอเลสเทอรอลสูงมีผลกระทบที่ไม่ดีต่อหลอดเลือด คนจึงมีความคิดต่อคอ เลสเทอรอลที่ไม่ดี แต่คอเลสเทอรอลเป็นสิ่งที่จำเป็นของสิ่งมีชีวิต เพียงแต่ไม่ควรมีสูงเกินไปเท่านั้น     <br />\n<span style=\"color: #99cc00\"><br />\nความหนาแน่นขึ้นอยู่กับปริมาณของไขมันและคอเลสเทอรอล ถ้าปริมาณไขมันมากความหนาแน่นจะต่ำ(low density)ถ้าปริมาณไขมันน้อยความหนาแน่นจะสูง (high density) คอเลสเทอรอลนับว่าเป็นไขมันประเภทหนึ่ง</span><br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">3. ผลต่อเมแทบอลิซึมลดการสลายของกระดูก และคงสภาพของผิวหนังและหลอดเลือดการสลายของกระดูกเมื่อขาดฮอร์โมนอีสโทร เจนกระดูกจะสลายเร็วขึ้น หลักฐานแสดงว่า อีสโทรเจน อาจจะเปลี่ยนรูปของวิตามิน ดี ให้กลายเป็นรูปที่ทำงานได้ดีขึ้น ซึ่งช่วยให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมได้ดีขึ้น สตรีที่อายุมากมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคกระดูกพรุนอยู่แล้ว แต่ที่สำคัญมากกว่าอายุของสตรี คือระดับฮอร์โมนอีสโทรเจนที่ลดลง ซึ่งไม่ว่าจะเกิดกับสตรีอายุเท่าใดก็ตาม จะทำให้เกิดความเสี่ยง ต่อโรคกระดูกพรุนมากขึ้นเท่านั้นแสดง การสลายตัวของกระดูกในระยะต่างๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89024\"><img src=\"/files/u47963/back.gif\" width=\"250\" height=\"75\" /></a>\n</p>\n', created = 1719631012, expire = 1719717412, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:11f9e39db03315a25d815182601e9be7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฮอร์โมนจากต่อมเพศ 1

อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง..........รังไข่ตำแหน่งของรังไข่ในร่างกายผู้หญิง       
รังไข่ตั้งอยู่ที่อุ้งเชิงกราน 2 ข้างของมดลูก ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์และเป็นต่อมไร้ท่อโดยผลิตฮอร์โมนเพศหญิง คือฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen ออกเสียงอีกอย่างได้ว่า เอสโทรเจน) และ โพรเจสเทอโรน (progesterone) ซึ่งเป็นสเตรอยด์   ระดับของฮอร์โมนจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของรอบประจำเดือนฮอร์โมนในเพศหญิง
ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน (progesterone ) ตามชื่อที่เรียก pro–gestation ซึ่งหมายถึง สนับสนุนการตั้งครรภ์ คือถ้าไม่มีฮอร์โมนนี้ จะไม่มีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น สร้างจากเพรกนิ โนโลน (pregnenolone) ซึ่งสร้างจาก คอเลสเทอรอล นอกจากสามารถ สร้างที่รังไข่ได้แล้ว ยังสามารถสร้างได้จากรก ต่อมอะดรีนัล คอร์เท็กซ์ และในอัณฑะอีกด้วย

ทำหน้าที่

1. ทำให้เยื่อบุมดลูกพร้อมในการฝังตัวของไข่ที่ปฏิสนธิแล้ว
2. ส่งเสริมการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน เพิ่มการสะสมไกลโคเจน
3. ทำให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น
4. ทำให้มูกที่ปากมดลูกเหนียว เข้มขึ้น ป้องกันไม่ให้อสุจิตัวอื่นสามารถว่ายมาผสมกับไข่ที่ผสมแล้วได้สะดวก
5. ป้องกันไม่ให้มดลูกหดรัดตัวระหว่างตั้งครรภ์
6. ทำงานร่วมกับอีสโทรเจน โดยอีสโทรเจนจะทำให้มีการเจริญของท่อน้ำนม(duct) หลังจากนั้นอีสโทรเจนจะให้โพรเจสเทอโรนร่วมทำงานทำให้ท่อน้ำนมและถุงน้ำ นม(alveoli)เจริญอย่างสมบูรณ์ เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้นตึงตัวขึ้น (glandular development) แต่ระดับของอีสโทรเจนที่สูงในระหว่างตั้งครรภ์จะยับยั้งการทำงานของต่อมใต้ สมองส่วนหน้าไม่ให้หลั่งโพรแลกตินด้วย

ฮอร์โมนในเพศหญิง
ฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen hormone) เมื่อสตรีเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ จะมีการหลั่งของฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รีลิสซิงฮอร์โมน (gonadotropin releasing hormone) หรือที่เรียกว่าจีเอ็น อาร์เอช (GnRH) มากระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่งฮอร์โมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอร์โมน(follicle stimulating hormone)   เรียกย่อว่า  เอฟ เอส เอช (FSH ) และลูทีไนซิงฮอร์โมนหรือแอล เอช(lutieinzing hormone : LH) ไปกระตุ้นการทำงานของรังไข่ให้เจริญเติบโตและสร้างฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen) และโพรเจสเทอโรน (progesterone) ออกมา


หน้าที่ของฮอร์โมนอีสโทรเจน

1. กระตุ้นการเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ของเพศหญิง (female secondary sex characteristics)  เมื่อฮอร์โมนเพศจับกับตัวรับสัญญาณของเซลล์ที่ อวัยวะเป้าหมายของสตรีจะทำให้สะโพกผาย อวัยวะเพศและเต้านมใหญ่ขึ้น มดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้น มีขนที่รักแร้และอวัยวะเพศ เสียงเล็ก ปลายกระดูกอิปิไพเซียล เพลท(epiphyseal plate) ในกระดูกยาว (long bone) ปิดเร็วขึ้น ทำให้ความสูงไม่ เพิ่มขึ้น


2. ต่อต้านการแข็งตัวของเลือด ฮอร์โมนอีสโทรเจนจะเพิ่มระดับคอเลสเทอร อลชนิดดี (high density lipoprotein)) และลดคอเลสเท อรอลชนิดเลว (low density lipoprotein) ทำให้เส้นเลือดหยืดหยุ่น และเกล็ดเลือดไม่เกาะกลุ่มกัน ทำให้ไม่ค่อยเป็นโรคที่เกี่ยวกับเส้นเลือดแข็งตัวและปัญหาเส้นเลือดที่หัวใจไลโพโปรตีนประกอบด้วยโปรตีน ไขมันชนิดต่างๆ และคอเลสเทอรอล ซึ่งรวมตัวอยู่ด้วยกันด้วยแรงอ่อนๆ จึงมีองค์ประกอบที่เข้ามาจับรวมกันหรือหลุดออกจากกันไปได้ง่าย เช่น ไขมันและคอเลสเทอ-
- รอล คนมักจะกล่าวว่า HDL มีคอเลสเทอรอลชนิดดี ส่วน LDL มีคอเลสเทอรอลชนิดเลว อันที่จริงแล้วคอเลสเทอรอลใน HDL และLDL เป็นตัวเดียวกัน แต่คนเรียกคอเลสเทอรอลดีหรือเลวเป็นเพราะ HDL มีไขมันต่ำและคอเลสเทอรอลต่ำ ส่วน LDL มีไขมันและคอเลสเทอรอลมากกว่า การที่มีคอเลสเทอรอลสูงมีผลกระทบที่ไม่ดีต่อหลอดเลือด คนจึงมีความคิดต่อคอ เลสเทอรอลที่ไม่ดี แต่คอเลสเทอรอลเป็นสิ่งที่จำเป็นของสิ่งมีชีวิต เพียงแต่ไม่ควรมีสูงเกินไปเท่านั้น    

ความหนาแน่นขึ้นอยู่กับปริมาณของไขมันและคอเลสเทอรอล ถ้าปริมาณไขมันมากความหนาแน่นจะต่ำ(low density)ถ้าปริมาณไขมันน้อยความหนาแน่นจะสูง (high density) คอเลสเทอรอลนับว่าเป็นไขมันประเภทหนึ่ง

3. ผลต่อเมแทบอลิซึมลดการสลายของกระดูก และคงสภาพของผิวหนังและหลอดเลือดการสลายของกระดูกเมื่อขาดฮอร์โมนอีสโทร เจนกระดูกจะสลายเร็วขึ้น หลักฐานแสดงว่า อีสโทรเจน อาจจะเปลี่ยนรูปของวิตามิน ดี ให้กลายเป็นรูปที่ทำงานได้ดีขึ้น ซึ่งช่วยให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมได้ดีขึ้น สตรีที่อายุมากมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคกระดูกพรุนอยู่แล้ว แต่ที่สำคัญมากกว่าอายุของสตรี คือระดับฮอร์โมนอีสโทรเจนที่ลดลง ซึ่งไม่ว่าจะเกิดกับสตรีอายุเท่าใดก็ตาม จะทำให้เกิดความเสี่ยง ต่อโรคกระดูกพรุนมากขึ้นเท่านั้นแสดง การสลายตัวของกระดูกในระยะต่างๆ

สร้างโดย: 
นางสาวนรมน เจียมประเสริฐ เเละคุณครูปกรณ์ ปานรอด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 277 คน กำลังออนไลน์