• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5f3ce5fb01e7ad21f5c814e3d897f789' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #00cc33\"><b>รกเเละฮอร์โมนจากรก</b></span></p>\n<p><span style=\"color: #00cc33\"><br />\nรกจะทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมน</span><span style=\"color: #00cc33\"></span> <span style=\"color: #00cc33\">มาควบคุมการตั้งครรภ์ให้ดำเนินต่อไป เมื่อมีการตกไข่ ไข่จะเคลื่อนที่ไปในท่อนำไข่โดยการพัดโบกของขนเซลล์ (cilia) ของท่อนำไข่ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากฮอร์โมนอีสโทรเจน เมื่อมีการผสมระหว่างอสุจิและไข่ เกิดการปฏิสนธิขึ้น (fertilization) จนเคลื่อนที่มาถึงมดลูกซึ่งเป็นระยะบลาสโตซิสท์ (blastocyst) มีจำนวนเซลล์ประมาณ100 เซลล์ แล้วจะฝังตัวที่โพรงมดลูกประมาณวันที่ 6-7 หลังจากตกไข่ แล้วเซลล์โทรโฟบลาสท์ (trophoblast) ของบลาสโตซิสจะยึดกับเนื้อเยื่อของมดลูก เจริญไปเป็นรก (placenta) ดังนั้นรกจึงเป็นส่วนหนึ่งของทารก แต่จะอยู่นอกตัวทารกในมดลูกของมารดาหน้าที่รกเป็นบริเวณที่ระบบไหลเวียนโลหิตของมารดาและทารกมาพบกัน โดยเชื่อมต่อสายสะดือของทารกกับมดลูก ของมารดา </span><span style=\"color: #00cc33\"><br />\n</span><br />\n\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00cc33\">รกทำหน้าที่ 2 ประการคือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00cc33\">- ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนอาหาร อากาศและของเสียจากทารกในครรภ์ของทารกในครรภ์ <br />\n- ทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวในมดลูก ซึ่งสามารถผลิตฮอร์โมนมากมายที่จำเป็น ระหว่างตั้งครรภ์และเป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับกลไกลการเจ็บครรภ์รวมทั้ง ฮอร์โมนอีสโทรเจน และฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน รกสร้างฮอร์โมนหลายชนิดที่สำคัญ ได้แก่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00cc33\"><b>1. ฮอร์โมนโพรเจสเตอโรน</b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00cc33\"><b>2. ฮอร์โมนอีสโทรเจน      </b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00cc33\"><b>3. ฮอร์โมนฮิวแมนคอริโอนิกโกนาโดโทรฟิน </b></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/89024\"><img src=\"/files/u47963/back.gif\" width=\"250\" height=\"75\" /></a>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727561733, expire = 1727648133, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5f3ce5fb01e7ad21f5c814e3d897f789' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฮอร์โมนจากต่อมเพศ 3

รกเเละฮอร์โมนจากรก


รกจะทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมน
มาควบคุมการตั้งครรภ์ให้ดำเนินต่อไป เมื่อมีการตกไข่ ไข่จะเคลื่อนที่ไปในท่อนำไข่โดยการพัดโบกของขนเซลล์ (cilia) ของท่อนำไข่ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากฮอร์โมนอีสโทรเจน เมื่อมีการผสมระหว่างอสุจิและไข่ เกิดการปฏิสนธิขึ้น (fertilization) จนเคลื่อนที่มาถึงมดลูกซึ่งเป็นระยะบลาสโตซิสท์ (blastocyst) มีจำนวนเซลล์ประมาณ100 เซลล์ แล้วจะฝังตัวที่โพรงมดลูกประมาณวันที่ 6-7 หลังจากตกไข่ แล้วเซลล์โทรโฟบลาสท์ (trophoblast) ของบลาสโตซิสจะยึดกับเนื้อเยื่อของมดลูก เจริญไปเป็นรก (placenta) ดังนั้นรกจึงเป็นส่วนหนึ่งของทารก แต่จะอยู่นอกตัวทารกในมดลูกของมารดาหน้าที่รกเป็นบริเวณที่ระบบไหลเวียนโลหิตของมารดาและทารกมาพบกัน โดยเชื่อมต่อสายสะดือของทารกกับมดลูก ของมารดา

รกทำหน้าที่ 2 ประการคือ

- ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนอาหาร อากาศและของเสียจากทารกในครรภ์ของทารกในครรภ์
- ทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวในมดลูก ซึ่งสามารถผลิตฮอร์โมนมากมายที่จำเป็น ระหว่างตั้งครรภ์และเป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับกลไกลการเจ็บครรภ์รวมทั้ง ฮอร์โมนอีสโทรเจน และฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน รกสร้างฮอร์โมนหลายชนิดที่สำคัญ ได้แก่

1. ฮอร์โมนโพรเจสเตอโรน

2. ฮอร์โมนอีสโทรเจน      

3. ฮอร์โมนฮิวแมนคอริโอนิกโกนาโดโทรฟิน

 

 

สร้างโดย: 
นางสาวนรมน เจียมประเสริฐ เเละคุณครูปกรณ์ ปานรอด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 284 คน กำลังออนไลน์