• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ฮอร์โมนจากต่อมเพศ 1', 'node/89011', '', '3.144.172.217', 0, 'afce19c07ce87a7123dcd10b8edc47da', 160, 1719631012) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6964c5f0c9978a549dd0f76a1a513da8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><img height=\"164\" width=\"500\" src=\"/files/u47963/Hor.gif\" border=\"0\" /></b></span> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"/node/89006\"></a></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"81\" width=\"113\" src=\"/files/u47963/11.gif\" border=\"0\" /><a href=\"/node/88991\"><img height=\"81\" width=\"113\" src=\"/files/u47963/12.gif\" border=\"0\" /></a><img height=\"81\" width=\"113\" src=\"/files/u47963/13.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p><a href=\"/node/89018\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"81\" width=\"113\" src=\"/files/u47963/15.gif\" border=\"0\" /><span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"81\" width=\"113\" src=\"/files/u47963/16.gif\" border=\"0\" /><a href=\"/node/89020\"><img height=\"81\" width=\"113\" src=\"/files/u47963/17.gif\" border=\"0\" /></a></span>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><b>ก่อนที่จะศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมน ท่านทราบหรือไม่ว่า<br />\n</b><br />\n<b>- ฮอร์โมนคืออะไร</b><br />\n<span style=\"color: #0000ff\">ฮอร์โมน (hormone) คือ สารเคมีที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลข่าวสารที่สร้างขึ้น จากกลุ่มเซลล์ในต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) แล้วส่งไปตามกระแสเลือด ไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย เพื่อกระตุ้น หรือยับยั้งกระบวนการต่างๆ ในเซลล์ หรืออวัยวะเป้าหมาย (target cell หรือ target organ) ทำหน้าที่ควบคุมกระบวนการต่างๆ ในร่างกายหลายอย่างเช่น ช่วยในการเจริญเติบโต ช่วยให้มนุษย์สามารถสืบพันธุ์ มีลูกหลาน เป็นต้น <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">ประวัติการค้นพบฮอร์โมน</span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\">ฮอร์โมน (hormone) มาจากภาษากรีกคือ hormao แปลว่ากระตุ้นหรือทำให้ตื่นเต้น การค้นพบฮอร์โมนเท่าที่มีการบันทึกไว้คือ<br />\nอาร์โนลด์ เอ. เบอร์โทลด์ (Arnold A. Berthold)<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">การทดลองของ ศาสตราจารย์ อาร์โนลด์ เอ. เบอร์โทลด์ (Professor Arnold A. Berthold (1803-1861) ที่เมืองก็อตทิงเก็น ซึ่งได้ทำการทดลองเกี่ยวกับไก่เพศผู้ในปีค.ศ. 1849 ในขณะที่เขาเป็นหัวหน้าผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์อยู่ โดยทำการทดลองดังนี้<br />\nการทดลอง<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">ท่านได้ทำการทดลองเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อของไก่โดยแบ่งลูกไก่ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ </span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\">กลุ่มที่ 1 ลูกไก่ที่เจริญเป็นไก่เพศผู้ปกติ<br />\nกลุ่มที่ 2 ลูกไก่เพศผู้ที่ถูกตัดอัณฑะออก<br />\nกลุ่มที่ 3 ลูกไก่เพศผู้ที่มีการปลูกอัณฑะให้ใหม่<br />\n<b><br />\n<span style=\"color: #0000ff\">ผลการทดลอง</span></b><br />\n<span style=\"color: #0000ff\">จากการสังเกตการเจริญเติบโตของลูกไก่ทั้ง 3 กลุ่ม พบว่า<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">กลุ่มที่ 1 มีการเจริญเป็นไก่เพศผู้ตามปกติ คือมีหงอน เหนียง คอยาว ขนหางยาว และมีนิสัยรักการต่อสู้ ปราดเปรียว<br />\nกลุ่มที่ 2 มีลักษณะของลูกไก่เพศเมีย คือมีหงอน เหนียงและคอสั้น ขนหางสั้น และมีนิสัยไม่สู้กับไก่ตัวอื่น<br />\nกลุ่มที่ 3 มีเส้นเลือดมาเลี้ยงบริเวณอัณฑะที่ใส่แทนที่จำนวนมาก และเจริญต่อไปได้ และลูกไก่ มีลักษณะ การเจริญเติบโต เหมือนไก่เพศผู้ตามปกติ</span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><b>สรุปผลการทดลอง</b><br />\n<span style=\"color: #0000ff\">จากผลการศึกษาดังกล่าวจึงสรุปได้ว่า การแสดงลักษณะเพศผู้ของลูกไก่ เกี่ยวข้องกับอัณฑะแน่นอนและไม่ได้ขึ้นกับโครโมโซมเพศผู้อย่างเดียวและผลการ ศึกษาในเวลาต่อมาพบว่าในร่างกายของคน สัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นสูง และพืชสามารถผลิตสารเคมีที่เรียกว่า ฮอร์โมน ได้นั่นเอง </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/89024\"><img height=\"75\" width=\"250\" src=\"/files/u47963/back.gif\" /></a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/89021\"><img height=\"180\" width=\"291\" src=\"/files/u47963/anigif_0.gif\" border=\"0\" style=\"width: 165px; height: 90px\" /></a>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719631023, expire = 1719717423, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6964c5f0c9978a549dd0f76a1a513da8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เกี่ยวกับฮอร์โมน

 

ก่อนที่จะศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมน ท่านทราบหรือไม่ว่า

- ฮอร์โมนคืออะไร
ฮอร์โมน (hormone) คือ สารเคมีที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลข่าวสารที่สร้างขึ้น จากกลุ่มเซลล์ในต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) แล้วส่งไปตามกระแสเลือด ไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย เพื่อกระตุ้น หรือยับยั้งกระบวนการต่างๆ ในเซลล์ หรืออวัยวะเป้าหมาย (target cell หรือ target organ) ทำหน้าที่ควบคุมกระบวนการต่างๆ ในร่างกายหลายอย่างเช่น ช่วยในการเจริญเติบโต ช่วยให้มนุษย์สามารถสืบพันธุ์ มีลูกหลาน เป็นต้น
ประวัติการค้นพบฮอร์โมน

ฮอร์โมน (hormone) มาจากภาษากรีกคือ hormao แปลว่ากระตุ้นหรือทำให้ตื่นเต้น การค้นพบฮอร์โมนเท่าที่มีการบันทึกไว้คือ
อาร์โนลด์ เอ. เบอร์โทลด์ (Arnold A. Berthold)
การทดลองของ ศาสตราจารย์ อาร์โนลด์ เอ. เบอร์โทลด์ (Professor Arnold A. Berthold (1803-1861) ที่เมืองก็อตทิงเก็น ซึ่งได้ทำการทดลองเกี่ยวกับไก่เพศผู้ในปีค.ศ. 1849 ในขณะที่เขาเป็นหัวหน้าผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์อยู่ โดยทำการทดลองดังนี้
การทดลอง
ท่านได้ทำการทดลองเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อของไก่โดยแบ่งลูกไก่ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

กลุ่มที่ 1 ลูกไก่ที่เจริญเป็นไก่เพศผู้ปกติ
กลุ่มที่ 2 ลูกไก่เพศผู้ที่ถูกตัดอัณฑะออก
กลุ่มที่ 3 ลูกไก่เพศผู้ที่มีการปลูกอัณฑะให้ใหม่

ผลการทดลอง

จากการสังเกตการเจริญเติบโตของลูกไก่ทั้ง 3 กลุ่ม พบว่า
กลุ่มที่ 1 มีการเจริญเป็นไก่เพศผู้ตามปกติ คือมีหงอน เหนียง คอยาว ขนหางยาว และมีนิสัยรักการต่อสู้ ปราดเปรียว
กลุ่มที่ 2 มีลักษณะของลูกไก่เพศเมีย คือมีหงอน เหนียงและคอสั้น ขนหางสั้น และมีนิสัยไม่สู้กับไก่ตัวอื่น
กลุ่มที่ 3 มีเส้นเลือดมาเลี้ยงบริเวณอัณฑะที่ใส่แทนที่จำนวนมาก และเจริญต่อไปได้ และลูกไก่ มีลักษณะ การเจริญเติบโต เหมือนไก่เพศผู้ตามปกติ

สรุปผลการทดลอง
จากผลการศึกษาดังกล่าวจึงสรุปได้ว่า การแสดงลักษณะเพศผู้ของลูกไก่ เกี่ยวข้องกับอัณฑะแน่นอนและไม่ได้ขึ้นกับโครโมโซมเพศผู้อย่างเดียวและผลการ ศึกษาในเวลาต่อมาพบว่าในร่างกายของคน สัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นสูง และพืชสามารถผลิตสารเคมีที่เรียกว่า ฮอร์โมน ได้นั่นเอง

 

 

 

สร้างโดย: 
นางสาวนรมน เจียมประเสริฐ เเละคุณครูปกรณ์ ปานรอด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 279 คน กำลังออนไลน์