• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('โครงร่างคํ้าจุนร่างกาย ', 'node/89071', '', '3.149.26.88', 0, '4d579bfb26c013e48e265054140f5fb3', 140, 1719630405) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d2379338bb2abf7f80174bd8cfdb9243' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #008000\"><b>หน้าที่ของฮอร์โมนวาโซเเปปซิน<b></b></b></span></p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><br />\n</span><span style=\"color: #008000\">1. ทำให้สารน้ำในร่างกายปกติเมื่อใดก็ตามที่ร่างกายขาดน้ำ ซึ่งอาจเกิดจากการเสียเหงื่อ อุจจาระร่วง (diarrhea) ฮอร์โมน ADH จะทำให้ร่างกายขับปัสสาวะน้อยลง หรือเมื่อไฮโพทาลามัสรู้สึกว่าร่างกายมีความเข้มข้นของเกลือ (saltiness) มากเกินไป ร่างกายจะหลั่ง ADH มากขึ้น<br />\n2. การเข้มข้นของสารเหลวในร่างกายปกติความเข้มข้นของสารในกระแสเลือดประเภทที่ เรียกว่าออสโมลาริติ   (osmolarity)เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารโดยรวม รวมทั้งประจุโดยรวม จะส่งสัญญาณผ่านกระแสประสาทไปที่ไฮโพทาลามัส (ซึ่งรู้จักในชื่อ ออสโมรีเซฟเตอร์ (osmoreceptor)) กระตุ้นให้กระแสประสาทให้หลั่ง ADH ดังภาพ <br />\n</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span>ความผิดปกติของฮอร์โมน </p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u47963/12.jpg\" width=\"182\" height=\"244\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><b><b><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><b><span style=\"color: #008000\"><b><br />\n<span style=\"color: #008000\"><br />\n</span></b></span></b></span></span></b></b><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\">ที่มาภาพ:http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/hormone/image/take_a_pee.gif</span></span></span></span></span><br />\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><br />\nผู้ป่วยเบาจืดจะรู้สึกกระหายน้ำเป็นอย่างมากและปัสสาวะบ่อย </span></span></span></span></span><br />\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><br />\n<br />\n<span style=\"color: #008000\"><br />\nโรคที่พบบ่อยได้แก่ ไดอะปิทิส อินซิปิดัส (diabetes insipidus) ซึ่งเกิดจาก 2ประการดังนี้ <br />\n1. ไฮโพทาลามิก ไดอะบิทิส อินซิปิดัส (hypothalamic diabetes insipidus) คือมีการหลั่งADH จากต่อมไฮโพทาลามัสได้น้อย ซึ่งอาจเกิดจากได้รับอุบัติเหตุที่สมอง หรือการติดเชื้อ <br />\n2. เนฟโฟจินิก ไดอะบิทิส อินซิปิดัส (nephrogenic diabetes insipidus) เกิดจากไตไม่สามารถตอบสนองต่อADH มักเกิดจากโรคที่เกิดที่ไต   ภาวะกลายพันธุ์ (mutation) หรือการผ่าเหล่าของยีนของ ADHทำให้เกิดการสร้างฮอร์โมน ADH ที่ผิดปกติ ซึ่งอาการแสดงที่ปรากฏ คือมีการหลั่งปัสสาวะออกมาอย่างมาก เช่นการหลั่งปัสสาวะได้16 ลิตร/ วัน ทำให้ต้องการน้ำทดแทน อย่างมาก ซึ่งถ้าให้การทดแทนไม่เพียงพอจะเป็นอันตรายต่อร่างกายได้ </span><br />\n</span></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1719630416, expire = 1719716816, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d2379338bb2abf7f80174bd8cfdb9243' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง 2

หน้าที่ของฮอร์โมนวาโซเเปปซิน


1. ทำให้สารน้ำในร่างกายปกติเมื่อใดก็ตามที่ร่างกายขาดน้ำ ซึ่งอาจเกิดจากการเสียเหงื่อ อุจจาระร่วง (diarrhea) ฮอร์โมน ADH จะทำให้ร่างกายขับปัสสาวะน้อยลง หรือเมื่อไฮโพทาลามัสรู้สึกว่าร่างกายมีความเข้มข้นของเกลือ (saltiness) มากเกินไป ร่างกายจะหลั่ง ADH มากขึ้น
2. การเข้มข้นของสารเหลวในร่างกายปกติความเข้มข้นของสารในกระแสเลือดประเภทที่ เรียกว่าออสโมลาริติ   (osmolarity)เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารโดยรวม รวมทั้งประจุโดยรวม จะส่งสัญญาณผ่านกระแสประสาทไปที่ไฮโพทาลามัส (ซึ่งรู้จักในชื่อ ออสโมรีเซฟเตอร์ (osmoreceptor)) กระตุ้นให้กระแสประสาทให้หลั่ง ADH ดังภาพ

ความผิดปกติของฮอร์โมน



ที่มาภาพ:http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/hormone/image/take_a_pee.gif


ผู้ป่วยเบาจืดจะรู้สึกกระหายน้ำเป็นอย่างมากและปัสสาวะบ่อย




โรคที่พบบ่อยได้แก่ ไดอะปิทิส อินซิปิดัส (diabetes insipidus) ซึ่งเกิดจาก 2ประการดังนี้
1. ไฮโพทาลามิก ไดอะบิทิส อินซิปิดัส (hypothalamic diabetes insipidus) คือมีการหลั่งADH จากต่อมไฮโพทาลามัสได้น้อย ซึ่งอาจเกิดจากได้รับอุบัติเหตุที่สมอง หรือการติดเชื้อ
2. เนฟโฟจินิก ไดอะบิทิส อินซิปิดัส (nephrogenic diabetes insipidus) เกิดจากไตไม่สามารถตอบสนองต่อADH มักเกิดจากโรคที่เกิดที่ไต   ภาวะกลายพันธุ์ (mutation) หรือการผ่าเหล่าของยีนของ ADHทำให้เกิดการสร้างฮอร์โมน ADH ที่ผิดปกติ ซึ่งอาการแสดงที่ปรากฏ คือมีการหลั่งปัสสาวะออกมาอย่างมาก เช่นการหลั่งปัสสาวะได้16 ลิตร/ วัน ทำให้ต้องการน้ำทดแทน อย่างมาก ซึ่งถ้าให้การทดแทนไม่เพียงพอจะเป็นอันตรายต่อร่างกายได้

สร้างโดย: 
นางสาวนรมน เจียมประเสริฐ เเละคุณครู ปกรณ์ ปานรอด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 299 คน กำลังออนไลน์