• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b65088a527f1872beb8fd0fa5c6e230f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff9900\"> <span style=\"color: #ff9900\">ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง คือ เมลาโนไซท์ สติมูเลติง ฮอร์โมน (melanocyte stimulating hormone เรียกย่อว่าMSH) <br />\nสร้างจากเซลล์เมลาโนไซท์ (melanotropic cell) ในพาร์สอินเตอร์มีเดียของต่อมใต้สมอง เป็นพอลิเปปไทด์ฮอร์โมนประกอบด้วยกรดอะมิโน35 - 41 หน่วย ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้มีการสร้างเม็ดสีเมลานิน (melanin pigment ) ที่ผิวหนัง โดยกระตุ้นการกระจาย ของเมลานิน (melanin) ในเมลาโนไซท์ (melanocyte ) ถ้าขาด MSH ผิวหนังจะซีดขาว ถ้า MSH มากเกินไปผิวหนังจะเข้มดำ<br />\n<span style=\"color: #ff9900\"><br />\nมีบางรายงานได้กล่าวถึงบทบาทของMSH ว่ากดความรู้สึกเจริญอาหารในสมอง โดยพบว่าผู้ที่อ้วนมากๆ จะมีการผ่าเหล่าหรือมีสารพันธุกรรมที่สร้างMSH เปลี่ยนไป ส่วนหน้าที่อื่นๆยังไม่ทราบแน่ชัดและเนื่องจากในมนุษย์ต่อมใต้สมองส่วนนี้ฝ่อไปแล้ว ดังนั้น MSHที่ตรวจได้จึงเป็นเปปไทด์ที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าที่ได้จากการสลาย ACTH</span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><u><b>Melanocyte Stimulating hormone <br />\nทำหน้าที่</b></u><br />\n<b>การควบคุมสีผิว</b> (control of skin coloration)</span></span><br />\n<span style=\"color: #ff9900\"> ปลา สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เปลี่ยนสีผิวเพื่อควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย พรางตา และแสดงการดึงดูดเพศตรงข้าม ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่หรือขับเม็ดสีดำ หรือน้ำตาล เล็กๆออก หรือเข้าไปในเซลล์ที่เรียกว่า เมลาโนฟอร์ (melanophore) สารเม็ดเล็กๆนี้เรียกว่าสารมีสีดำหรือเมลานิน (melanin) สร้างจากโดปา (dopa) และโดปาควินโนน (dopaquinone) การเคลื่อนที่ของสารมีสีเล็กๆนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน และสารสื่อประสาทหลายชนิดได้แก่ α-MSH, β - MSH, เมลาโทนิน และแคททีโคลามีน<br />\nสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมไม่มีเมลาโนฟอร์ (melanophore) ที่จะมารวมกัน หรือกระจายออกไปได้เหมือนสัตว์เหล่านี้ แต่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีเซลล์ เมลาโนไซท์ (melanocyte) ซึ่งสร้างเมลานินได้ พบว่าการให้ MSH ในผู้ป่วยจะกระตุ้นการสร้างเมลานิน ซึ่งทำให้ผิวเข้มขึ้นได้ใน 24 ช.ม. แม้ว่า α- MSH และ β - MSH จะใช้ไม่ได้ในมนุษย์ แต่เมลาโนไซท์ จะมีเมลาโนโทรบินซึ่ง ACTH จะสามารถจับกับตัวรับนี้และกระตุ้นให้ผิวเข้มขึ้นได้<br />\n</span><span style=\"color: #ff6600\"><br />\n<span style=\"color: #ff6600\"><b>การมีสีผิวเข้มขึ้นในมนุษย์</b></span></span><br />\n<br />\n<span style=\"color: #ff9900\"> การเปลี่ยนสีผิวที่เกิดจากโรคทางต่อมไร้ท่อในมนุษย์ส่วนใหญ่เกิดจากการไหลเวียนของ ACTH ถ้าผิวซีดมักเกิดจากการทำงานของไฮโพทาลามัสน้อย ถ้าผิวเข้มมักพบในผู้ป่วยที่เป็นโรคของต่อมหมวกไตทำงานน้อยการสร้างเม็ดสีเมลานิน<br />\n(melanin pigment ) ที่ผิวหนัง โดยกระตุ้นการกระจายของเมลานิน (melanin) ในเมลาโนไซท์ (melanocyte ) ถ้าขาด MSH ผิวหนังจะซีดขาว ถ้า MSH มากเกินไปผิวหนังจะเข้มดำ<br />\n<span style=\"color: #ff9900\"><br />\nนอกจากนี้พบว่าผิวหนังเป็นแหล่งผลิต ACTH และ MSH จากโมเลกุลของPOMC ที่สำคัญฮอร์โมนเหล่านี้มีผลต่อรากขน (hair follicles) ต่อมน้ำมัน <br />\n(sebaceous glands) และระบบภูมิคุ้มกันที่ผิวหนัง </span></span> <br />\n\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"> </span>\n</p>\n', created = 1727561656, expire = 1727648056, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b65088a527f1872beb8fd0fa5c6e230f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง

ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง คือ เมลาโนไซท์ สติมูเลติง ฮอร์โมน (melanocyte stimulating hormone เรียกย่อว่าMSH)
สร้างจากเซลล์เมลาโนไซท์ (melanotropic cell) ในพาร์สอินเตอร์มีเดียของต่อมใต้สมอง เป็นพอลิเปปไทด์ฮอร์โมนประกอบด้วยกรดอะมิโน35 - 41 หน่วย ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้มีการสร้างเม็ดสีเมลานิน (melanin pigment ) ที่ผิวหนัง โดยกระตุ้นการกระจาย ของเมลานิน (melanin) ในเมลาโนไซท์ (melanocyte ) ถ้าขาด MSH ผิวหนังจะซีดขาว ถ้า MSH มากเกินไปผิวหนังจะเข้มดำ

มีบางรายงานได้กล่าวถึงบทบาทของMSH ว่ากดความรู้สึกเจริญอาหารในสมอง โดยพบว่าผู้ที่อ้วนมากๆ จะมีการผ่าเหล่าหรือมีสารพันธุกรรมที่สร้างMSH เปลี่ยนไป ส่วนหน้าที่อื่นๆยังไม่ทราบแน่ชัดและเนื่องจากในมนุษย์ต่อมใต้สมองส่วนนี้ฝ่อไปแล้ว ดังนั้น MSHที่ตรวจได้จึงเป็นเปปไทด์ที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าที่ได้จากการสลาย ACTH

Melanocyte Stimulating hormone
ทำหน้าที่

การควบคุมสีผิว (control of skin coloration)

ปลา สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เปลี่ยนสีผิวเพื่อควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย พรางตา และแสดงการดึงดูดเพศตรงข้าม ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่หรือขับเม็ดสีดำ หรือน้ำตาล เล็กๆออก หรือเข้าไปในเซลล์ที่เรียกว่า เมลาโนฟอร์ (melanophore) สารเม็ดเล็กๆนี้เรียกว่าสารมีสีดำหรือเมลานิน (melanin) สร้างจากโดปา (dopa) และโดปาควินโนน (dopaquinone) การเคลื่อนที่ของสารมีสีเล็กๆนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน และสารสื่อประสาทหลายชนิดได้แก่ α-MSH, β - MSH, เมลาโทนิน และแคททีโคลามีน
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมไม่มีเมลาโนฟอร์ (melanophore) ที่จะมารวมกัน หรือกระจายออกไปได้เหมือนสัตว์เหล่านี้ แต่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีเซลล์ เมลาโนไซท์ (melanocyte) ซึ่งสร้างเมลานินได้ พบว่าการให้ MSH ในผู้ป่วยจะกระตุ้นการสร้างเมลานิน ซึ่งทำให้ผิวเข้มขึ้นได้ใน 24 ช.ม. แม้ว่า α- MSH และ β - MSH จะใช้ไม่ได้ในมนุษย์ แต่เมลาโนไซท์ จะมีเมลาโนโทรบินซึ่ง ACTH จะสามารถจับกับตัวรับนี้และกระตุ้นให้ผิวเข้มขึ้นได้

การมีสีผิวเข้มขึ้นในมนุษย์


การเปลี่ยนสีผิวที่เกิดจากโรคทางต่อมไร้ท่อในมนุษย์ส่วนใหญ่เกิดจากการไหลเวียนของ ACTH ถ้าผิวซีดมักเกิดจากการทำงานของไฮโพทาลามัสน้อย ถ้าผิวเข้มมักพบในผู้ป่วยที่เป็นโรคของต่อมหมวกไตทำงานน้อยการสร้างเม็ดสีเมลานิน
(melanin pigment ) ที่ผิวหนัง โดยกระตุ้นการกระจายของเมลานิน (melanin) ในเมลาโนไซท์ (melanocyte ) ถ้าขาด MSH ผิวหนังจะซีดขาว ถ้า MSH มากเกินไปผิวหนังจะเข้มดำ

นอกจากนี้พบว่าผิวหนังเป็นแหล่งผลิต ACTH และ MSH จากโมเลกุลของPOMC ที่สำคัญฮอร์โมนเหล่านี้มีผลต่อรากขน (hair follicles) ต่อมน้ำมัน
(sebaceous glands) และระบบภูมิคุ้มกันที่ผิวหนัง

สร้างโดย: 
นางสาวนรมน เจียมประเสริฐ เเละคุณครูปกรณ์ ปานรอด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 299 คน กำลังออนไลน์