• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:66186a0cf90ad5da57502ba5089b5c9f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n                  <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"><strong><u> ที่มา</u></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">      เพลงพื้นบ้านของไทยเรานั้นมีมาช้านานแล้ว ถ่ายทอดกันโดยทางมุขปาฐะจำต่อๆกันมาหลายชั่วอายุคน <br />\nเชื่อกันว่ามีกำเนิดก่อนศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเสียอีก ต่อมาค่อยมีชื่อเสียง มีแบบสัมผัสคล้องจอง<br />\nท่วงทำนองไปตามภาษาถิ่นนั้นๆ ในการขับร้องเพื่อความบันเทิงต่างๆ จะมีจังหวะดนตรีท้องถิ่น(Folk music)<br />\nเข้ามาและมีการร้องรำทำเพลงไปด้วย จึงเกิดเป็นระบำชาวบ้าน(Folk dance)เพลงพื้นบ้านใช้ร้องรำในงานบันเทิงต่างๆ <br />\nมีงานลงแขก เกี่ยวข้าว ตรุษสงกรานต์ ฯลฯ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">      สำหรับประวัติความเป็นมาของเพลงพื้นบ้านในประเทศไทยนั้น มีมานานแล้วดังข้อความในศิลาจารึกหลักที่ 1 <br />\nกล่าวว่า“เสียงพาทย์ เสียงพิน เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่นเล่นใครจักมักหัวหัว” <br />\nและในไตรภูมิพระร่วง ของพญาลิไทกล่าวว่า<br />\n“…บ้างเต้น บ้างรำ บ้างฟ้อนระบำบรรฤาดุริยดนตรี บ้างดีด บ้างสี บ้างตี บ้างเป่า บ้างขับสรรพสำเนียง เสียงหมู่นักคุณจนกันไปเดียรดาษ…”</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">      ต่อมาในสมัยอยุธยา รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ มีข้อความในกฎมณเฑียรบาล ตอนที่ ๑๕ <br />\nได้กล่าวถึงการเล่นร้องเรือ เป่าขลุ่ย เป่าปี่ ตีทับ ขับรำ ซึ่งเป็นเพลงและดนตรีสมัยนั้น <br />\nนอกจากนั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายกล่าวถึงการเล่นเพลงเทพทองของพระมหานาค <br />\nวัดท่าทรายไว้ในหนังสือปุณโณวาทคำฉันท์เป็นการแสดงที่เป็นมหรสพชนิดหนึ่งในงานสมโภชพระพุทธบาทสระบุรี<br />\nดังนั้นกล่าวได้ว่า ในสมัยอยุธยามีการกล่าวถึงเพลงพื้นบ้านอยู่ ๒ ประการคือ เพลงเรือ และเพลงเทพทอง<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การแบ่งตามภูมิภาค</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"></span><br />\n<span style=\"color: #800000\">1) เพลงพื้นบ้านภาคกลาง มีอิทธิพลมาจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ  <br />\nการประกอบอาชีพวิถีการดำเนินชีวิต พิธีกรรม และเทศกาลต่างๆ โดยสามารถแยกประเภทได้ดังนี้คือ <br />\n 1.เพลงที่ร้องเล่นในฤดูน้ำมาก ได้แก่เพลงเรือ เพลงร่อยพรรษา เพลงรำภาข้าวสาร เพลงหน้าใย เพลงครึ่งท่อน เป็นต้น <br />\n 2.เพลงที่ร้องเล่นในฤดูเกี่ยวข้าวและนวดข้าว ได้แก่ เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเต้นรำกำเคียว เพลงจาก ซึ่งใช้ร้องเล่นระหว่างเกี่ยวข้าว <br />\n  สำหรับเพลงสงฟาง เพลงพานฟาง เพลงโอก เพลงสงคอลำพวน เพลงเตะข้าว และเพลงชักกระดาน ใช้ร้องเล่นระหว่างนวดข้าว <br />\n 3.เพลงที่ร้องเล่นในช่วงตรุษสงกรานต์ ได้แก่ เพลงสงกรานต์ เพลงหย่อย เพลงระบำบ้านไร่ เพลงช้าเจ้าหงส์ เพลงพวงมาลัย <br />\n  เพลงสันนิษฐาน เพลงคล้องช้าง และเพลงใจหวัง เพลงฮินเลเล เพลงกรุ่น เพลงยั่ว เพลงชักเย่อ เพลงเข้าทรงต่างๆ เป็นต้น <br />\n 4.เพลงที่ร้องเล่นได้ทุกโอกาส เพื่อความเพลิดเพลิน สนุกสนาน และเกิดความสามัคคีในหมู่คณะ มักจะร้องเล่นกันในโอกาสทำงานร่วมกัน <br />\n  หรือมีงานบุญและงานรื่นเริงต่างๆ โดยเป็นเพลงในลักษณะพ่อเพลงแม่เพลงอาชีพที่ใช้โต้ตอบกันได้แก่ เพลงเทพทอง เพลงปรบไก่ <br />\n  เพลงอีแซว เพลงฉ่อย เพลงลำตัด เพลงทรงเครื่อง เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">2) เพลงพื้นบ้านภาคเหนือ สามารถใช้ร้องเล่นได้ทุกโอกาส โดยไม่จำกัดฤดูหรือเทศกาลใดๆ<br />\nซึ่งใช้ร้องเพลงเพื่อผ่อนคลายอารมณ์และการพักผ่อนหย่อนใจ โดยลักษณะการขับร้องและท่วงทำนองจะอ่อนโยน <br />\nฟังดูเนิบนาบนุ่มนวล สอดคล้องกับเครื่องดนตรีหลัก ได้แก่ ปี่ ซึง สะล้อ เป็นต้น <br />\nนอกจากนี้ยังสามารถจัดประเภทของเพลงพื้นบ้านของภาคเหนือได้ 3 ประเภท คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"> 1.เพลงซอ  ใช้ร้องโต้ตอบกัน โดยมีการบรรเลงปี่ สะล้อและซึงคลอไปด้วย <br />\n 2.เพลงจ๊อย เป็นการนำบทประพันธ์ของภาคเหนือมาขับร้องเป็นทำนองสั้นๆ <br />\n  โดยเนื้อหาของคำร้องจะเป็นการระบายความในใจ <br />\n  แสดงอารมณ์ความรัก ความเงียบเหงา มีนักร้องเพียงคนเดียว<br />\n  และจะใช้ดนตรีบรรเลงหรือไม่ก็ได้ <br />\n 3.เพลงเด็ก มีลักษณะคล้ายกับเพลงเด็กของภาคอื่นๆ คือเพลงกล่อมเด็ก เพลงปลอบเด็ก <br />\n  และเพลงที่เด็กใช้ร้องเล่นกันได้แก่ เพลงฮื่อลูก และเพลงสิกจุงจา <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">                                                                                          <img border=\"0\" width=\"281\" src=\"/files/u42007/narai.jpg\" height=\"357\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\">                                    <span style=\"color: #ff0000\">สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #ff0000\">                                                                                       <a href=\"http://www.baanmaha.com/community/f158/thread23131/index2.html\"><span style=\"color: #0000ff\">http://www.baanmaha.com/community/f158/thread23131/index2.html</span></a></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #ff0000\">              </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #ff0000\">                                                                                                                                                                                  <a href=\"/node/84911\"><img border=\"0\" align=\"right\" width=\"410\" src=\"/files/u42007/professional-home-icon-25.jpg\" height=\"332\" style=\"width: 191px; height: 156px\" /></a></span></span>\n</p>\n', created = 1715862872, expire = 1715949272, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:66186a0cf90ad5da57502ba5089b5c9f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ที่มา

 

                   ที่มา

      เพลงพื้นบ้านของไทยเรานั้นมีมาช้านานแล้ว ถ่ายทอดกันโดยทางมุขปาฐะจำต่อๆกันมาหลายชั่วอายุคน
เชื่อกันว่ามีกำเนิดก่อนศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเสียอีก ต่อมาค่อยมีชื่อเสียง มีแบบสัมผัสคล้องจอง
ท่วงทำนองไปตามภาษาถิ่นนั้นๆ ในการขับร้องเพื่อความบันเทิงต่างๆ จะมีจังหวะดนตรีท้องถิ่น(Folk music)
เข้ามาและมีการร้องรำทำเพลงไปด้วย จึงเกิดเป็นระบำชาวบ้าน(Folk dance)เพลงพื้นบ้านใช้ร้องรำในงานบันเทิงต่างๆ
มีงานลงแขก เกี่ยวข้าว ตรุษสงกรานต์ ฯลฯ

      สำหรับประวัติความเป็นมาของเพลงพื้นบ้านในประเทศไทยนั้น มีมานานแล้วดังข้อความในศิลาจารึกหลักที่ 1
กล่าวว่า“เสียงพาทย์ เสียงพิน เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่นเล่นใครจักมักหัวหัว”
และในไตรภูมิพระร่วง ของพญาลิไทกล่าวว่า
“…บ้างเต้น บ้างรำ บ้างฟ้อนระบำบรรฤาดุริยดนตรี บ้างดีด บ้างสี บ้างตี บ้างเป่า บ้างขับสรรพสำเนียง เสียงหมู่นักคุณจนกันไปเดียรดาษ…”

      ต่อมาในสมัยอยุธยา รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ มีข้อความในกฎมณเฑียรบาล ตอนที่ ๑๕
ได้กล่าวถึงการเล่นร้องเรือ เป่าขลุ่ย เป่าปี่ ตีทับ ขับรำ ซึ่งเป็นเพลงและดนตรีสมัยนั้น
นอกจากนั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายกล่าวถึงการเล่นเพลงเทพทองของพระมหานาค
วัดท่าทรายไว้ในหนังสือปุณโณวาทคำฉันท์เป็นการแสดงที่เป็นมหรสพชนิดหนึ่งในงานสมโภชพระพุทธบาทสระบุรี
ดังนั้นกล่าวได้ว่า ในสมัยอยุธยามีการกล่าวถึงเพลงพื้นบ้านอยู่ ๒ ประการคือ เพลงเรือ และเพลงเทพทอง

       การแบ่งตามภูมิภาค


1) เพลงพื้นบ้านภาคกลาง มีอิทธิพลมาจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 
การประกอบอาชีพวิถีการดำเนินชีวิต พิธีกรรม และเทศกาลต่างๆ โดยสามารถแยกประเภทได้ดังนี้คือ
 1.เพลงที่ร้องเล่นในฤดูน้ำมาก ได้แก่เพลงเรือ เพลงร่อยพรรษา เพลงรำภาข้าวสาร เพลงหน้าใย เพลงครึ่งท่อน เป็นต้น
 2.เพลงที่ร้องเล่นในฤดูเกี่ยวข้าวและนวดข้าว ได้แก่ เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเต้นรำกำเคียว เพลงจาก ซึ่งใช้ร้องเล่นระหว่างเกี่ยวข้าว
  สำหรับเพลงสงฟาง เพลงพานฟาง เพลงโอก เพลงสงคอลำพวน เพลงเตะข้าว และเพลงชักกระดาน ใช้ร้องเล่นระหว่างนวดข้าว
 3.เพลงที่ร้องเล่นในช่วงตรุษสงกรานต์ ได้แก่ เพลงสงกรานต์ เพลงหย่อย เพลงระบำบ้านไร่ เพลงช้าเจ้าหงส์ เพลงพวงมาลัย
  เพลงสันนิษฐาน เพลงคล้องช้าง และเพลงใจหวัง เพลงฮินเลเล เพลงกรุ่น เพลงยั่ว เพลงชักเย่อ เพลงเข้าทรงต่างๆ เป็นต้น
 4.เพลงที่ร้องเล่นได้ทุกโอกาส เพื่อความเพลิดเพลิน สนุกสนาน และเกิดความสามัคคีในหมู่คณะ มักจะร้องเล่นกันในโอกาสทำงานร่วมกัน
  หรือมีงานบุญและงานรื่นเริงต่างๆ โดยเป็นเพลงในลักษณะพ่อเพลงแม่เพลงอาชีพที่ใช้โต้ตอบกันได้แก่ เพลงเทพทอง เพลงปรบไก่
  เพลงอีแซว เพลงฉ่อย เพลงลำตัด เพลงทรงเครื่อง เป็นต้น

2) เพลงพื้นบ้านภาคเหนือ สามารถใช้ร้องเล่นได้ทุกโอกาส โดยไม่จำกัดฤดูหรือเทศกาลใดๆ
ซึ่งใช้ร้องเพลงเพื่อผ่อนคลายอารมณ์และการพักผ่อนหย่อนใจ โดยลักษณะการขับร้องและท่วงทำนองจะอ่อนโยน
ฟังดูเนิบนาบนุ่มนวล สอดคล้องกับเครื่องดนตรีหลัก ได้แก่ ปี่ ซึง สะล้อ เป็นต้น
นอกจากนี้ยังสามารถจัดประเภทของเพลงพื้นบ้านของภาคเหนือได้ 3 ประเภท คือ

 1.เพลงซอ  ใช้ร้องโต้ตอบกัน โดยมีการบรรเลงปี่ สะล้อและซึงคลอไปด้วย
 2.เพลงจ๊อย เป็นการนำบทประพันธ์ของภาคเหนือมาขับร้องเป็นทำนองสั้นๆ
  โดยเนื้อหาของคำร้องจะเป็นการระบายความในใจ
  แสดงอารมณ์ความรัก ความเงียบเหงา มีนักร้องเพียงคนเดียว
  และจะใช้ดนตรีบรรเลงหรือไม่ก็ได้
 3.เพลงเด็ก มีลักษณะคล้ายกับเพลงเด็กของภาคอื่นๆ คือเพลงกล่อมเด็ก เพลงปลอบเด็ก
  และเพลงที่เด็กใช้ร้องเล่นกันได้แก่ เพลงฮื่อลูก และเพลงสิกจุงจา

                                                                                         

                                    สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

                                                                                       http://www.baanmaha.com/community/f158/thread23131/index2.html

             

                                                                                                                                                                                 

สร้างโดย: 
เบญจพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 302 คน กำลังออนไลน์