• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3bb9cd57f55fd1db265424215c175189' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><u>การตรวจหารายนิ้วมือแฝงด้วยน้ำยาทางเคมี<br />\n</u>     เทคนิคสำหรับการตรวจหารอยลายแฝงด้วยวิธีการทางเคมีนั้น  โดยหลักการได้ครอบคลุมถึงการใช้ประโยชน์ของสสารหรือสารประกอบทางเคมีที่เป็นของเหลวในรูปสารเคมีละลาย (Immersion)  เช่นน้ำยานินไฮดริน(Ninhydrin)  และน้ำยาเกลือเงินไนเตรท(Silver Nitrate Solution)  และน้ำยาผลึกม่วง (Crystal Violet)  หรือ วิคตอเรีย เพียว บลู (Victoria Pure Blue)  รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของสารประกอบทางเคมีบางชนิดที่ระเหย  หรือระเหิดเป็นไอ  ดังที่บางครั้งเราอาจเรียกกันได้ว่าเป็นวิธีรมควัน (Fuming) เช่นการใช้เกล็ดไอโอดีน(Iodine)  และกาว (Super Glue) ดังมีคำอธิบายให้พอเข้าใจถึงสิ่งที่เจ้าหน้าที่วิทยาการหรือกองพิสูจน์หลักฐานใช้เป็นแนวทางในการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงจากพื้นผิววัตถุที่เป็นกระดาษ (ทั้งอ่อนและแข็ง) ไม้เปลือย(ไม่ได้ทาสี) ตลอดจนพื้นผิวที่มีคุณสมบัติดูดซึมอื่นๆ ดังนี้<br />\n     1. น้ำยานินไฮดริน (Ninhydrine Method)<br />\n</strong><strong>น้ำยาเคมีชนิดนี้มีส่วนผสมของนินไฮดริน 0.5 กรัม ละลายในอาเซโตน (Acetone) 100 มิลลิลิตร เป็นสารละลายที่มีความเหมาะ   สมมากกับการตรวจของกลางประเภทกระดาษและเอกสารต่างๆ  แต่มีข้อที่ต้องตระหนักด้วยเสมอว่า  น้ำยาทางเคมีประเภทนี้อาจทำให้หมึกในเอกสารนั้นเสียหายได้  จึงต้องได้รับอนุญาตจากคู่กรณีซึ่งเป็นเจ้าของเสียก่อนลงมือปฎิบัติ<br />\n     </strong><strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     วิธีการ  </strong><strong>คือ  การตรวจหาร่องรอยของกรดอะมิโน (Amino acid)  ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของโปรตีนที่มีอยู่ในร่างกายของมนุษย์ทุกส่วน   รวมทั้งส่วนที่เป็นเหงื่อด้วย การใช้น้ำยานินไฮดรินนั้น  อาจทำได้ทั้งฉีดเป็นละอองฝอย   การจุ่ม หรือการแปรง แต่ดูเหมือนว่าการนำน้ำยามาฉีดเป็นฝอยจะเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดใน  การใช้งาน อย่างไรก็ตามเมื่อพื้นผิววัตถุถูกอาบด้วยน้ำยานี้แล้ว  ควรนำไปอาบความร้อนทับซึ่งอาจใช้เตารีดไฟฟ้านาบลงไปโดยตรง  หรือใช้วิธีผึ่งไว้กลางแดด  หรือผึ่งด้วยลมร้อนก็ได้  แต่ต้องระวังอย่าใช้ความร้อนถึงขั้นที่จะลุกไหม้<br />\nด้วยกระบวนการที่กล่าวมาแล้ว  หากพื้นผิวนั้นๆ  มีรอยลายนิ้วมือแฝงอยู่ก็จะเกิดภาพมองเห็นได้อย่างชัดเจน(มากกว่าผงฝุ่น)  เนื่องจากน้ำยานินไฮดรินจะไปทำปฎิกิริยากับโปรตีนในเหงื่อ  น้ำยาเปลี่ยนจากภาวะไร้สี (Colorless) ไปสู่สีม่วงปนน้ำเงิน  เมื่อเห็ นเช่นนี้แล้วจึงควรถ่ายภาพ(ใกล้)โดยทันที  แล้วจึงเอาเทปกาวใสปิดทับลงไป  ถ่ายภาพซ้ำอีกครั้งหนึ่ง จดรายละเอียด  แล้วจึงนำส่งฝ่ายตรวจพิสูจน์และตรวจเปรียบเทียบต่อไป </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>     2. น้ำยาเกลือเงินไนเตรท (Silver Nitrate Method)<br />\n    วิธีการตรวจด้วยน้ำยาเคมีชนิดนี้  เป็นวิธีการตรวจหาเกลือแกง (Sodium Cloride) ที่อยู่ในเหงื่อของมนุษย์ (ส่วนประกอบหลักๆ ได้แก่ น้ำประมาณ 98.5-99.5%  และมีอัตราส่วนของสิ่งที่เป็นของแข็งเพียง 0.5-1.5% เท่านั้น  ส่วนหลังนี้เองที่ประกอบด้วยสสารประเภทอโลหะ  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกลือถึง 1 ใน 3 อีก 2 ใน 3 มีธาตุยูเรีย (Uria) น้ำมัน  และกรดชนิดต่างๆ  ที่มีส่วนประกอบของโลหะอยู่ที่แนวจีบย่นต่างๆ ที่ด้านในของนิ้วมือ  ฝ่ามือ  และฝ่าเท้าส้นเท้า   น้ำยาเกลือเงินไนเตรทจะทำปฎิกริยากับเกลือแกงที่มีอยู่ที่รอย  เกิดเป็นเงินคลอไรด์ (Silver Chloride) ได้  และจะสามารถให้ผลได้ดีมากสำหรับกาสรตรวจของกลางประเภทกระดาษและไม้<br />\n     น้ำยามีส่วนผสมของเกลือเงินไนเตรทละลายน้ำความเข้มข้น 3% (เงินไนเตรท 3 กรัม ผสมกับน้ำ 100 มิลลิลิตร)  ซึ่งเราอาจใช้          วิธีนำเอกสารจุ่มลงไปในน้ำยาโดยตรง  หรือเป็นละอองฟองก็ได้  แล้วปล่อยให้แห้งเองในห้องมืด  เมื่อแห้งแล้วจึงนำมาให้แสงสว่างจ้า (ประมาณ 1,000 แรงเทียน)  ก็จะปรากฎเห็นรอยแฝงซึ่งเคยสัมผัสที่บริเวณพื้นผิวของวัตถุนั้นได้อย่างชัดเจน  เป็นลายเส้นสีน้ำตาลไหม้เข้ม  รอยที่ปรากฎขึ้นนี้จะต้องใช้วิธีการตรวจเก็บโดยการถ่ายภาพบันทึกใกล้(และขยาย)<br />\n     ข้อควรระวังอย่างที่สุดสำหรับการใช้น้ำยาทางเคมี  คือต้องตระหนักด้วยว่าอาจเป็นการทำให้วัตถุที่ตรวจเกิดความเสียหายไปจากเดิม  จึงต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของก่อน  และสำหรับน้ำยาเกลือเงินไนเตรทนี้  ยังเป็นการทำลายไขมัน น้ำมัน และกรดอมิโนด้วย  </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/87807\"><img border=\"0\" width=\"64\" src=\"/files/u7268/11setadd.gif\" height=\"72\" /></a>\n</p>\n', created = 1727392551, expire = 1727478951, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3bb9cd57f55fd1db265424215c175189' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การตรวจหารายนิ้วมือแฝงด้วยน้ำยาทางเคมี

การตรวจหารายนิ้วมือแฝงด้วยน้ำยาทางเคมี
     เทคนิคสำหรับการตรวจหารอยลายแฝงด้วยวิธีการทางเคมีนั้น  โดยหลักการได้ครอบคลุมถึงการใช้ประโยชน์ของสสารหรือสารประกอบทางเคมีที่เป็นของเหลวในรูปสารเคมีละลาย (Immersion)  เช่นน้ำยานินไฮดริน(Ninhydrin)  และน้ำยาเกลือเงินไนเตรท(Silver Nitrate Solution)  และน้ำยาผลึกม่วง (Crystal Violet)  หรือ วิคตอเรีย เพียว บลู (Victoria Pure Blue)  รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของสารประกอบทางเคมีบางชนิดที่ระเหย  หรือระเหิดเป็นไอ  ดังที่บางครั้งเราอาจเรียกกันได้ว่าเป็นวิธีรมควัน (Fuming) เช่นการใช้เกล็ดไอโอดีน(Iodine)  และกาว (Super Glue) ดังมีคำอธิบายให้พอเข้าใจถึงสิ่งที่เจ้าหน้าที่วิทยาการหรือกองพิสูจน์หลักฐานใช้เป็นแนวทางในการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงจากพื้นผิววัตถุที่เป็นกระดาษ (ทั้งอ่อนและแข็ง) ไม้เปลือย(ไม่ได้ทาสี) ตลอดจนพื้นผิวที่มีคุณสมบัติดูดซึมอื่นๆ ดังนี้
     1. น้ำยานินไฮดริน (Ninhydrine Method)
น้ำยาเคมีชนิดนี้มีส่วนผสมของนินไฮดริน 0.5 กรัม ละลายในอาเซโตน (Acetone) 100 มิลลิลิตร เป็นสารละลายที่มีความเหมาะ   สมมากกับการตรวจของกลางประเภทกระดาษและเอกสารต่างๆ  แต่มีข้อที่ต้องตระหนักด้วยเสมอว่า  น้ำยาทางเคมีประเภทนี้อาจทำให้หมึกในเอกสารนั้นเสียหายได้  จึงต้องได้รับอนุญาตจากคู่กรณีซึ่งเป็นเจ้าของเสียก่อนลงมือปฎิบัติ
     
 

     วิธีการ  คือ  การตรวจหาร่องรอยของกรดอะมิโน (Amino acid)  ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของโปรตีนที่มีอยู่ในร่างกายของมนุษย์ทุกส่วน   รวมทั้งส่วนที่เป็นเหงื่อด้วย การใช้น้ำยานินไฮดรินนั้น  อาจทำได้ทั้งฉีดเป็นละอองฝอย   การจุ่ม หรือการแปรง แต่ดูเหมือนว่าการนำน้ำยามาฉีดเป็นฝอยจะเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดใน  การใช้งาน อย่างไรก็ตามเมื่อพื้นผิววัตถุถูกอาบด้วยน้ำยานี้แล้ว  ควรนำไปอาบความร้อนทับซึ่งอาจใช้เตารีดไฟฟ้านาบลงไปโดยตรง  หรือใช้วิธีผึ่งไว้กลางแดด  หรือผึ่งด้วยลมร้อนก็ได้  แต่ต้องระวังอย่าใช้ความร้อนถึงขั้นที่จะลุกไหม้
ด้วยกระบวนการที่กล่าวมาแล้ว  หากพื้นผิวนั้นๆ  มีรอยลายนิ้วมือแฝงอยู่ก็จะเกิดภาพมองเห็นได้อย่างชัดเจน(มากกว่าผงฝุ่น)  เนื่องจากน้ำยานินไฮดรินจะไปทำปฎิกิริยากับโปรตีนในเหงื่อ  น้ำยาเปลี่ยนจากภาวะไร้สี (Colorless) ไปสู่สีม่วงปนน้ำเงิน  เมื่อเห็ นเช่นนี้แล้วจึงควรถ่ายภาพ(ใกล้)โดยทันที  แล้วจึงเอาเทปกาวใสปิดทับลงไป  ถ่ายภาพซ้ำอีกครั้งหนึ่ง จดรายละเอียด  แล้วจึงนำส่งฝ่ายตรวจพิสูจน์และตรวจเปรียบเทียบต่อไป

สร้างโดย: 
วิราศรี ดีประดับดวง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 237 คน กำลังออนไลน์