• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:63043f6b5076849e4c23dd4d6645b42a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ประวัติศาสตร์กฎหมายอาญาไทย</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Verdana\',\'sans-serif\'; color: #5f6d46; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"> </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\">แม้ว่าตามแนวคิดและทฤษฎีของกฎหมายอาญา กฎหมายควรจะมีการบัญญัติขึ้นจากเจตจำนงค์ของ</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ประชาชน (</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><a href=\"file://wiki/%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A9%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: blue\"><u>ภาษาเยอรมัน</u></span></a><span style=\"color: black\"> </span></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">Volkgeist)<span lang=\"TH\"> ก็ตาม แต่ในประเทศไทย ประมวลกฎหมายอาญาที่ใช้ในปัจจุบัน มิได้</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">มีการบัญญัติขึ้นตามแนวคิดดังกล่าว หากแต่เป็นการเร่งรัดและรีบให้มีการออกกฎหมายดังกล่าวเพื่อให้</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">กฎหมายมีความเหมาะสมตามกาลสมัยที่พัฒนามาจาก กฎหมายลักษณะอาญา รศ.๑๒๗ เพื่อให้กฎหมายมี</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ความทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ (ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย เป็นผู้ร่างประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งมีการ</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ประกาศใช้ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙) </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><a name=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.\" title=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.\"></a><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">  <span lang=\"TH\">ประวัติศาสตร์กฎหมายอาญาสากล</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #5f6d46; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><a name=\".E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.\" title=\".E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.\"></a><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">หลักกฎหมายอาญาภาคทั่วไป</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #8ac427; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">1.</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">     </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">กฎหมายอาญาต้องแน่นอนชัดเจนคือ “ถ้อยคำ” ในบทบัญญัติกม.อาญาต้องมีความชัดเจนหลีก</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">เลี่ยงถ้อยคำที่จะทำให้การตัดสินคดีขึ้นอยู่กับความรู้สึกที่เป็นอัตวิสัย และอำเภอใจผู้พิจารณาคดี </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">2.</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">     </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง (การให้เหตุผลโดยอ้างความคล้ายคลึงกัน) ลงโทษทางอาญาแก่</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">บุคคล </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">3.</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">     </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังไปลงโทษการกระทำที่ผ่านมาแล้วเป็นกม.ที่</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ใช้ในขณะกระทำการ</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">นั้นกม.อาญาในที่นี้ คือ บทบัญญัติที่กำหนดเกี่ยวกับการกระทำผิดและโทษ (</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">Nullum crimen, nulla<span lang=\"TH\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">peona sina lega<span lang=\"TH\"> หรือ </span>No crime, no punishment without law)</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">4.</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">     </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">กฎหมายอาญาต้องแปลหรือตีความโดยเคร่งครัด ความเข้าใจที่ว่าหากตีความตามตัวอักษรแล้ว</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">หากข้อความนั้นไม่ชัดเจนจึงค่อยพิจารณาถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ที่</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ถูกต้องคือ การตีความกฎหมายอาญาจะต้องตีความทั้งตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมายไป</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">พร้อมๆกัน โดยไม่สามารถเลือกตีความอย่างใดอย่างเพียงอย่างเดียวก่อนหรือหลังได้ การตีความ</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">กฎหมายดังที่กล่าวมาจึงอาจมีการตีความอย่างแคบหรืออย่างกว้างก็ได้ ทั้งนี้ เกิดจากการพิจารณาตาม</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมายไปพร้อมๆกัน โดยอาจกล่าวได้ว่ามีแต่การตีความกฎหมายนั้นมี</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">แต่การตีความโดยถูกต้องเท่านั้น และการที่กฎหมายอาญาจะต้องตีความโดยเคร่งครัดนั้น หมายความ</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ว่า ห้ามตีความกฎหมายเกินตัวบท โดยในกรณีที่เกิดช่องว่างของกฎหมายขึ้นจากการตีความที่ถูกต้อง</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">แล้ว จะไม่สามารถนำกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่ง (</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">Analogy)<span lang=\"TH\"> มาปรับใช้เพื่อลงโทษผู้กระทำได้ </span></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">5.</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">     </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ห้ามใช้จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นลงโทษทางอาญาแก่บุคคล เพราะตัวบทมาตรา 2 ใช้คำว่า </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">“บัญญัติ” และสอดคล้องกับข้อ 1 เพราะจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นเรื่องของแต่ละท้องถิ่น ไม่</span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ชัดเจนแน่นอน แตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์</span> </p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\"></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><a href=\"/node/81848\"> </a></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><a href=\"/node/87573\"></a></o:p></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"500\" width=\"500\" src=\"/files/u40580/scale01.gif\" border=\"0\" style=\"width: 170px; height: 92px\" />  <img height=\"209\" width=\"589\" src=\"/files/u40580/border003yt9.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 199px; height: 68px\" />\n</div>\n<p></p>\n', created = 1727033388, expire = 1727119788, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:63043f6b5076849e4c23dd4d6645b42a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติ2

ประวัติศาสตร์กฎหมายอาญาไทย แม้ว่าตามแนวคิดและทฤษฎีของกฎหมายอาญา กฎหมายควรจะมีการบัญญัติขึ้นจากเจตจำนงค์ของ ประชาชน (ภาษาเยอรมัน Volkgeist) ก็ตาม แต่ในประเทศไทย ประมวลกฎหมายอาญาที่ใช้ในปัจจุบัน มิได้ มีการบัญญัติขึ้นตามแนวคิดดังกล่าว หากแต่เป็นการเร่งรัดและรีบให้มีการออกกฎหมายดังกล่าวเพื่อให้ กฎหมายมีความเหมาะสมตามกาลสมัยที่พัฒนามาจาก กฎหมายลักษณะอาญา รศ.๑๒๗ เพื่อให้กฎหมายมี ความทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ (ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย เป็นผู้ร่างประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งมีการ ประกาศใช้ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙)   ประวัติศาสตร์กฎหมายอาญาสากลหลักกฎหมายอาญาภาคทั่วไป1.      กฎหมายอาญาต้องแน่นอนชัดเจนคือ “ถ้อยคำ” ในบทบัญญัติกม.อาญาต้องมีความชัดเจนหลีก เลี่ยงถ้อยคำที่จะทำให้การตัดสินคดีขึ้นอยู่กับความรู้สึกที่เป็นอัตวิสัย และอำเภอใจผู้พิจารณาคดี 2.      ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง (การให้เหตุผลโดยอ้างความคล้ายคลึงกัน) ลงโทษทางอาญาแก่ บุคคล 3.      กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังไปลงโทษการกระทำที่ผ่านมาแล้วเป็นกม.ที่ใช้ในขณะกระทำการ นั้นกม.อาญาในที่นี้ คือ บทบัญญัติที่กำหนดเกี่ยวกับการกระทำผิดและโทษ (Nullum crimen, nulla peona sina lega หรือ No crime, no punishment without law) 4.      กฎหมายอาญาต้องแปลหรือตีความโดยเคร่งครัด ความเข้าใจที่ว่าหากตีความตามตัวอักษรแล้ว หากข้อความนั้นไม่ชัดเจนจึงค่อยพิจารณาถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ที่ ถูกต้องคือ การตีความกฎหมายอาญาจะต้องตีความทั้งตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมายไป พร้อมๆกัน โดยไม่สามารถเลือกตีความอย่างใดอย่างเพียงอย่างเดียวก่อนหรือหลังได้ การตีความ กฎหมายดังที่กล่าวมาจึงอาจมีการตีความอย่างแคบหรืออย่างกว้างก็ได้ ทั้งนี้ เกิดจากการพิจารณาตาม ตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมายไปพร้อมๆกัน โดยอาจกล่าวได้ว่ามีแต่การตีความกฎหมายนั้นมี แต่การตีความโดยถูกต้องเท่านั้น และการที่กฎหมายอาญาจะต้องตีความโดยเคร่งครัดนั้น หมายความ ว่า ห้ามตีความกฎหมายเกินตัวบท โดยในกรณีที่เกิดช่องว่างของกฎหมายขึ้นจากการตีความที่ถูกต้อง แล้ว จะไม่สามารถนำกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่ง (Analogy) มาปรับใช้เพื่อลงโทษผู้กระทำได้ 5.      ห้ามใช้จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นลงโทษทางอาญาแก่บุคคล เพราะตัวบทมาตรา 2 ใช้คำว่า “บัญญัติ” และสอดคล้องกับข้อ 1 เพราะจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นเรื่องของแต่ละท้องถิ่น ไม่ ชัดเจนแน่นอน แตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

 

 

สร้างโดย: 
อ.ธานินทร์ พร้อมสุข และน.ส. อมรรัตน์ สมุทรประภูติ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 242 คน กำลังออนไลน์