• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4b5ab60ddef18b0549f6086280e2294e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b>นางนพมาศ</b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"248\" width=\"170\" src=\"/files/u40856/scan0058.jpg\" /><b> <br />\n</b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา: หนังสือนางในวรรณคดี\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nนางนพมาศ เป็นสตรีมีชื่อกึ่งตำนาน กึ่งประวัติ ไม่แน่ชัดว่าเป็นบุคคลจริง ตามเรื่องเล่า นางนพมาศเป็นธิดาพราหมณ์โชตรัตน์กับนางเรวดี พราหมณ์โชตรัตน์รับราชการในสมเด็จพระร่วงเจ้าแห่งกรุงสุโขทัย ตำแหน่งพระศรีมโหสถ มีหน้าที่ดูแลกิจการตกแต่งพระนครจัดงานพระราชพีสิบสองเดือน พระศรีมโหสถให้ธิดาเล่าเรียนวิชาการต่างๆ ทั้งอ่านเขียน ภาษาไทย ภาษาสันสกฤต คัมภีร์ต่างๆ ตำราโหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ ทั้งยังให้หัดแต่งบทร้อยกรอง ท่องสุภาษิตต่างๆ เรียนรู้ถึงพระราชพิธีสิบสองเดือน  งานของสตรีมิได้ละเลย นางนพมาศมีความสามารถในการร้อยมาลัย  แกะสลักผลไม้ต่างๆ สติปัญญาดี หน้าตางดงาม เป็นที่เลื่องลือว่าถึงพร้อมด้วยรูปสมบั\n</p>\n<p>\nติ ปัญญาสมบัติ และทรัพย์สมบัติ จน\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nมีผู้แต่งเพลงขับยอเกียรตินพมาศไปทั่ว<br />\nวันหนึ่ง หญิงขับร้องในพระราชวังได้ขับเพลงพิณยอเกียรตินางนพมาศขึ้น พระร่วงได้ทรงสดับจึงสนพระทัยไถ่ถามขึ้น ท้าวจันทรนาถภักดี นางพระกำนัลผู้ใหญ่จึงกราบบังคมทูลว่า นางนพมาศนี้มีตัวตนจริง เป็นธิดาพระศรีมโหสถ จึงโปรดให้นำนางขึ้นถวายตัวเป็นพระสนม ขณะนั้นนพมาศอายุได้ 17 ปี แต่ถ้านับตามเดือนอายุเพียง 15 ปี 8 เดือน กับ 24 วัน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nนางนพมาศมีความรู้และขยันประดิษฐ์คิดทำสิ่งต่างๆ ไม่อยู่เฉย เมื่อถึงพระราชพิธีจองเปรียงในวันเพ็ญเดือนสิบสอง นางก็คิดทำโคมเป็นรูปดอกบัว ตกแต่งด้วยผลไม้แกะสลักเป็นรูปนกยูง หงส์ และสัตว์สวยงามอื่นๆ เป็นที่ต้องพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ทำกระทงรูปดอกโกมุทหรือดอกบัวบูชา และนิยมทำสืบต่อมาในงานลอยพระประทีป ที่เรียกกันว่างานลอยกระทงนั่นเอง<br />\nนอกจากกระทงรูปดอกบัวแล้ว นางนพมาศยังได้คิดทำพานขันหมาก ร้อยดอกไม้เป็นรูปพานสองชั้นรองขันตัวพานสองชั้นใช้ดอกไม้สีเหลือง ซ้อนสลับประดับดอกไม้สีแดงสีขาวและสีอื่นๆประสานกันเป็นระบาย ใส่หมากที่อบจนหอม มีตาข่ายดอกไม้คลุม ถวายสมเด็จพระร่วงเจ้าทรงใช้ในพระราชพิธีสนานใหญ่ นั่นคือพิธีเดือน 5 ทรงออกรับเครื่องราชบรรณาการที่บรรดาท้าวพระยาเมืองขึ้น ขุนนาง เศรษฐี และผู้มีตระกูลต่างๆนำมาถวาย พานขันหมากนี้ใส่หมากที่พระร่วงเจ้าทรงหยิบพระราชทานแก่ผู้มาเข้าเฝ้า เมื่อทอดพระเนตรเห็นพานดอกไม้ของนางนพมาศก็โปรดว่างาม ควรเป็นแบบอย่างในแผ่นดินต่อไป และพระราชทานพานขันหมากสำหรับพระมหาอุปราช เป็นเกียรติแก่นางนพมาศ รับสั่งว่าต่อไปผู้ใดจะทำพิธีมงคลให้จัดพานขันหมากตามแบบของนางนพมาศนี้สืบไป<br />\nถึงเดือน 8 มีพระราชพิธีเข้าพรรษา นางนพมาสก็คิดทำพนมพระวรรษา คือพุ่มดอกไม้ทองตกแต่งงดงามสำหรับบูชาพระ เป็นแบบอย่างสืบมา<br />\nนางนพมาสรับราชการเป็นที่โปรดปราน จึงได้รับพระราชทานตำแหน่งเป็นพระสนมเอกขนานนามว่า ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เชื่อกันว่านางได้แต่งหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ว่าด้วยประวัติของตนเองและเกี่ยวกับพระราชพิธีพราหมณ์ คือพระราชพิธี 12 เดือน ไว้อย่างละเอียดแต่หนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์นี้ยังมีข้อโต้แย้งอยู่ว่า อาจจะไม่ใช่หนังสือที่แต่งในสมัยสุโขทัยจริง เพราะภาษาและข้อความหลายอย่างน่าจะอยู่ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประมาณรัชกาลที่3 ข้อถกเถียงนี้ยังไม่เป็นที่ยุติ ตำราประวัติวรรณคดีปัจจุบันยังจัดให้เป็นวรรณคดีในสมัยสุโขทัย สมเด็จพระร่วงเจ้าในหนังสือเล่มนี้ น่าจะเป็นพระเจ้าลิไท ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ไตรภูมิพระร่วง<br />\nมีข้อสันนิษฐานที่พอจะเชื่อได้ว่า เดิมทีคงมีหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์จริง เพราะรายละเอียดพระราชพิธีเป็นแบบแผนอย่างเก่าก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา นักโบราณคดีถือว่ามีคุณค่าแต่ฉบับเดิมคงจะสูญหายไปมากจึงมีผู้แต่งเพิ่มเติมขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แต่ผู้แต่งใหม่มิได้ระมัดระวังข้อเท็จจริงเท่าที่ควร จึงมีข้อบอกพร่องให้สังเกตได้หลายแห่ง<br />\nชื่อนางนพมาศนี้จึงปรากฏมาในปัจจุบัน ถึงวันขึ้นสิบห้าค่ำเดือนสิบสอง ก็มีงานลอยกระทง มีการประกวดนางนพมาศกันมาจนถึงทุกวันนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"43\" width=\"550\" src=\"/files/u40856/lineth_bar.gif\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/81959\"><img height=\"80\" width=\"132\" src=\"/files/u40856/home.jpg\" /></a>   <a href=\"/node/85529\"><img height=\"80\" width=\"207\" src=\"/files/u40856/girl.jpg\" /></a>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720400581, expire = 1720486981, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4b5ab60ddef18b0549f6086280e2294e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นางนพมาศ

 

นางนพมาศ


 

 

ที่มา: หนังสือนางในวรรณคดี

 

นางนพมาศ เป็นสตรีมีชื่อกึ่งตำนาน กึ่งประวัติ ไม่แน่ชัดว่าเป็นบุคคลจริง ตามเรื่องเล่า นางนพมาศเป็นธิดาพราหมณ์โชตรัตน์กับนางเรวดี พราหมณ์โชตรัตน์รับราชการในสมเด็จพระร่วงเจ้าแห่งกรุงสุโขทัย ตำแหน่งพระศรีมโหสถ มีหน้าที่ดูแลกิจการตกแต่งพระนครจัดงานพระราชพีสิบสองเดือน พระศรีมโหสถให้ธิดาเล่าเรียนวิชาการต่างๆ ทั้งอ่านเขียน ภาษาไทย ภาษาสันสกฤต คัมภีร์ต่างๆ ตำราโหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ ทั้งยังให้หัดแต่งบทร้อยกรอง ท่องสุภาษิตต่างๆ เรียนรู้ถึงพระราชพิธีสิบสองเดือน  งานของสตรีมิได้ละเลย นางนพมาศมีความสามารถในการร้อยมาลัย  แกะสลักผลไม้ต่างๆ สติปัญญาดี หน้าตางดงาม เป็นที่เลื่องลือว่าถึงพร้อมด้วยรูปสมบั

ติ ปัญญาสมบัติ และทรัพย์สมบัติ จน

 

มีผู้แต่งเพลงขับยอเกียรตินพมาศไปทั่ว
วันหนึ่ง หญิงขับร้องในพระราชวังได้ขับเพลงพิณยอเกียรตินางนพมาศขึ้น พระร่วงได้ทรงสดับจึงสนพระทัยไถ่ถามขึ้น ท้าวจันทรนาถภักดี นางพระกำนัลผู้ใหญ่จึงกราบบังคมทูลว่า นางนพมาศนี้มีตัวตนจริง เป็นธิดาพระศรีมโหสถ จึงโปรดให้นำนางขึ้นถวายตัวเป็นพระสนม ขณะนั้นนพมาศอายุได้ 17 ปี แต่ถ้านับตามเดือนอายุเพียง 15 ปี 8 เดือน กับ 24 วัน

 

นางนพมาศมีความรู้และขยันประดิษฐ์คิดทำสิ่งต่างๆ ไม่อยู่เฉย เมื่อถึงพระราชพิธีจองเปรียงในวันเพ็ญเดือนสิบสอง นางก็คิดทำโคมเป็นรูปดอกบัว ตกแต่งด้วยผลไม้แกะสลักเป็นรูปนกยูง หงส์ และสัตว์สวยงามอื่นๆ เป็นที่ต้องพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ทำกระทงรูปดอกโกมุทหรือดอกบัวบูชา และนิยมทำสืบต่อมาในงานลอยพระประทีป ที่เรียกกันว่างานลอยกระทงนั่นเอง
นอกจากกระทงรูปดอกบัวแล้ว นางนพมาศยังได้คิดทำพานขันหมาก ร้อยดอกไม้เป็นรูปพานสองชั้นรองขันตัวพานสองชั้นใช้ดอกไม้สีเหลือง ซ้อนสลับประดับดอกไม้สีแดงสีขาวและสีอื่นๆประสานกันเป็นระบาย ใส่หมากที่อบจนหอม มีตาข่ายดอกไม้คลุม ถวายสมเด็จพระร่วงเจ้าทรงใช้ในพระราชพิธีสนานใหญ่ นั่นคือพิธีเดือน 5 ทรงออกรับเครื่องราชบรรณาการที่บรรดาท้าวพระยาเมืองขึ้น ขุนนาง เศรษฐี และผู้มีตระกูลต่างๆนำมาถวาย พานขันหมากนี้ใส่หมากที่พระร่วงเจ้าทรงหยิบพระราชทานแก่ผู้มาเข้าเฝ้า เมื่อทอดพระเนตรเห็นพานดอกไม้ของนางนพมาศก็โปรดว่างาม ควรเป็นแบบอย่างในแผ่นดินต่อไป และพระราชทานพานขันหมากสำหรับพระมหาอุปราช เป็นเกียรติแก่นางนพมาศ รับสั่งว่าต่อไปผู้ใดจะทำพิธีมงคลให้จัดพานขันหมากตามแบบของนางนพมาศนี้สืบไป
ถึงเดือน 8 มีพระราชพิธีเข้าพรรษา นางนพมาสก็คิดทำพนมพระวรรษา คือพุ่มดอกไม้ทองตกแต่งงดงามสำหรับบูชาพระ เป็นแบบอย่างสืบมา
นางนพมาสรับราชการเป็นที่โปรดปราน จึงได้รับพระราชทานตำแหน่งเป็นพระสนมเอกขนานนามว่า ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เชื่อกันว่านางได้แต่งหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ว่าด้วยประวัติของตนเองและเกี่ยวกับพระราชพิธีพราหมณ์ คือพระราชพิธี 12 เดือน ไว้อย่างละเอียดแต่หนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์นี้ยังมีข้อโต้แย้งอยู่ว่า อาจจะไม่ใช่หนังสือที่แต่งในสมัยสุโขทัยจริง เพราะภาษาและข้อความหลายอย่างน่าจะอยู่ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประมาณรัชกาลที่3 ข้อถกเถียงนี้ยังไม่เป็นที่ยุติ ตำราประวัติวรรณคดีปัจจุบันยังจัดให้เป็นวรรณคดีในสมัยสุโขทัย สมเด็จพระร่วงเจ้าในหนังสือเล่มนี้ น่าจะเป็นพระเจ้าลิไท ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ไตรภูมิพระร่วง
มีข้อสันนิษฐานที่พอจะเชื่อได้ว่า เดิมทีคงมีหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์จริง เพราะรายละเอียดพระราชพิธีเป็นแบบแผนอย่างเก่าก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา นักโบราณคดีถือว่ามีคุณค่าแต่ฉบับเดิมคงจะสูญหายไปมากจึงมีผู้แต่งเพิ่มเติมขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แต่ผู้แต่งใหม่มิได้ระมัดระวังข้อเท็จจริงเท่าที่ควร จึงมีข้อบอกพร่องให้สังเกตได้หลายแห่ง
ชื่อนางนพมาศนี้จึงปรากฏมาในปัจจุบัน ถึงวันขึ้นสิบห้าค่ำเดือนสิบสอง ก็มีงานลอยกระทง มีการประกวดนางนพมาศกันมาจนถึงทุกวันนี้

 

 

 

สร้างโดย: 
นางสาววาสินี เที่ยงน่วม และครูศรีสวาสดิ์ บุนนาค

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 424 คน กำลังออนไลน์