• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554', 'node/100081', '', '3.149.249.154', 0, 'acf2ba20d9574f1e63d3306e9e076856', 483, 1716011180) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:17e9f4aff6d0f0320fcb68807a4c1080' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/69061\"><img height=\"50\" width=\"122\" src=\"/files/u32212/homeee.gif\" border=\"0\" /></a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\">ลักษณะการประสานเสียงของดนตรีไทยตามแบบโบราณนั้น ใช้หลัก อาศัยสีเสียง (Tone color)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">ของเครื่องดนตรีเป็นเครื่องแยกแต่ละแนวทำนอง คือให้เครื่องดนตรีแต่ละชิ้นประสานเสียงกันแบบแนวนอน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">คือให้เสียงลูกตกตรงกัน มากกว่าประสานแบบแนวตั้งที่อาศัยคอร์ด (chord) เป็นพื้นฐานหลักตามแบบสากล</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B8.A5.E0.B8.B5.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.94.E0.B8.99.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.B5.E0.B9.84.E0.B8.97.E0.B8.A2\"><u><span style=\"color: #cc99ff\"><strong>ลีลาดนตรีไทย</strong></span></u></span>\n</p>\n<p><span class=\"mw-headline\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">ลีลาเครื่องดนตรีไทย หมายถึงท่วงท่าหรือท่วงทำนองที่เครื่องดนตรีต่างๆได้บรรเลงออกมา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">สำหรับลีลาของ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\" title=\"เครื่องดนตรีไทย\"><span style=\"color: #cc99ff\">เครื่องดนตรีไทย</span></a><span style=\"color: #cc99ff\">แต่ละเครื่องที่เล่นเป็น</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87\" title=\"เพลง\"><span style=\"color: #cc99ff\">เพลง</span></a><span style=\"color: #cc99ff\">ออกมา บ่งบอกถึงคุณลักษณะ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">และพื้นฐาน</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C\" title=\"อารมณ์\"><span style=\"color: #cc99ff\">อารมณ์</span></a><span style=\"color: #cc99ff\">ที่จากตัวผู้เล่น เนื่องมาจากลีลาหนทางของดนตรีไทยนั้นไม่ได้กำหนดกฏเกณฑ์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">ไว้ตายตัวเหมือนกับ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ดนตรีตะวันตก (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #cc99ff\">ดนตรีตะวันตก</span></a><span style=\"color: #cc99ff\"> หากแต่มาจากลีลาซึ่งผู้บรรเลงคิดแต่งออกมาในขณะเล่น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">เพราะฉะนั้นในการบรรเลงแต่ละครั้งจึงอาจมี</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87\" title=\"ทำนอง\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #cc99ff\">ทำนอง</span></a><span style=\"color: #cc99ff\">ไม่ซ้ำกัน แต่ยังมี ความไพเราะและความสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆอยู่</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">ลักษณะเช่นนี้ได้อิทธิพลมาตั้งแต่สมัยโบราณ ที่มี&quot;กฎเกณฑ์&quot; อยู่ที่การวาง &quot;</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%99\" title=\"กลอน\"><span style=\"color: #cc99ff\">กลอน</span></a><span style=\"color: #cc99ff\">&quot; ลงไปใน &quot;ทำนองหลัก&quot;</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">ในที่นี้ หมายถึงในเพลงไทยเดิมนั้นเริ่มต้นด้วย &quot;เนื้อเพลงแท้ๆ&quot; อันหมายถึง &quot;</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เสียงลูกตก (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #cc99ff\">เสียงลูกตก</span></a><span style=\"color: #cc99ff\">&quot; ก่อนที่จะปรับปรุงขึ้นเป็น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">&quot;ทำนองหลัก&quot; หรือที่เรียกว่า &quot;</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%86%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เนื้อฆ้อง (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #cc99ff\">เนื้อฆ้อง</span></a><span style=\"color: #cc99ff\">&quot; อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งในชั้นเนื้อฆ้องนี้ส่วนใหญ่จะยังคงเป็นทำนองห่างๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">ยังไม่มีความซับซ้อนมาก แต่ยังกำหนดลักษณะในการเล่นไว้ให้ผู้บรรเลงแต่ละคนได้บรรเลงด้วยลีลาเฉพาะของตน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">ในกรอบนั้นๆ โดยลีลาที่กล่าวมาก็หมายถึง &quot;</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%99\" title=\"กลอน\"><span style=\"color: #cc99ff\">กลอน</span></a><span style=\"color: #cc99ff\">&quot; หรือ &quot;หนทาง&quot; ต่างๆที่บรรเลงไปนั่นเอง</span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716011189, expire = 1716097589, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:17e9f4aff6d0f0320fcb68807a4c1080' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ลักษณะดนตรีไทย

ลักษณะการประสานเสียงของดนตรีไทยตามแบบโบราณนั้น ใช้หลัก อาศัยสีเสียง (Tone color)

ของเครื่องดนตรีเป็นเครื่องแยกแต่ละแนวทำนอง คือให้เครื่องดนตรีแต่ละชิ้นประสานเสียงกันแบบแนวนอน

คือให้เสียงลูกตกตรงกัน มากกว่าประสานแบบแนวตั้งที่อาศัยคอร์ด (chord) เป็นพื้นฐานหลักตามแบบสากล

ลีลาดนตรีไทย

ลีลาเครื่องดนตรีไทย หมายถึงท่วงท่าหรือท่วงทำนองที่เครื่องดนตรีต่างๆได้บรรเลงออกมา

สำหรับลีลาของเครื่องดนตรีไทยแต่ละเครื่องที่เล่นเป็นเพลงออกมา บ่งบอกถึงคุณลักษณะ

และพื้นฐานอารมณ์ที่จากตัวผู้เล่น เนื่องมาจากลีลาหนทางของดนตรีไทยนั้นไม่ได้กำหนดกฏเกณฑ์

ไว้ตายตัวเหมือนกับดนตรีตะวันตก หากแต่มาจากลีลาซึ่งผู้บรรเลงคิดแต่งออกมาในขณะเล่น

เพราะฉะนั้นในการบรรเลงแต่ละครั้งจึงอาจมีทำนองไม่ซ้ำกัน แต่ยังมี ความไพเราะและความสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆอยู่

ลักษณะเช่นนี้ได้อิทธิพลมาตั้งแต่สมัยโบราณ ที่มี"กฎเกณฑ์" อยู่ที่การวาง "กลอน" ลงไปใน "ทำนองหลัก"

ในที่นี้ หมายถึงในเพลงไทยเดิมนั้นเริ่มต้นด้วย "เนื้อเพลงแท้ๆ" อันหมายถึง "เสียงลูกตก" ก่อนที่จะปรับปรุงขึ้นเป็น

"ทำนองหลัก" หรือที่เรียกว่า "เนื้อฆ้อง" อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งในชั้นเนื้อฆ้องนี้ส่วนใหญ่จะยังคงเป็นทำนองห่างๆ

ยังไม่มีความซับซ้อนมาก แต่ยังกำหนดลักษณะในการเล่นไว้ให้ผู้บรรเลงแต่ละคนได้บรรเลงด้วยลีลาเฉพาะของตน

ในกรอบนั้นๆ โดยลีลาที่กล่าวมาก็หมายถึง "กลอน" หรือ "หนทาง" ต่างๆที่บรรเลงไปนั่นเอง

สร้างโดย: 
นายสุทัศน์ ตั้งฮั่น และนางสาวรุจิรา อินทน้ำเงิน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 310 คน กำลังออนไลน์