• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0edbd1c5a24e8fef0a8f3bfbaeca9211' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-family: PSLDisplayProBold; font-size: x-large\"><span style=\"font-family: PSLDisplayProBold; font-size: x-large\"></span></span></b></p>\n<p align=\"center\">\nรายงาน\n</p>\n<p>\nเรื่อง ความขัดแย้งทางศาสนา\n</p>\n<p align=\"center\">\nเสนอ\n</p>\n<p align=\"center\">\nอาจารย์ วัชรี กมลเสรีรัตน์\n</p>\n<p align=\"center\">\nจัดทำโดย\n</p>\n<p>\nนาย ธเนศ          เรืองกลิ่น   ม.5/3 เลขที่1\n</p>\n<p>\nนาย สุรศักดิ์       ถุงจังหรีด  ม.5/3 เลขที่4\n</p>\n<p>\nนาย ณัฐชนน     พูนธวัฒน์  ม.5/3 เลขที่5\n</p>\n<p>\nนาย ณัณพงศ์    ช้างจันทร์  ม.5/3 เลขที่20\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\nคำนำ\n</p>\n<p>\n  รายงานเล่มนี้จัดทำเพื่อให้ได้รู้จักความขัดแย้งทางศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของวิชาสังคมเนื้อหาแบบสรุปย่อถ้าผิดพลาดประกานใด ก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"left\">\nความขัดแย้งทางศาสนา\n</p>\n<p><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\nความขัดแย้งทางศาสนาเป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นง่ายและรุนแรง เนื่องจากผู้นับถือ\n</p>\n<p align=\"left\">\nศาสนาแบบยึดมั่นถือมั่นจะเห็นว่าศาสนาหรือลัทธิที่ตนนับถือดีกว่าของผู้อื่นละไม่ยอมรับคนต่าง\n</p>\n<p align=\"left\">\nศาสนาต่างลัทธิ ทั้งนี้เพราะคนเหล่านั้นมีพื้นฐานความเชื่อต่างกันและตีความศาสนาไปตามความ\n</p>\n<p align=\"left\">\nเชื่อของตน และวางรูปแบบการดำรงชีวิตแตกต่างกันออกไปตามที่ตนเชื่อถือ ซึ่งความยึดมั่นถือ\n</p>\n<p align=\"left\">\nมั่นนี้เองทำให้เกิดความขัดแย้งกันขึ้นมา ส่วนใหญ่ความขัดแย้งทางศาสนามักจะมีความรุนแรง\n</p>\n<p align=\"left\">\nและพร้อมจะสละชีวิตเพื่อความยึดมั่นของตน ดังที่ปรากฏเป็นสงครามทางศาสนาหรือสงครามครู\n</p>\n<p align=\"left\">\nเสดระหว่างชาวคริสตเตียนกับชาวอิสลามในสมัยโบราณ เป็นต้น ทั้งนี้ความขัดแย้งทางศาสนา\n</p>\n<p align=\"left\">\nเกิดขึ้นได้ทั้งในศาสนาต่างศาสนาและศาสนาเดียวกัน ความขัดแย้งทางศาสนาที่สำคัญมีดังนี้\n</p>\n<p><b><span style=\"font-family: PSLTextProBold; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextProBold; font-size: large\">1. ความขัดแย้งระหว่างศาสนา </span></span></b><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\">ตัวอย่างเช่น ความขัดแย้งทางศาสนาในประเทศ</span></span><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"> </span></span></p>\n<p align=\"left\">\nอินเดีย เป็นความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูกับชาวมุสลิมจนแยกเป็นประเทศปากีสถานใน ค.ศ.\n</p>\n<p align=\"left\">\n1947 ซึ่งเดิมปากีสถานรวมเป็นดินแดนเดียวกับอินเดียและอยู่ภายใต้การปกครองอังกฤษ และ\n</p>\n<p align=\"left\">\nก่อนที่อินเดียจะได้รับเอกราช ชาวมุสลิมในอินเดียก็ร่วมกันเรียกร้องที่จะแยกประเทศเนื่องจาก\n</p>\n<p align=\"left\">\nความแตกต่างระหว่างชาวฮินดูกับชาวมุสลิม ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างทางการเมืองที่ผู้นับถือ\n</p>\n<p align=\"left\">\nศาสนาอิสลามหรือชาวมุสลิมที่มีจำนวนน้อยกว่าผู้ที่นับถือศาสนาฮินดู ทำให้ชาวมุสลิมเป็นชนกลุ่ม\n</p>\n<p align=\"left\">\nน้อยของประเทศที่ได้รับสิทธิทางการเมืองน้อย หรือความแตกต่างทางศาสนาที่ชาวมุสลิมนับถือ\n</p>\n<p>พระเจ้าองค์เดียว ส่วนชาวฮินดูนับถือพระเจ้าหลายองค์ รวมทั้งความแตกต่างทางสังคมที่ชาว<span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"></span></span><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"> </span></span></p>\n<p align=\"left\">\nมุสลิมเชื่อว่าทุกคนมีความเท่าเทียมกัน แต่สังคมชาวฮินดูมีระบบวรรณะ เป็นต้น จากเหตุผลดัง\n</p>\n<p align=\"left\">\nกล่าวปัญหาระหว่างชาวมุสลิมและชาวฮินดูก็เพิ่มมากขึ้นจนถึงขั้นปะทะกันอย่างรุนแรง ในที่สุด\n</p>\n<p align=\"left\">\nอังกฤษจึงให้เอกราชกับอินเดียและปากีสถานเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1947 แต่ภายหลังจากมี\n</p>\n<p align=\"left\">\nการจัดตั้งเป็นประเทศแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียกับปากีสถานก็ไม่ราบรื่นนัก ไม่ว่าจะเป็น\n</p>\n<p align=\"left\">\nปัญหาพรมแดน ปัญหาแคว้นแคชเมียร์ และการแข่งขันการสะสมและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เพื่อ\n</p>\n<p align=\"left\">\nข่มขู่ฝ่ายตรงกันข้าม นอกจากนี้ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวฮินดูในอินเดียก็ยังคง\n</p>\n<p align=\"left\">\nดำเนินเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน\n</p>\n<p><b><span style=\"font-family: PSLTextProBold; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextProBold; font-size: large\"></span></span></b></p>\n<p align=\"left\">\n2. ความขัดแย้งภายในศาสนาเดียวกัน <span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\">ตัวอย่างเช่น</span></span>\n</p>\n<p><b><i><span style=\"font-family: PSLTextProBoldItalic; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextProBoldItalic; font-size: large\">1) ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมในประเทศปากีสถาน </span></span></i></b><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\">ที่นำไปสู่การแยกเป็น</span></span><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"> </span></span></p>\n<p align=\"left\">\nประเทศปากีสถานกับบังกลาเทศเมื่อ ค.ศ. 1971 โดยมีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการที่หนึ่งมา\n</p>\n<p align=\"left\">\nจากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แยกปากีสถานออกเป็น 2 ส่วน คือ ปากีสถานตะวันตกและปากีสถาน\n</p>\n<p align=\"left\">\nตะวันออก โดยมีอินเดียคั่นกลาง ส่วนอีกประการหนึ่งที่สำคัญ คือ ความไม่พอใจในความไม่เท่า\n</p>\n<p align=\"left\">\nเทียมกัน เนื่องจากประชากรในปากีสถานตะวันออกส่วนใหญ่มากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากร\n</p>\n<p align=\"left\">\nทั้งหมดของประเทศปากีสถาน แต่รัฐบาลกลับให้ความสนใจในการพัฒนาปากีสถานตะวันตกมาก\n</p>\n<p align=\"left\">\nกว่า ชาวปากีสถานตะวันออกจึงพยายามที่จะแยกตัวออกมา รัฐบาลปากีสถานจึงส่งกองทหารเข้า\n</p>\n<p align=\"left\">\nปราบปราม ทำให้ชาวปากีสถานตะวันออกหลบหนีไปอาศัยอยู่ในอินเดีย โดยที่รัฐบาลปากีสถาน\n</p>\n<p align=\"left\">\nกล่าวโจมตีอินเดียว่าให้การสนับสนุนแก่ชาวปากีสถานตะวันออก อย่างไรก็ตาม ในที่สุดปากีสถาน\n</p>\n<p>\nตะวันออกก็สามารถแยกประเทศได้สำเร็จและจัดตั้งประเทศใหม่ในชื่อว่า บังกลาเทศ\n</p>\n<p>\n<img height=\"323\" width=\"300\" src=\"/files/u12894/06.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p><b><i><span style=\"font-family: PSLTextProBoldItalic; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextProBoldItalic; font-size: large\"></span></span></i></b></p>\n<p align=\"left\">\n2) ความขัดแย้งระหว่างอิรักและอิหร่าน <span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\">มีสาเหตุสำคัญ ได้แก่</span></span>\n</p>\n<p><i><span style=\"font-family: PSLTextProItalic; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextProItalic; font-size: large\">- ปัญหาเรื่องเขตแดน </span></span></i><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\">ได้แก่ การแย่งชิงสิทธิเหนือร่องน้ำอัล-อาหรับซึ่งเป็น</span></span><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"> </span></span></p>\n<p align=\"left\">\nเขดแดนตอนใต้ระหว่างอิรัก-อิหร่าน และมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ คือ เป็นที่ตั้งท่าเรือที่ใหญ่\n</p>\n<p align=\"left\">\nที่สุดและสถานีส่งน้ำมันที่สำคัญ รวมทั้งเป็นแหล่งน้ำมันของอิหร่านด้วย\n</p>\n<p><i><span style=\"font-family: PSLTextProItalic; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextProItalic; font-size: large\">- ปัญหาชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ด </span></span></i><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\">ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยชาวเขาในอิรัก อิหร่าน และ</span></span><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"> </span></span></p>\n<p align=\"left\">\nซีเรีย ที่ได้พยายามเรียกร้องการปกครองตนเองมาเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะในอิรักที่มีชาว\n</p>\n<p align=\"left\">\nเคิร์ดอาศัยอยู่จำนวนมาก ที่มีความแตกต่างจากอิรักทั้งเชื้อชาติและศาสนาแม้จะเป็นมุสลิม\n</p>\n<p align=\"left\">\nเหมือนกันแต่ก็นับถือกันคนละนิกาย โดยชาวอิรักนับถือนิกายชีอะห์ ส่วนชาวเคิร์ดนับถือนิกาย\n</p>\n<p align=\"left\">\nสุหนี่ ทั้งนี้ชาวเคิร์ดมักใช้วิธีการก่อจราจลและการต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธโดยได้รับการสนับสนุนจาก\n</p>\n<p align=\"left\">\nอิหร่าน ซึ่งทางอิรักก็ใช้กำลังเข้าปราบปรามอย่างรุนแรง\n</p>\n<p><i><span style=\"font-family: PSLTextProItalic; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextProItalic; font-size: large\">- ความขัดแย้งระหว่างผู้นำประเทศ </span></span></i><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\">ภายหลังที่อิหร่านโค่นล้มสถาบันกษัตริย์และ</span></span><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"> </span></span></p>\n<p align=\"left\">\nเปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐอิสลาม ที่มีอยาโตลลาห์ โคไมนี เป็นผู้นำประเทศอิหร่าน และ\n</p>\n<p align=\"left\">\nนำหลักศาสนาอิสลามมาใช้ในการปกครองประเทศ หลายประเทศในตะวันออกกลางเกรงว่า\n</p>\n<p>อิหร่านจะเผยแพร่แนวคิดรัฐอิสลามไปยังประเทศของตนและอาจส่งผลต่อความมั่นคงทางการ<span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"></span></span><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"><span style=\"font-family: PSLTextPro; font-size: large\"> </span></span></p>\n<p align=\"left\">\nเมือง ทำให้อิรักที่มีพรมแดนติดกับอิหร่านและมีความขัดแย้งกันมานานแล้วยิ่งทวีความรุนแรง\n</p>\n<p align=\"left\">\nมากขึ้น โดยโคไมนีพยายามเรียกร้องให้ชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ที่มีจำนวนร้อยละ 65 ของชาวอิรัก\n</p>\n<p align=\"left\">\nทำการโค่นล้มรัฐบาลประธานารธิบดีซัดดัม อุสเซน ซึ่งเป็นชาวมุสลิมนิกายสุหนี่ ที่พยายามจะ\n</p>\n<p align=\"left\">\nขยายอำนาจเข้ามาในอิหร่าน จากความขัดแย้งของทั้งสองประเทศส่งผลให้เกิดการปะทะกันตาม\n</p>\n<p align=\"left\">\nพรมแดนและทวีความรุนแรงมากขึ้น กลายเป็นสงครามยืดเยื้อ เนื่องจากอิรักได้รับการสนับสนุน\n</p>\n<p align=\"left\">\nอาวุธจากสหรัฐอเมริกา ส่วนอิหร่านได้รับความช่วยเหลือจากรัสเซีย จนกระทั่งองค์การ\n</p>\n<p>\nสหประชาชาติและประเทศที่เป็นกลางพยายามเจรจาและยุติสงครามใน ค.ศ. 1988\n</p>\n<p>\n<img height=\"266\" width=\"400\" src=\"/files/u12894/Kazakhstan_08.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715423471, expire = 1715509871, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0edbd1c5a24e8fef0a8f3bfbaeca9211' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความขัดแย้งทางศาสนา

รายงาน

เรื่อง ความขัดแย้งทางศาสนา

เสนอ

อาจารย์ วัชรี กมลเสรีรัตน์

จัดทำโดย

นาย ธเนศ          เรืองกลิ่น   ม.5/3 เลขที่1

นาย สุรศักดิ์       ถุงจังหรีด  ม.5/3 เลขที่4

นาย ณัฐชนน     พูนธวัฒน์  ม.5/3 เลขที่5

นาย ณัณพงศ์    ช้างจันทร์  ม.5/3 เลขที่20


คำนำ

  รายงานเล่มนี้จัดทำเพื่อให้ได้รู้จักความขัดแย้งทางศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของวิชาสังคมเนื้อหาแบบสรุปย่อถ้าผิดพลาดประกานใด ก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย

 


ความขัดแย้งทางศาสนา

ความขัดแย้งทางศาสนาเป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นง่ายและรุนแรง เนื่องจากผู้นับถือ

ศาสนาแบบยึดมั่นถือมั่นจะเห็นว่าศาสนาหรือลัทธิที่ตนนับถือดีกว่าของผู้อื่นละไม่ยอมรับคนต่าง

ศาสนาต่างลัทธิ ทั้งนี้เพราะคนเหล่านั้นมีพื้นฐานความเชื่อต่างกันและตีความศาสนาไปตามความ

เชื่อของตน และวางรูปแบบการดำรงชีวิตแตกต่างกันออกไปตามที่ตนเชื่อถือ ซึ่งความยึดมั่นถือ

มั่นนี้เองทำให้เกิดความขัดแย้งกันขึ้นมา ส่วนใหญ่ความขัดแย้งทางศาสนามักจะมีความรุนแรง

และพร้อมจะสละชีวิตเพื่อความยึดมั่นของตน ดังที่ปรากฏเป็นสงครามทางศาสนาหรือสงครามครู

เสดระหว่างชาวคริสตเตียนกับชาวอิสลามในสมัยโบราณ เป็นต้น ทั้งนี้ความขัดแย้งทางศาสนา

เกิดขึ้นได้ทั้งในศาสนาต่างศาสนาและศาสนาเดียวกัน ความขัดแย้งทางศาสนาที่สำคัญมีดังนี้

1. ความขัดแย้งระหว่างศาสนา ตัวอย่างเช่น ความขัดแย้งทางศาสนาในประเทศ

อินเดีย เป็นความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูกับชาวมุสลิมจนแยกเป็นประเทศปากีสถานใน ค.ศ.

1947 ซึ่งเดิมปากีสถานรวมเป็นดินแดนเดียวกับอินเดียและอยู่ภายใต้การปกครองอังกฤษ และ

ก่อนที่อินเดียจะได้รับเอกราช ชาวมุสลิมในอินเดียก็ร่วมกันเรียกร้องที่จะแยกประเทศเนื่องจาก

ความแตกต่างระหว่างชาวฮินดูกับชาวมุสลิม ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างทางการเมืองที่ผู้นับถือ

ศาสนาอิสลามหรือชาวมุสลิมที่มีจำนวนน้อยกว่าผู้ที่นับถือศาสนาฮินดู ทำให้ชาวมุสลิมเป็นชนกลุ่ม

น้อยของประเทศที่ได้รับสิทธิทางการเมืองน้อย หรือความแตกต่างทางศาสนาที่ชาวมุสลิมนับถือ

พระเจ้าองค์เดียว ส่วนชาวฮินดูนับถือพระเจ้าหลายองค์ รวมทั้งความแตกต่างทางสังคมที่ชาว

มุสลิมเชื่อว่าทุกคนมีความเท่าเทียมกัน แต่สังคมชาวฮินดูมีระบบวรรณะ เป็นต้น จากเหตุผลดัง

กล่าวปัญหาระหว่างชาวมุสลิมและชาวฮินดูก็เพิ่มมากขึ้นจนถึงขั้นปะทะกันอย่างรุนแรง ในที่สุด

อังกฤษจึงให้เอกราชกับอินเดียและปากีสถานเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1947 แต่ภายหลังจากมี

การจัดตั้งเป็นประเทศแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียกับปากีสถานก็ไม่ราบรื่นนัก ไม่ว่าจะเป็น

ปัญหาพรมแดน ปัญหาแคว้นแคชเมียร์ และการแข่งขันการสะสมและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เพื่อ

ข่มขู่ฝ่ายตรงกันข้าม นอกจากนี้ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวฮินดูในอินเดียก็ยังคง

ดำเนินเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

2. ความขัดแย้งภายในศาสนาเดียวกัน ตัวอย่างเช่น

1) ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมในประเทศปากีสถาน ที่นำไปสู่การแยกเป็น

ประเทศปากีสถานกับบังกลาเทศเมื่อ ค.ศ. 1971 โดยมีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการที่หนึ่งมา

จากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แยกปากีสถานออกเป็น 2 ส่วน คือ ปากีสถานตะวันตกและปากีสถาน

ตะวันออก โดยมีอินเดียคั่นกลาง ส่วนอีกประการหนึ่งที่สำคัญ คือ ความไม่พอใจในความไม่เท่า

เทียมกัน เนื่องจากประชากรในปากีสถานตะวันออกส่วนใหญ่มากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากร

ทั้งหมดของประเทศปากีสถาน แต่รัฐบาลกลับให้ความสนใจในการพัฒนาปากีสถานตะวันตกมาก

กว่า ชาวปากีสถานตะวันออกจึงพยายามที่จะแยกตัวออกมา รัฐบาลปากีสถานจึงส่งกองทหารเข้า

ปราบปราม ทำให้ชาวปากีสถานตะวันออกหลบหนีไปอาศัยอยู่ในอินเดีย โดยที่รัฐบาลปากีสถาน

กล่าวโจมตีอินเดียว่าให้การสนับสนุนแก่ชาวปากีสถานตะวันออก อย่างไรก็ตาม ในที่สุดปากีสถาน

ตะวันออกก็สามารถแยกประเทศได้สำเร็จและจัดตั้งประเทศใหม่ในชื่อว่า บังกลาเทศ

2) ความขัดแย้งระหว่างอิรักและอิหร่าน มีสาเหตุสำคัญ ได้แก่

- ปัญหาเรื่องเขตแดน ได้แก่ การแย่งชิงสิทธิเหนือร่องน้ำอัล-อาหรับซึ่งเป็น

เขดแดนตอนใต้ระหว่างอิรัก-อิหร่าน และมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ คือ เป็นที่ตั้งท่าเรือที่ใหญ่

ที่สุดและสถานีส่งน้ำมันที่สำคัญ รวมทั้งเป็นแหล่งน้ำมันของอิหร่านด้วย

- ปัญหาชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ด ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยชาวเขาในอิรัก อิหร่าน และ

ซีเรีย ที่ได้พยายามเรียกร้องการปกครองตนเองมาเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะในอิรักที่มีชาว

เคิร์ดอาศัยอยู่จำนวนมาก ที่มีความแตกต่างจากอิรักทั้งเชื้อชาติและศาสนาแม้จะเป็นมุสลิม

เหมือนกันแต่ก็นับถือกันคนละนิกาย โดยชาวอิรักนับถือนิกายชีอะห์ ส่วนชาวเคิร์ดนับถือนิกาย

สุหนี่ ทั้งนี้ชาวเคิร์ดมักใช้วิธีการก่อจราจลและการต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธโดยได้รับการสนับสนุนจาก

อิหร่าน ซึ่งทางอิรักก็ใช้กำลังเข้าปราบปรามอย่างรุนแรง

- ความขัดแย้งระหว่างผู้นำประเทศ ภายหลังที่อิหร่านโค่นล้มสถาบันกษัตริย์และ

เปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐอิสลาม ที่มีอยาโตลลาห์ โคไมนี เป็นผู้นำประเทศอิหร่าน และ

นำหลักศาสนาอิสลามมาใช้ในการปกครองประเทศ หลายประเทศในตะวันออกกลางเกรงว่า

อิหร่านจะเผยแพร่แนวคิดรัฐอิสลามไปยังประเทศของตนและอาจส่งผลต่อความมั่นคงทางการ

เมือง ทำให้อิรักที่มีพรมแดนติดกับอิหร่านและมีความขัดแย้งกันมานานแล้วยิ่งทวีความรุนแรง

มากขึ้น โดยโคไมนีพยายามเรียกร้องให้ชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ที่มีจำนวนร้อยละ 65 ของชาวอิรัก

ทำการโค่นล้มรัฐบาลประธานารธิบดีซัดดัม อุสเซน ซึ่งเป็นชาวมุสลิมนิกายสุหนี่ ที่พยายามจะ

ขยายอำนาจเข้ามาในอิหร่าน จากความขัดแย้งของทั้งสองประเทศส่งผลให้เกิดการปะทะกันตาม

พรมแดนและทวีความรุนแรงมากขึ้น กลายเป็นสงครามยืดเยื้อ เนื่องจากอิรักได้รับการสนับสนุน

อาวุธจากสหรัฐอเมริกา ส่วนอิหร่านได้รับความช่วยเหลือจากรัสเซีย จนกระทั่งองค์การ

สหประชาชาติและประเทศที่เป็นกลางพยายามเจรจาและยุติสงครามใน ค.ศ. 1988

สร้างโดย: 
sila15843

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 196 คน กำลังออนไลน์