• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:98c7b194c0e53229e0292444869ff6b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"><span style=\"font-family: Tahoma\"></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<sup><sub>รายงาน </sub></sup>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<sup><sub><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">เรื่อง   เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 หรือ วันมหาวิปโยค</span></span></span></span></span> </sub></sup>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"></span></span></span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"><sup><sub> เสนอ </sub></sup></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<sup><sub><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">อาจารย์ วัชรี กมลเสรีรัตน์</span></span></span></span></span> </sub></sup>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<sup><sub><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">จัดทำโดย</span></span></span></span></span> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"><sup><sub>1.นาย    ธนัฐพล       ปุยอรุณ       ม.5/3     เลขที่ 3</sub></sup></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<sup><sub><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">2.นาย    กฤษฎา       รุ่งเรือง        ม.5/3     เลขที่ 6</span></span></span></span></span> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">3.นาย    ณัฐวุฒิ        สุขรำมิ        ม.5/3     เลขที่ 15</span></span></span></span></span> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">4.นาย    ชาติชาย      สุคนธ์ผ่อง   ม.5/3     เลขที่ 19</span></span></span></span></span> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">5.นาย    ณัฐพงศ์      ช้างจันทร์    ม.5/3     เลขที่ 20</span></span></span></span></span> </sub></sup>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3366ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'; font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"><sup><sub></sub></sup></span></span></span></span></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p align=\"center\">\n<sup><sub> คำนำ </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>รายงานส่วนนี้เป็นรายงานส่วนหนึ่งของวิชาประวัติสตร์ จัดทำขึ้นเพื่อให้นักเรียนคนอื่นๆที่ยังไม่ได้อ่านเข้ามาอ่านและศึกษาหาความรู้ โดยเนื้อหาที่จัดขึ้นแล้วได้ทำขึ้นหัวเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 หรือ วันมหาวิปโยค โดยมีเนื้อหาเรื่องย่อย ถ้าหากรายงานเล่มนี้ผิดประการใด ก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย </sub></sup>\n</p>\n<p><sup><sub></sub></sup></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p>\n<sup><sub><b>เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516</b> หรือ <b>วันมหาวิปโยค</b> เป็นเหตุการณ์ที่นักศึกษาและประชาชนใน</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\" title=\"ประเทศไทย\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ประเทศไทย</sub></sup></span></a><sup><sub> มากกว่า 5 แสนคน ได้รวมตัวกันเพื่อเรียกร้อง</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D\" title=\"รัฐธรรมนูญ\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>รัฐธรรมนูญ</sub></sup></span></a><sup><sub>จากรัฐบาลเผด็จการ </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A1_%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B8%88%E0%B8%A3\" title=\"ถนอม กิตติขจร\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>จอมพลถนอม กิตติขจร</sub></sup></span></a><sup><sub> โดยในเหตุการณ์นี้มีผู้เสียชีวิต 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub><img height=\"190\" width=\"250\" src=\"/files/u12894/250px-14_oct.jpg\" align=\"top\" border=\"0\" /> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>สาเหตุ </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>เหตุการณ์เริ่มมาจากการที่จอมพลถนอม กิตติขจร ทำการ</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2514\" title=\"รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>รัฐประหารตัวเองในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514</sub></sup></span></a><sup><sub> โดยนักศึกษาและประชาชนมองว่าเป็นการสืบทอดอำนาจตนเองจากจอมพล</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C_%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%95%E0%B9%8C\" title=\"สฤษดิ์ ธนะรัชต์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>สฤษดิ์ ธนะรัชต์</sub></sup></span></a><sup><sub> ซึ่งในขณะนั้นจอมพลถนอมจะต้องเกษียณอายุราชการเนื่องจากอายุครบ 60 ปี อีกทั้งจอมพล</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%AA_%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3\" title=\"ประภาส จารุเสถียร\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ประภาส จารุเสถียร</sub></sup></span></a><sup><sub> บุคคลสำคัญในรัฐบาล ก็มิได้รับการยอมรับเหมือนจอมพลถนอม แต่กลับต่ออายุราชการให้ตนเอง ประกอบกับข่าวคราวเรื่องทุจริตคอร์รัปชั่นในวงราชการต่าง ๆ สร้างความไม่พอใจอย่างมากแก่ประชาชน </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/wiki/29_%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99\" title=\"29 เมษายน\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>29 เมษายน</sub></sup></span></a><sup><sub> </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2516\" title=\"พ.ศ. 2516\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>พ.ศ. 2516</sub></sup></span></a><sup><sub> </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"เฮลิคอปเตอร์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>เฮลิคอปเตอร์</sub></sup></span></a><sup><sub>ทหารหมายเลข ทบ.6102 เกิดอุบัติเหตุตกที่ </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AD.%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99\" title=\"อ.บางเลน\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>อ.บางเลน</sub></sup></span></a><sup><sub> จ.</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%90%E0%B8%A1\" title=\"นครปฐม\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>นครปฐม</sub></sup></span></a><sup><sub> มีดาราหญิงชื่อดังในขณะนั้นคือ </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B2_%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%8C\" title=\"เมตตา รุ่งรัตน์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>เมตตา รุ่งรัตน์</sub></sup></span></a><sup><sub> โดยสารไปด้วย มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 6 คน ในซากเฮลิคอปเตอร์นั้นพบซากสัตว์เป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นซาก</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%87\" title=\"กระทิง\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>กระทิง</sub></sup></span></a><sup><sub> ที่ทางผู้ที่ใช้ล่ามาจาก</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88-%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%87\" title=\"เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ทุ่งใหญ่นเรศวร</sub></sup></span></a><sup><sub>ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าสงวน สร้างกระแสไม่พอใจในหมู่นิสิต</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</sub></sup></span></a><sup><sub>และประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นปลายเดือน</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1\" title=\"พฤษภาคม\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>พฤษภาคม</sub></sup></span></a><sup><sub>และต้นเดือน</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99\" title=\"มิถุนายน\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>มิถุนายน</sub></sup></span></a><sup><sub> นิสิตนักศึกษากลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติฯ 4 มหาวิทยาลัยได้ออกหนังสือชื่อ <i>บันทึกลับจากทุ่งใหญ่</i></sub></sup><a href=\"#cite_note-0\"><span style=\"color: #0645ad; font-size: x-small\"><sup><sub>[1]</sub></sup></span></a><sup><sub> เปิดโปงเกี่ยวกับกรณีนี้ ผลการตอบรับออกมาดีมาก จนขยายผลโดยนักศึกษา</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%87\" title=\"มหาวิทยาลัยรามคำแหง\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>มหาวิทยาลัยรามคำแหง</sub></sup></span></a><sup><sub>กลุ่มหนึ่งออกหนังสือชื่อ <i>มหาวิทยาลัยที่ไม่มีคำตอบ</i> เป็นผลให้ ดร.</sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C_%E0%B8%9C%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ศักดิ์ ผาสุขนิรันดร์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>ศักดิ์ ผาสุขนิรันดร์</sub></sup></span></a><sup><sub> อธิการบดีสั่งลบชื่อนักศึกษาแกนนำ 9 คนออก ซึ่งทำให้เกิดการประท้วงจนนำไปสู่การชุมนุมในวันที่ 21 และ 22 </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99\" title=\"มิถุนายน\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>มิถุนายน</sub></sup></span></a><sup><sub> ที่</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2\" title=\"อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย</sub></sup></span></a><sup><sub> ท้ายสุด ดร.ศักดิ์ ต้องยอมคืนสถานะนักศึกษาทั้ง 9 คน และดร.ศักดิ์ ก็ได้ลาออกไปเพื่อแสดงความรับผิดชอบ </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub><img height=\"137\" width=\"190\" src=\"/files/u12894/190PX-_2.jpg\" align=\"top\" border=\"0\" /><img height=\"109\" width=\"190\" src=\"/files/u12894/190PX-_1.jpg\" border=\"0\" /> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub><span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B9.80.E0.B8.A3.E0.B8.B4.E0.B9.88.E0.B8.A1.E0.B8.95.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.95.E0.B8.B8.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.93.E0.B9.8C\">เริ่มต้นเหตุการณ์</span> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/wiki/6_%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1\" title=\"6 ตุลาคม\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>6 ตุลาคม</sub></sup></span></a><sup><sub> มีบุคคลร่วมลงชื่อ 100 คน เพื่อเรียกร้องขอรัฐธรรมนูญ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลหลากหลายอาชีพ หลายวงการ เช่น นักวิชาการ นักการเมือง นักคิด นักเขียน นิสิต นักศึกษา เป็นต้น จากนั้น บุคคลเหล่านี้ราว 20 คน นำโดย นาย</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98_%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%A1%E0%B8%B5\" title=\"ธีรยุทธ บุญมี\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ธีรยุทธ บุญมี</sub></sup></span></a><sup><sub> ได้เดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญตามสถานที่ต่าง ๆ ใน</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3\" title=\"กรุงเทพมหานคร\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>กรุงเทพฯ</sub></sup></span></a><sup><sub> เช่น </sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ประตูน้ำ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>ประตูน้ำ</sub></sup></span></a><sup><sub>, </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"สยามสแควร์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>สยามสแควร์</sub></sup></span></a><sup><sub>, </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4\" title=\"อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ</sub></sup></span></a><sup><sub> โดยอ้างถึงใจความในพระราชหัตถ์เลขาของ</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_7\" title=\"รัชกาลที่ 7\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>รัชกาลที่ 7</sub></sup></span></a><sup><sub> ที่ส่งถึงรัฐบาลถึงสาเหตุที่ทรงสละราชสมบัติ แต่ทาง</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88\" title=\"ตำรวจ\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ตำรวจ</sub></sup></span></a><sup><sub>นครบาลจับได้เพียง 11 คน และจับขังทั้ง 11 คนนี้ไว้ที่</sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"โรงเรียนตำรวจนครบาลบางเขน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>โรงเรียนตำรวจนครบาลบางเขน</sub></sup></span></a><sup><sub>และนำไปขังต่อที่</sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เรือนจำกลางบางเขน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>เรือนจำกลางบางเขน</sub></sup></span></a><sup><sub> พร้อมตั้งข้อหาร้ายแรงว่า เป็นการกระทำอันเป็น</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B9%8C\" title=\"คอมมิวนิสต์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>คอมมิวนิสต์</sub></sup></span></a><sup><sub> โดยห้ามเยี่ยม ห้ามประกันเด็ดขาด จากนั้นจึงได้มีการประกาศจับ นาย</sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4_%E0%B8%84%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ก้องเกียรติ คงคา (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>ก้องเกียรติ คงคา</sub></sup></span></a><sup><sub> นักศึกษา</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%87\" title=\"มหาวิทยาลัยรามคำแหง\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>มหาวิทยาลัยรามคำแหง</sub></sup></span></a><sup><sub> และตามจับ นาย</sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87_%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%AA&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ไขแสง สุกใส (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>ไขแสง สุกใส</sub></sup></span></a><sup><sub> อดีต ส.ส.</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%88.%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%A1\" title=\"จ.นครพนม\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>จ.นครพนม</sub></sup></span></a><sup><sub> ขึ้นอีก รวมทั้งหมดเป็น 13 คน โดยกล่าวหาว่า นายไขแสงเป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังการแจกใบปลิวครั้งนี้ ซึ่งบุคคลทั้ง 13 นี้ ได้ถูกเรียกขานว่าเป็น &quot;13 ขบถรัฐธรรมนูญ&quot; ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้สร้างความไม่พอใจให้เกิดขึ้นครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนอย่างมาก จนนำไปสู่การชุมนุมใหญ่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งในขณะนั้นเป็นช่วงของการสอบกลางภาคด้วย แต่ทาง</sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"องค์กรนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>องค์กรนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</sub></sup></span></a><sup><sub> (อมธ.) ได้ประกาศและติดป้ายขนาดใหญ่ไว้ว่า &quot;งดสอบ&quot; พร้อมทั้งยื่นคำขาดให้ทางรัฐบาลปล่อยตัวทั้งหมดนี้ก่อนเที่ยง</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"วันเสาร์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>วันเสาร์</sub></sup></span></a><sup><sub>ที่ </sub></sup><a href=\"/wiki/13_%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1\" title=\"13 ตุลาคม\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>13 ตุลาคม</sub></sup></span></a><sup><sub> แต่เมื่อถึงเวลาแล้วรัฐบาลก็หาได้ยอมกระทำไม่ </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub><span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.88.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.88.E0.B8.A5\">การจลาจล</span> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>การเดินขบวนครั้งใหญ่จึงเริ่มต้นที่</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</sub></sup></span></a><sup><sub> เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ออกไปตาม</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99\" title=\"ถนนราชดำเนิน\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ถนนราชดำเนิน</sub></sup></span></a><sup><sub> สู่</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"ลานพระบรมรูปทรงม้า\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ลานพระบรมรูปทรงม้า</sub></sup></span></a><sup><sub> โดยมีแกนนำเป็นนักศึกษาและมีประชาชนเข้าร่วมด้วยจำนวนมาก (คาดการกันว่ามีราว 500,000 คน) แกนนำนักศึกษาได้เข้าพบเจรจากับรัฐบาลและบางส่วนได้เข้าเฝ้า ฯ จนได้ข้อยุติเพียงพอที่จะสลายตัว แต่ทว่าด้วยอุปสรรคทางการสื่อสารและมวลชนที่มีอยู่เป็นจำนวนมากไม่อาจควบคุมดูแลได้หมด ก็นำไปสู่การนองเลือดในเช้าตรู่ของ</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C\" title=\"วันอาทิตย์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>วันอาทิตย์</sub></sup></span></a><sup><sub>ที่ </sub></sup><a href=\"/wiki/14_%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1\" title=\"14 ตุลาคม\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>14 ตุลาคม</sub></sup></span></a><sup><sub> เมื่อเกิดการปะทะระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชนที่บริเวณหน้า</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99\" title=\"พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน</sub></sup></span></a><sup><sub> ด้าน</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%96%E0%B8%B5_(%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3)\" title=\"ถนนราชวิถี (กรุงเทพมหานคร)\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ถนนราชวิถี</sub></sup></span></a><sup><sub>ตัดกับ</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1_5\" title=\"ถนนพระราม 5\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ถนนพระราม 5</sub></sup></span></a><sup><sub> เมื่อกลุ่มผู้ชุมนุมจะสลายตัวกลับทางนั้น แต่ทางเจ้าหน้าที่ไม่ยอมให้ผ่าน จึงเกิดการปะทะกันจนกลายเป็นการจลาจล และลุกลามไปยังสนามหลวง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และถนนราชดำเนิน ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เวลาบ่าย พบเฮลิคอปเตอร์ลำหนึ่งบินวนอยู่เหนือเหตุการณ์และมีการยิงปืนลงมาจากเฮลิคอปเตอร์ลำนั้นเพื่อสลายการชุมนุม โดยผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ยืนยันว่าบุคคลที่ยิงปืนลงมานั้นคือ พ.อ.</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%93%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C_%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B8%88%E0%B8%A3\" title=\"ณรงค์ กิตติขจร\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ณรงค์ กิตติขจร</sub></sup></span></a><sup><sub> </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>ต่อมาในเวลาหัวค่ำ </sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย</sub></sup></span></a><sup><sub>ประกาศว่า จอมพลถนอม ได้ลาออกจากตำแหน่งแล้ว และมีพระบรมราชโองการโปรดแต่งตั้ง นาย</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2_%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C\" title=\"สัญญา ธรรมศักดิ์\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>สัญญา ธรรมศักดิ์</sub></sup></span></a><sup><sub> อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7\" title=\"พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว</sub></sup></span></a><sup><sub> และ </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B5\" title=\"สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี</sub></sup></span></a><sup><sub> ทรงมีพระราชดำรัสแถลงออกโทรทัศน์ด้วยพระองค์เอง แต่ทว่าเหตุการณ์ยังไม่สงบโดยกลุ่มทหารได้เปิดฉากยิงเข้าใส่นักศึกษาและประชาชนอีกครั้งหลังจากพระราชดำรัสทางโทรทัศน์เพียงหนึ่งชั่วโมงเมื่อนักศึกษาพยายามพุ่งรถบัสที่ไม่มีคนขับเข้าใส่สถานีตำรวจ ที่อนุเสาวรีย์ประชาธิปไตยเนื่องจากผู้ชุมนุมนับพันยังไม่วางใจในสถานการณ์ได้มีการประกาศท้าทาย</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81\" title=\"กฎอัยการศึก\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>กฎอัยการศึก</sub></sup></span></a><sup><sub>ในเวลา 22.00 น. และ ประกาศว่าจะอยู่ที่อนุเสาวรีย์ประชาธิปไตยทั้งคืนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้ถูกหลอกอีกครั้ง ซึ่งในตอนหัวค่ำวันที่ 15 ได้มีประกาศว่า จอมพลถนอม จอมพลประภาส และ พ.อ.</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%93%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C_%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B8%88%E0%B8%A3\" title=\"ณรงค์ กิตติขจร\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ณรงค์</sub></sup></span></a><sup><sub> ได้เดินทางออกนอกประเทศแล้ว เหตุการณ์จึงค่อยสงบลง และวันที่ </sub></sup><a href=\"/wiki/16_%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1\" title=\"16 ตุลาคม\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>16 ตุลาคม</sub></sup></span></a><sup><sub> ผู้ชุมนุมและประชาชนต่างพากันช่วยทำความสะอาดพื้นถนนและสถานที่ต่าง ๆ ที่ได้รับความเสียหาย </sub></sup>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.95.E0.B8.B8.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.93.E0.B9.8C\"><sup><sub>หลังเหตุการณ์</sub></sup></span>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>ภายหลังเหตุการณ์นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ได้เสด็จเยี่ยมผู้ได้รับบาดเจ็บตามโรงพยาบาลต่าง ๆ และสำหรับผู้เสียชีวิตทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการพระราชทานเพลิงศพผู้เสียชีวิตที่ทิศเหนือ</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87\" title=\"ท้องสนามหลวง\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ท้องสนามหลวง</sub></sup></span></a><sup><sub>ด้วย และอัฐินำไปลอยอังคารด้วยเครื่องบินของ</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\" title=\"กองทัพอากาศไทย\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>กองทัพอากาศ</sub></sup></span></a><sup><sub>ที่ปาก</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2\" title=\"แม่น้ำเจ้าพระยา\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>แม่น้ำเจ้าพระยา</sub></sup></span></a><sup><sub> </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\" title=\"อ่าวไทย\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>อ่าวไทย</sub></sup></span></a>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>คณะรัฐมนตรี มีมติให้ก่อสร้าง </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99_14_%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2\" title=\"อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา</sub></sup></span></a><sup><sub> ขึ้นที่ </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A7\" title=\"สี่แยกคอกวัว\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>สี่แยกคอกวัว</sub></sup></span></a><sup><sub> </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%87\" title=\"ถนนราชดำเนินกลาง\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ถนนราชดำเนินกลาง</sub></sup></span></a><sup><sub> โดยกว่าจะผ่านกระบวนต่าง ๆ และสร้างจนแล้วเสร็จนั้น ต้องใช้เวลาถึง 28 ปี</sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>หลังจากเหตุการณ์ครั้งนี้ มีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประชาชนต่าง ๆ จากหลายภาคส่วน โดยไม่มีนักการเมืองร่วมอยู่ด้วยเลย และใช้</sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%95%E0%B8%A4%E0%B8%93%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ราชตฤณมัยสมาคม (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>สนามม้านางเลิ้ง</sub></sup></span></a><sup><sub>เป็นสถานที่ร่าง โดยเรียกกันว่า &quot;สภาสนามม้า&quot; จนนำไปสู่</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87\" title=\"การเลือกตั้ง\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>การเลือกตั้ง</sub></sup></span></a><sup><sub>ในต้นปี </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2518\" title=\"พ.ศ. 2518\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>พ.ศ. 2518</sub></sup></span></a><sup><sub> ซึ่งในช่วงระยะเวลานั้น มีคำเรียกว่าเป็นยุค &quot;ฟ้าสีทองผ่องอำไพ&quot; แต่ทว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ ในประเทศยังไม่สงบ มีการเรียกร้องและเดินขบวนของกลุ่มชนชั้นต่าง ๆ ในสังคม ประกอบกับสถานการณ์ความมั่นคงในประเทศรอบด้าน แม้รัฐบาลชุดใหม่ที่มาจากการเลือกตั้งก็ไม่มีเสถียรภาพเพียงพอที่จะแก้ไขสถานการณ์ได้ จนนำไปสู่เหตุนองเลือดอีกครั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อปี </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2519\" title=\"พ.ศ. 2519\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>พ.ศ. 2519</sub></sup></span></a><sup><sub> คือ </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C_6_%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2\" title=\"เหตุการณ์ 6 ตุลา\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>เหตุการณ์ 6 ตุลา</sub></sup></span></a>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>นอกจากนี้แล้วเหตุการณ์ 14 ตุลา นับเป็น</sub></sup><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%AE%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"การลุกฮือของประชาชน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\"><sup><sub>การลุกฮือของประชาชน</sub></sup></span></a><sup><sub> (People\'s uprising) ครั้งแรกที่ประสบความสำเร็จใน</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%A8%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_20\" title=\"คริสต์ศตวรรษที่ 20\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>ยุคศตวรรษที่ 20</sub></sup></span></a><sup><sub> และยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ </sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%95%E0%B9%89\" title=\"เกาหลีใต้\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>เกาหลีใต้</sub></sup></span></a><sup><sub>ใน</sub></sup><a href=\"/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%88%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B9\" title=\"เหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู\"><span style=\"color: #0645ad\"><sup><sub>เหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู</sub></sup></span></a><sup><sub> เป็นต้น</sub></sup>\n</p>\n<p>\n<sup><sub>พ.ศ. 2546 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเอกฉันท์กำหนดให้วันที่ 14 ตุลาคมของทุกปีเป็น &quot;วันประชาธิปไตย&quot; เป็นวันสำคัญของชาติ ในโอกาสครบรอบเหตุการณ์ 30 ปี</sub></sup>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715453766, expire = 1715540166, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:98c7b194c0e53229e0292444869ff6b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 หรือ วันมหาวิปโยค

รายงาน

เรื่อง   เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 หรือ วันมหาวิปโยค

 เสนอ

อาจารย์ วัชรี กมลเสรีรัตน์

จัดทำโดย

1.นาย    ธนัฐพล       ปุยอรุณ       ม.5/3     เลขที่ 3

2.นาย    กฤษฎา       รุ่งเรือง        ม.5/3     เลขที่ 6

3.นาย    ณัฐวุฒิ        สุขรำมิ        ม.5/3     เลขที่ 15

4.นาย    ชาติชาย      สุคนธ์ผ่อง   ม.5/3     เลขที่ 19

5.นาย    ณัฐพงศ์      ช้างจันทร์    ม.5/3     เลขที่ 20


 คำนำ

รายงานส่วนนี้เป็นรายงานส่วนหนึ่งของวิชาประวัติสตร์ จัดทำขึ้นเพื่อให้นักเรียนคนอื่นๆที่ยังไม่ได้อ่านเข้ามาอ่านและศึกษาหาความรู้ โดยเนื้อหาที่จัดขึ้นแล้วได้ทำขึ้นหัวเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 หรือ วันมหาวิปโยค โดยมีเนื้อหาเรื่องย่อย ถ้าหากรายงานเล่มนี้ผิดประการใด ก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย


เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์ที่นักศึกษาและประชาชนในประเทศไทย มากกว่า 5 แสนคน ได้รวมตัวกันเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการ จอมพลถนอม กิตติขจร โดยในเหตุการณ์นี้มีผู้เสียชีวิต 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก

สาเหตุ

เหตุการณ์เริ่มมาจากการที่จอมพลถนอม กิตติขจร ทำการรัฐประหารตัวเองในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 โดยนักศึกษาและประชาชนมองว่าเป็นการสืบทอดอำนาจตนเองจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งในขณะนั้นจอมพลถนอมจะต้องเกษียณอายุราชการเนื่องจากอายุครบ 60 ปี อีกทั้งจอมพลประภาส จารุเสถียร บุคคลสำคัญในรัฐบาล ก็มิได้รับการยอมรับเหมือนจอมพลถนอม แต่กลับต่ออายุราชการให้ตนเอง ประกอบกับข่าวคราวเรื่องทุจริตคอร์รัปชั่นในวงราชการต่าง ๆ สร้างความไม่พอใจอย่างมากแก่ประชาชน

29 เมษายน พ.ศ. 2516 เฮลิคอปเตอร์ทหารหมายเลข ทบ.6102 เกิดอุบัติเหตุตกที่ อ.บางเลน จ.นครปฐม มีดาราหญิงชื่อดังในขณะนั้นคือ เมตตา รุ่งรัตน์ โดยสารไปด้วย มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 6 คน ในซากเฮลิคอปเตอร์นั้นพบซากสัตว์เป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นซากกระทิง ที่ทางผู้ที่ใช้ล่ามาจากทุ่งใหญ่นเรศวรซึ่งเป็นพื้นที่ป่าสงวน สร้างกระแสไม่พอใจในหมู่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นปลายเดือนพฤษภาคมและต้นเดือนมิถุนายน นิสิตนักศึกษากลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติฯ 4 มหาวิทยาลัยได้ออกหนังสือชื่อ บันทึกลับจากทุ่งใหญ่[1] เปิดโปงเกี่ยวกับกรณีนี้ ผลการตอบรับออกมาดีมาก จนขยายผลโดยนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหงกลุ่มหนึ่งออกหนังสือชื่อ มหาวิทยาลัยที่ไม่มีคำตอบ เป็นผลให้ ดร.ศักดิ์ ผาสุขนิรันดร์ อธิการบดีสั่งลบชื่อนักศึกษาแกนนำ 9 คนออก ซึ่งทำให้เกิดการประท้วงจนนำไปสู่การชุมนุมในวันที่ 21 และ 22 มิถุนายน ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ท้ายสุด ดร.ศักดิ์ ต้องยอมคืนสถานะนักศึกษาทั้ง 9 คน และดร.ศักดิ์ ก็ได้ลาออกไปเพื่อแสดงความรับผิดชอบ

เริ่มต้นเหตุการณ์

6 ตุลาคม มีบุคคลร่วมลงชื่อ 100 คน เพื่อเรียกร้องขอรัฐธรรมนูญ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลหลากหลายอาชีพ หลายวงการ เช่น นักวิชาการ นักการเมือง นักคิด นักเขียน นิสิต นักศึกษา เป็นต้น จากนั้น บุคคลเหล่านี้ราว 20 คน นำโดย นายธีรยุทธ บุญมี ได้เดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญตามสถานที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เช่น ประตูน้ำ, สยามสแควร์, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยอ้างถึงใจความในพระราชหัตถ์เลขาของรัชกาลที่ 7 ที่ส่งถึงรัฐบาลถึงสาเหตุที่ทรงสละราชสมบัติ แต่ทางตำรวจนครบาลจับได้เพียง 11 คน และจับขังทั้ง 11 คนนี้ไว้ที่โรงเรียนตำรวจนครบาลบางเขนและนำไปขังต่อที่เรือนจำกลางบางเขน พร้อมตั้งข้อหาร้ายแรงว่า เป็นการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ โดยห้ามเยี่ยม ห้ามประกันเด็ดขาด จากนั้นจึงได้มีการประกาศจับ นายก้องเกียรติ คงคา นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง และตามจับ นายไขแสง สุกใส อดีต ส.ส.จ.นครพนม ขึ้นอีก รวมทั้งหมดเป็น 13 คน โดยกล่าวหาว่า นายไขแสงเป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังการแจกใบปลิวครั้งนี้ ซึ่งบุคคลทั้ง 13 นี้ ได้ถูกเรียกขานว่าเป็น "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้สร้างความไม่พอใจให้เกิดขึ้นครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนอย่างมาก จนนำไปสู่การชุมนุมใหญ่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งในขณะนั้นเป็นช่วงของการสอบกลางภาคด้วย แต่ทางองค์กรนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อมธ.) ได้ประกาศและติดป้ายขนาดใหญ่ไว้ว่า "งดสอบ" พร้อมทั้งยื่นคำขาดให้ทางรัฐบาลปล่อยตัวทั้งหมดนี้ก่อนเที่ยงวันเสาร์ที่ 13 ตุลาคม แต่เมื่อถึงเวลาแล้วรัฐบาลก็หาได้ยอมกระทำไม่

การจลาจล

การเดินขบวนครั้งใหญ่จึงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ออกไปตามถนนราชดำเนิน สู่ลานพระบรมรูปทรงม้า โดยมีแกนนำเป็นนักศึกษาและมีประชาชนเข้าร่วมด้วยจำนวนมาก (คาดการกันว่ามีราว 500,000 คน) แกนนำนักศึกษาได้เข้าพบเจรจากับรัฐบาลและบางส่วนได้เข้าเฝ้า ฯ จนได้ข้อยุติเพียงพอที่จะสลายตัว แต่ทว่าด้วยอุปสรรคทางการสื่อสารและมวลชนที่มีอยู่เป็นจำนวนมากไม่อาจควบคุมดูแลได้หมด ก็นำไปสู่การนองเลือดในเช้าตรู่ของวันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม เมื่อเกิดการปะทะระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชนที่บริเวณหน้าพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ด้านถนนราชวิถีตัดกับถนนพระราม 5 เมื่อกลุ่มผู้ชุมนุมจะสลายตัวกลับทางนั้น แต่ทางเจ้าหน้าที่ไม่ยอมให้ผ่าน จึงเกิดการปะทะกันจนกลายเป็นการจลาจล และลุกลามไปยังสนามหลวง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และถนนราชดำเนิน ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เวลาบ่าย พบเฮลิคอปเตอร์ลำหนึ่งบินวนอยู่เหนือเหตุการณ์และมีการยิงปืนลงมาจากเฮลิคอปเตอร์ลำนั้นเพื่อสลายการชุมนุม โดยผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ยืนยันว่าบุคคลที่ยิงปืนลงมานั้นคือ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร

ต่อมาในเวลาหัวค่ำ วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยประกาศว่า จอมพลถนอม ได้ลาออกจากตำแหน่งแล้ว และมีพระบรมราชโองการโปรดแต่งตั้ง นายสัญญา ธรรมศักดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมีพระราชดำรัสแถลงออกโทรทัศน์ด้วยพระองค์เอง แต่ทว่าเหตุการณ์ยังไม่สงบโดยกลุ่มทหารได้เปิดฉากยิงเข้าใส่นักศึกษาและประชาชนอีกครั้งหลังจากพระราชดำรัสทางโทรทัศน์เพียงหนึ่งชั่วโมงเมื่อนักศึกษาพยายามพุ่งรถบัสที่ไม่มีคนขับเข้าใส่สถานีตำรวจ ที่อนุเสาวรีย์ประชาธิปไตยเนื่องจากผู้ชุมนุมนับพันยังไม่วางใจในสถานการณ์ได้มีการประกาศท้าทายกฎอัยการศึกในเวลา 22.00 น. และ ประกาศว่าจะอยู่ที่อนุเสาวรีย์ประชาธิปไตยทั้งคืนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้ถูกหลอกอีกครั้ง ซึ่งในตอนหัวค่ำวันที่ 15 ได้มีประกาศว่า จอมพลถนอม จอมพลประภาส และ พ.อ.ณรงค์ ได้เดินทางออกนอกประเทศแล้ว เหตุการณ์จึงค่อยสงบลง และวันที่ 16 ตุลาคม ผู้ชุมนุมและประชาชนต่างพากันช่วยทำความสะอาดพื้นถนนและสถานที่ต่าง ๆ ที่ได้รับความเสียหาย

หลังเหตุการณ์

ภายหลังเหตุการณ์นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ได้เสด็จเยี่ยมผู้ได้รับบาดเจ็บตามโรงพยาบาลต่าง ๆ และสำหรับผู้เสียชีวิตทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการพระราชทานเพลิงศพผู้เสียชีวิตที่ทิศเหนือท้องสนามหลวงด้วย และอัฐินำไปลอยอังคารด้วยเครื่องบินของกองทัพอากาศที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา อ่าวไทย

คณะรัฐมนตรี มีมติให้ก่อสร้าง อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา ขึ้นที่ สี่แยกคอกวัว ถนนราชดำเนินกลาง โดยกว่าจะผ่านกระบวนต่าง ๆ และสร้างจนแล้วเสร็จนั้น ต้องใช้เวลาถึง 28 ปี

หลังจากเหตุการณ์ครั้งนี้ มีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประชาชนต่าง ๆ จากหลายภาคส่วน โดยไม่มีนักการเมืองร่วมอยู่ด้วยเลย และใช้สนามม้านางเลิ้งเป็นสถานที่ร่าง โดยเรียกกันว่า "สภาสนามม้า" จนนำไปสู่การเลือกตั้งในต้นปี พ.ศ. 2518 ซึ่งในช่วงระยะเวลานั้น มีคำเรียกว่าเป็นยุค "ฟ้าสีทองผ่องอำไพ" แต่ทว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ ในประเทศยังไม่สงบ มีการเรียกร้องและเดินขบวนของกลุ่มชนชั้นต่าง ๆ ในสังคม ประกอบกับสถานการณ์ความมั่นคงในประเทศรอบด้าน แม้รัฐบาลชุดใหม่ที่มาจากการเลือกตั้งก็ไม่มีเสถียรภาพเพียงพอที่จะแก้ไขสถานการณ์ได้ จนนำไปสู่เหตุนองเลือดอีกครั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อปี พ.ศ. 2519 คือ เหตุการณ์ 6 ตุลา

นอกจากนี้แล้วเหตุการณ์ 14 ตุลา นับเป็นการลุกฮือของประชาชน (People's uprising) ครั้งแรกที่ประสบความสำเร็จในยุคศตวรรษที่ 20 และยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้น

พ.ศ. 2546 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเอกฉันท์กำหนดให้วันที่ 14 ตุลาคมของทุกปีเป็น "วันประชาธิปไตย" เป็นวันสำคัญของชาติ ในโอกาสครบรอบเหตุการณ์ 30 ปี

สร้างโดย: 
sila15843

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 315 คน กำลังออนไลน์