• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:931bfc6d0da90658a26218200f9f54eb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #800080\">หลักการใช้ น - ณ <br />\n1. น มีหลักการใช้ดังนี้<br />\n1. ใช้เขียนคำไทยแท้ทั่วไป เช่น หนูนี้นั่งนึกหน้าน้องนิดหน่อยแน่นอน นกน้อยนอนแนบน้ำในนา เป็นต้น <br />\n2. ใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ซึ่งใช้ น มาแต่เดิม เช่น ชนนี สามานย์ หัสดิน นิล นิทาน นมัสการ นิสัย นัยนา เป็นต้น <br />\n3. ใช้เขียนคำภาษาบาลี สันสกฤต ใช้ น เป็นตัวสะกด เมื่อมีพยัญชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) เป็นตัวตาม เช่น คฤนถ์ ดนตรี สนทนา สินธพ อรินทร์ เป็นต้น <br />\n4. ใช้ตามหลัง ฤ ร ษ เมื่อไม่มีเสียงสระ และใช้เป็นตัวสะกด เช่น ปักษิน (นก) กริน(ช้าง) พฤนท์(กอง,หมู่) เป็นต้น <br />\n5. ใช้กับภาษาต่างประเทศอื่นๆ นอกเหนือจากภาษาบาลีสันสกฤต เช่น ไนโตรเจน หุ้น คอนกรีต กะปิตัน พนม กานพลู ปิ่นโต บรั่นดี ถนน ญี่ปุ่น นีออน ไนล่อน ปอนด์ เป็นต้น<br />\n2. ณ มีหลักการใช้ดังนี้<br />\n1. ใช้เขียนคำไทย เช่น ณ (ใน) ฯพณฯ (พณหัวเจ้าท่าน) <br />\n2. ใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ซึ่งใช้ ณ มาแต่เดิม เช่น กัญหา ขณะ คณะ จัณฑาล มาณพ มณี มณฑล ญาณ วัณโรค สามเณร เป็นต้น <br />\n3. ใช้เขียนเสียง &quot;น&quot; ซึ่งเป็นคำเรียงพยางค์อยู่หลัง ฤ ร ษ ในคำที่มาจากภาษาสันสกฤต เช่น กรณี กฤษณา เกษียณ กระษาปณ์ โฆษณา ตฤณ ทักษิณา นารายณ์ บริเวณ ปริณายก ประเพณี ปริมาณ ประมาณ ประณีต พราหมณ์ ภิกษุณี เลขานุการิณี เอราวัณ ยกเว้น ถ้าเสียง &quot;นอ&quot; ใช้ &quot;น&quot; เช่น ปักษิน กริน อรินทร์ พฤนท์ <br />\n4. ใช้เขียนคำภาษาบาลี สันสกฤต ใช้ ณ เป็นตัวสะกด เมื่อมีพยัญชนะวรรค ฏะ ( ฏ ฐ ฑ ฒ ณ) เป็นตัวตาม เช่น วัณฏ์ (ขั่ว) กัณฐ์ กรณฑ์ กัณณ์ (หู) <br />\nการเขียนคำโดยใช้ ณ  และ น  <br />\n ในภาษาไทยมีรูปพยัญชนะ ณ และ น เป็นพยัญชนะที่เป็นเสียงเดียวกัน แต่เนื่องจาก ณ<br />\nเป็นพยัญชนะเดิมจึงใช้เขียนคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ส่วน น<br />\nเป็นพยัญชนะกลางจึงใช้เขียนคำในภาษาไทยและภาษาอื่นๆ ทั่วไป<br />\n5.1. การใช้ ณ<br />\n    5.1.1 ใช้เขียนคำภาษาบาลีสันสกฤตโดยทั่วๆไปทั้งที่เป็นพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด เช่น ล<br />\n    พยัญชนะต้น      –  คณิกา          คเณศ          คณะ          ธนาณัติ<br />\n                                  ปณิธาน          พานิช          พาณิชย์          พาณี<br />\n    พยัญชนะสะกด   –   กัณหา          กสิณ          คำนวณ          ญาณ<br />\n                                  บัณเฑาะ          บิณฑบาต      ปฎิภาณ<br />\n                              ปัจเวกขณ์          ทักษิณ<br />\n    5.1.2 ใช้ ณ ตามหลัง ร ฤ ษ เมื่อ ณ มีรูปสระ หรือเสียงสระกำกับ  ดังนี้<br />\n         ณ  ตามหลัง  ร  เช่น<br />\n        กรณี          การณ์          กรุณา<br />\n        กรรณิการณ์      ทัศนูปกรณ์      แถลงการณ์<br />\n        ธรณี          บรรณสาร      บูรณะ<br />\n        ปฎิสังขรณ์      พิจารณา          พยากรณ์<br />\n        พอรุณ          มรณะ          มหรรณพ<br />\n        วรรณะ          วารุณี          วิจารณ์<br />\n        ณ  ตามหลัง ฤ เช่น<br />\n        ตฤณมัย           ตฤณชาติ<br />\n        ณ  ตามหลัง ษ  เช่น<br />\n        กฤษณา          โฆษณา  ดุษณี<br />\n        ดำฤษณา          ตฤษณา<br />\n    5.1.3 ใช้ ณ ตามหลัง ร ฤ ษ ในกรณีที่มีสระและพยัญชนะวรรค กะ วรรค ปะ ย ว ห คั่นอยุ่ เช่น<br />\n        กษาปณ์          เกษียณ          จักรปาณี<br />\n        ตรีโกณ           นารายณ์          บริเวณ<br />\n        บริคณห์          ปริมาณ          ปารณี<br />\n        พราหมณ์      พราหมณี      มหาภิเนษกรมณ์<br />\n        เอราวัณ           อารมณ์<br />\n1.4 แม้ว่าคำเดิมจะใช้ น แต่ถ้านำคำนั้นมาประกอบคำใหม่ตามหลัง ร ก็ต้องเปลี่ยนมาใช้ ณ เช่น<br />\n    ปริ + นายก – ปรินายก<br />\n    ประ + หาน – ประหาณ<br />\n    ประ + มาน – ประณาม<br />\n    ประ + มาน – ประมาณ<br />\nประ + นม – ประณม<br />\n5.2. การใช้ น<br />\n    5.2.1 การเขียนคำในภาษาไทยทั้งที่ใช้เป็นพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด เช่น<br />\n        นาก          นอน          นิ่ง<br />\n        นิ่ม          เนย          แน่น<br />\n        โน่น          นอน          แนบ<br />\n        โยน          ร้อน          ลน<br />\n        วาน          สอน          หอน<br />\n    5.2.2 ใช้เขียนคำภาษาบาลาสันสกฤตตามลักษณะเดิม เช่น<br />\n        กฐิน          กนก          กันดาร<br />\n        ขันธ์          ขินติ          คมนาคม<br />\n        คัดนา          คิมหันต์          จันทร์<br />\n        ฉัททันต์          ชนม์          ชนินทร์<br />\n        ฐาน          เดรัจฉาน      ทัศนาจร<br />\n        นวรัตน์          เทศนา          ปนัดดา<br />\n        ปัจจุบัน          ไพชยนต์      อจินไตย<br />\n    5.2.3 ใช้ตามหลัง  ร ฤ ษ  เมื่อทำหน้าที่เป็นพยัญชนะสะกด  เช่น<br />\n        กริน          คฤนถ์          ปักษิน          คฤนท์<br />\n    5.2.4 ใช้เขียนคำภาษาต่างประเทศอื่นๆที่ไม่ใช่ภาษาสันสกฤต เช่น<br />\n        น้อยหน่า          ปั้นเหน่ง          รำมะนา          กระยาหงัน<br />\n        ระเด่น          กำนัน          ตานี          กานพลู <br />\n        เขนย          จังหัน          ระเบียน          กำเนิด   <br />\n        ปสาน          สนม          ส่าน          ขันที<br />\nหญ้าฝรั่น      กิโมโน          ตะบัน          กำปั่น<br />\n        กัปตัน          แกรนิต          คลอรีน          ชิมแปนซี<br />\n        ซีเมนต์          เซ็น          เซนติเมตร      เซียน<br />\n        แซ็กคาริน      ไซเรน          ไซยาไนด์      ไดนาโม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">                                                                                                              <a href=\"/node/86281\"><img height=\"109\" width=\"159\" src=\"/files/u40670/hnhn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 143px; height: 75px\" /></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n', created = 1728184909, expire = 1728271309, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:931bfc6d0da90658a26218200f9f54eb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักการใช้ น - ณ

หลักการใช้ น - ณ
1. น มีหลักการใช้ดังนี้
1. ใช้เขียนคำไทยแท้ทั่วไป เช่น หนูนี้นั่งนึกหน้าน้องนิดหน่อยแน่นอน นกน้อยนอนแนบน้ำในนา เป็นต้น
2. ใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ซึ่งใช้ น มาแต่เดิม เช่น ชนนี สามานย์ หัสดิน นิล นิทาน นมัสการ นิสัย นัยนา เป็นต้น
3. ใช้เขียนคำภาษาบาลี สันสกฤต ใช้ น เป็นตัวสะกด เมื่อมีพยัญชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) เป็นตัวตาม เช่น คฤนถ์ ดนตรี สนทนา สินธพ อรินทร์ เป็นต้น
4. ใช้ตามหลัง ฤ ร ษ เมื่อไม่มีเสียงสระ และใช้เป็นตัวสะกด เช่น ปักษิน (นก) กริน(ช้าง) พฤนท์(กอง,หมู่) เป็นต้น
5. ใช้กับภาษาต่างประเทศอื่นๆ นอกเหนือจากภาษาบาลีสันสกฤต เช่น ไนโตรเจน หุ้น คอนกรีต กะปิตัน พนม กานพลู ปิ่นโต บรั่นดี ถนน ญี่ปุ่น นีออน ไนล่อน ปอนด์ เป็นต้น
2. ณ มีหลักการใช้ดังนี้
1. ใช้เขียนคำไทย เช่น ณ (ใน) ฯพณฯ (พณหัวเจ้าท่าน)
2. ใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ซึ่งใช้ ณ มาแต่เดิม เช่น กัญหา ขณะ คณะ จัณฑาล มาณพ มณี มณฑล ญาณ วัณโรค สามเณร เป็นต้น
3. ใช้เขียนเสียง "น" ซึ่งเป็นคำเรียงพยางค์อยู่หลัง ฤ ร ษ ในคำที่มาจากภาษาสันสกฤต เช่น กรณี กฤษณา เกษียณ กระษาปณ์ โฆษณา ตฤณ ทักษิณา นารายณ์ บริเวณ ปริณายก ประเพณี ปริมาณ ประมาณ ประณีต พราหมณ์ ภิกษุณี เลขานุการิณี เอราวัณ ยกเว้น ถ้าเสียง "นอ" ใช้ "น" เช่น ปักษิน กริน อรินทร์ พฤนท์
4. ใช้เขียนคำภาษาบาลี สันสกฤต ใช้ ณ เป็นตัวสะกด เมื่อมีพยัญชนะวรรค ฏะ ( ฏ ฐ ฑ ฒ ณ) เป็นตัวตาม เช่น วัณฏ์ (ขั่ว) กัณฐ์ กรณฑ์ กัณณ์ (หู)
การเขียนคำโดยใช้ ณ  และ น 
 ในภาษาไทยมีรูปพยัญชนะ ณ และ น เป็นพยัญชนะที่เป็นเสียงเดียวกัน แต่เนื่องจาก ณ
เป็นพยัญชนะเดิมจึงใช้เขียนคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ส่วน น
เป็นพยัญชนะกลางจึงใช้เขียนคำในภาษาไทยและภาษาอื่นๆ ทั่วไป
5.1. การใช้ ณ
    5.1.1 ใช้เขียนคำภาษาบาลีสันสกฤตโดยทั่วๆไปทั้งที่เป็นพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด เช่น ล
    พยัญชนะต้น      –  คณิกา          คเณศ          คณะ          ธนาณัติ
                                  ปณิธาน          พานิช          พาณิชย์          พาณี
    พยัญชนะสะกด   –   กัณหา          กสิณ          คำนวณ          ญาณ
                                  บัณเฑาะ          บิณฑบาต      ปฎิภาณ
                              ปัจเวกขณ์          ทักษิณ
    5.1.2 ใช้ ณ ตามหลัง ร ฤ ษ เมื่อ ณ มีรูปสระ หรือเสียงสระกำกับ  ดังนี้
         ณ  ตามหลัง  ร  เช่น
        กรณี          การณ์          กรุณา
        กรรณิการณ์      ทัศนูปกรณ์      แถลงการณ์
        ธรณี          บรรณสาร      บูรณะ
        ปฎิสังขรณ์      พิจารณา          พยากรณ์
        พอรุณ          มรณะ          มหรรณพ
        วรรณะ          วารุณี          วิจารณ์
        ณ  ตามหลัง ฤ เช่น
        ตฤณมัย           ตฤณชาติ
        ณ  ตามหลัง ษ  เช่น
        กฤษณา          โฆษณา  ดุษณี
        ดำฤษณา          ตฤษณา
    5.1.3 ใช้ ณ ตามหลัง ร ฤ ษ ในกรณีที่มีสระและพยัญชนะวรรค กะ วรรค ปะ ย ว ห คั่นอยุ่ เช่น
        กษาปณ์          เกษียณ          จักรปาณี
        ตรีโกณ           นารายณ์          บริเวณ
        บริคณห์          ปริมาณ          ปารณี
        พราหมณ์      พราหมณี      มหาภิเนษกรมณ์
        เอราวัณ           อารมณ์
1.4 แม้ว่าคำเดิมจะใช้ น แต่ถ้านำคำนั้นมาประกอบคำใหม่ตามหลัง ร ก็ต้องเปลี่ยนมาใช้ ณ เช่น
    ปริ + นายก – ปรินายก
    ประ + หาน – ประหาณ
    ประ + มาน – ประณาม
    ประ + มาน – ประมาณ
ประ + นม – ประณม
5.2. การใช้ น
    5.2.1 การเขียนคำในภาษาไทยทั้งที่ใช้เป็นพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด เช่น
        นาก          นอน          นิ่ง
        นิ่ม          เนย          แน่น
        โน่น          นอน          แนบ
        โยน          ร้อน          ลน
        วาน          สอน          หอน
    5.2.2 ใช้เขียนคำภาษาบาลาสันสกฤตตามลักษณะเดิม เช่น
        กฐิน          กนก          กันดาร
        ขันธ์          ขินติ          คมนาคม
        คัดนา          คิมหันต์          จันทร์
        ฉัททันต์          ชนม์          ชนินทร์
        ฐาน          เดรัจฉาน      ทัศนาจร
        นวรัตน์          เทศนา          ปนัดดา
        ปัจจุบัน          ไพชยนต์      อจินไตย
    5.2.3 ใช้ตามหลัง  ร ฤ ษ  เมื่อทำหน้าที่เป็นพยัญชนะสะกด  เช่น
        กริน          คฤนถ์          ปักษิน          คฤนท์
    5.2.4 ใช้เขียนคำภาษาต่างประเทศอื่นๆที่ไม่ใช่ภาษาสันสกฤต เช่น
        น้อยหน่า          ปั้นเหน่ง          รำมะนา          กระยาหงัน
        ระเด่น          กำนัน          ตานี          กานพลู
        เขนย          จังหัน          ระเบียน          กำเนิด  
        ปสาน          สนม          ส่าน          ขันที
หญ้าฝรั่น      กิโมโน          ตะบัน          กำปั่น
        กัปตัน          แกรนิต          คลอรีน          ชิมแปนซี
        ซีเมนต์          เซ็น          เซนติเมตร      เซียน
        แซ็กคาริน      ไซเรน          ไซยาไนด์      ไดนาโม

                                                                                                             

สร้างโดย: 
ครูยุวดี เปาอินทร์ นางสาวอรนุช ชำนาญจิต

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 903 คน กำลังออนไลน์