• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2b8499027bd4559b0d2eedd573a2ac6f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #800080\">การใช้อักษรซ้ำ และอักษรซ้อน <br />\n1. อักษรซ้ำ คือ พยัญชนะตัวสะกดตัวตามในคำบาลีสันสกฤต ซึ่งเป็นตัวเดียวกัน มีหลักในการใช้ดังนี้ <br />\n1. ถ้าตัวหลังไม่มีสระกำกับ หรือไม่มีตัวสะกดให้ตัดออก เช่น กัปป์ = กัป, เขตต์ = เขต, จิตต์ = จิต, รัชชกาล = รัชกาล, สัญญประกาศ = สัญประกาศ <br />\n2. ถ้าตัวหลังมีสระกำกับ หรือมีตัวสะกดก็ให้คงรูปเดิม เช่น เมตตา = เมตตา, วักกะ = วักกะ, สัจจะ = สัจจะ, สัญญา = สัญญา, อัคคี = อัคคี <br />\n3. แม้ตัวหลังจะมีสระกำกับ หรือมีตัวสะกด ก็ให้ตัดออกตัวหนึ่ง เช่น นิสสัย = นิสัย, นิสสิต = นิสิต, ปฏิคคาหก = ปฏิคาหก, ยุตติธรรม = ยุติธรรม, วนิพพก = วนิพก, อนุสสรณ์ = อนุสรณ์<br />\n2. อักษรซ้อน คือ พยัญชนะตัวสะกดตัวตามในคำบาลีสันสกฤต ซึ่งมีพยัญชนะตัวตามอยู่แถวที่ถัดไปวรรคเดียวกันของตัวสะกด มีหลักการใช้ดังนี้<br />\n1. อักษรซ้อนวรรค ฏะ ในกรณีที่ตัวตามไม่มีสระกำกับ ให้ตัดตัวสะกดเดิมออก ใช้ตัวตามสะกดแทน เช่น รัฎฐ = รัฐ , วัฑฒ = วัฒ, อัฑฒ = อัฒ <br />\n2. อักษรซ้อนวรรค ในกรณีที่ตัวตามมีสระกำกับ (ยกเว้นสระ อิ) หรือมีตัวสะกด ก็ให้คงรูปเดิม เช่น กุฏฐัง = กุฏฐัง, รัฏฐาภิปาล = รัฏฐาภิปาล, อัฏฐะ = อัฏฐะ <br />\n3. อักษรซ้อน วรรค ฏะ ในกรณีที่ตัวตามประสมสระ &quot;อิ&quot; ให้ตัดตัวสะกดเดิมทิ้ง ใช้ตัวตามสะกดแทน เช่น ทิฏฐิ = ทิฐิ, วุฏฐิ = วุฐิ(ฝน), วุฑฒิ = วุฒิ, อัฏฐิ = อัฐ <br />\nคู่มือ-เตรียมสอบบรรจุเข้ารับราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป<br />\nอาจารย์ สุทิศ เชื่อมาก<br />\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน <br />\n1. .  มหัพภาค หรือจุด ใช้เขียนหลังจบข้อความในประโยค และกำกับตัวอักษรย่อ หรือใช้เขียนหลังตัวเลขหรือตัวอักษรที่บอกจำนวนข้อ เช่น 1. 2. 3. 4. ก. ข. ่ค. ง. พ.ศ. = พุทธศักราช, ค.ศ. = คริสตศักราช <br />\n2. ,  จุลภาค หรือ ลูกน้ำ ใช้เขียนคั่นคำหรือข้อความหรือจำนวนตัวเลขให้แยกจากกันในประโยค เช่น สัตว์เลี้ยงไว้ใช้งาน เช่น ช้าง, ม้า, วัว, ความ เป็นต้น   2,765, 3,745 (เป็นการใช้ตามแบบอังกฤษในภาษาไทยใช้วรรคแทน) <br />\n3. ;  อัฒภาคหรือจุดครึ่ง ใช้คั่นข้อความที่เสมอกัน หรือเป็นส่วนขยายของประโยคอื่น เกะกะ ว, กีด, ขวาง เช่น วางของเกะกะ ; ประพฤติเป็นพาลเกเร เช่น คนเกะกะ <br />\n4. ?  ปรัศนีย์ หรือเครื่องหมายคำถาม ใช้ประกอบท้ายคำถาม เช่น ไปไหนมา? ใครอยู่ในห้อง? (ไม่ค่อยใช้) <br />\n5. !  อัศเจรีย์ หรือ เครื่องหมายตกใจ ใช้ประกอบข้างหลังคำอุทาน ซึ่งแสดงความรู้สึกทางใจ เช่น ว๊าย! ตายแล้ว โอ้โฮ! แหม! <br />\n6. ( ) นขลิขิต หรือวงเล็บ ใช้คร่อมคำหรือข้อความที่ขยายใจความของคำหรือข้อความหน้า เช่น ท่าน-ผู้บังคับบัญชาของผม (ท่านอธิบดี) ก็เห็นด้วยกับผม <br />\n7. &quot; &quot; อัญประกาศ หรือเครื่องหมายคำพูดใช้กับคำพูด หรือข้อความที่ยกมาจากที่อื่น เช่น เขาพูดว่า &quot;ฉันจะสมัครสอบ&quot; หนังสือพิมพ์พาดหัวข่าว &quot;ด่วน&quot; ปฏิวัติเงียบ เสือพรานล้อมบ้านคึกฤทธิ์&quot; <br />\n8. -  ยติภังค์ หรือ ขีด ใช้เขียนท้ายพยางค์ของคำเพื่อแสดงว่าเป็นคำเดียวกับพยางค์เดียว หรือแสดงการติดต่อของคำ หรือพยางค์ที่แยกจากกัน เช่น เพ็ญพักตร์ผุดผ่องอา- ภาเปล่ง ปลั่งเอย <br />\n9. ๆ ไม้ยมก ใช้ซ้ำคำวลี หรือประโยค <br />\n10. ฯ  ไปยาลน้อย ใช้สำหรับเขียนละคำยาวๆ ที่รู้จักทั่วไป เช่น กรุงเทพฯ = กรุงเทพมหานคร, ข้า ฯ = ข้าพเจ้า, ข้าพระพุทธเจ้า, ฯพณฯ = พ่อเหนือหัวเจ้าท่าน,  <br />\n11. ฯลฯ  ไปยาลใหญ่ ใช้ละคำหรือข้อความที่มีต่อไปอีกมาก เช่น ปลามีหลายชนิดได้แก่ ปลาดุก ปลาช่อน ปลาหมด ฯลฯ <br />\n12. ....  ไข่ปลา ใช้ละข้อความซึ่งเว้นไปบางตอน หรือเว้นไปถึงความที่ต้องการ เช่น เขียนเลขคู่จาก 2 ถึง 100 = 2, 4, 6... 100 <br />\n13. =  เสมอภาค สมการ สมพล หรือเครื่องหมายเท่ากับ ใช้บอกความเท่ากัน เช่น พี่มีเงิน = น้อง , 5+4 = 9 <br />\n14. __ สัญประกาศ หรือเส้นใต้ ใช้เขียนใต้คำหรือข้อความเพื่อเน้นให้เห็นเด่นชัด เช่น ห้ามลัดสนาม อย่าเด็ดดอกไม้ <br />\n15. &quot;  บุพสัญญา หรือ เครื่องหมายละ ใช้เขียนละข้อความที่เหมือนกับบรรทัดบน เช่น พี่มีเงิน 100 บาท, น้อง&quot;   80  &quot; <br />\n16. มหรรถสัญญา หรือย่อหน้า หมายถึงย่อหน้าขึ้นบรรทัดใหม่ <br />\n17. วรรค หมายถึง การเว้นระยะระหว่างคำหรือประโยค </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">                                                                                                     <a href=\"/node/86281\"><img height=\"109\" width=\"159\" src=\"/files/u40670/hnhn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 145px; height: 76px\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1728185451, expire = 1728271851, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2b8499027bd4559b0d2eedd573a2ac6f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การใช้อักษรซ้ำ และอักษรซ้อน

การใช้อักษรซ้ำ และอักษรซ้อน
1. อักษรซ้ำ คือ พยัญชนะตัวสะกดตัวตามในคำบาลีสันสกฤต ซึ่งเป็นตัวเดียวกัน มีหลักในการใช้ดังนี้
1. ถ้าตัวหลังไม่มีสระกำกับ หรือไม่มีตัวสะกดให้ตัดออก เช่น กัปป์ = กัป, เขตต์ = เขต, จิตต์ = จิต, รัชชกาล = รัชกาล, สัญญประกาศ = สัญประกาศ
2. ถ้าตัวหลังมีสระกำกับ หรือมีตัวสะกดก็ให้คงรูปเดิม เช่น เมตตา = เมตตา, วักกะ = วักกะ, สัจจะ = สัจจะ, สัญญา = สัญญา, อัคคี = อัคคี
3. แม้ตัวหลังจะมีสระกำกับ หรือมีตัวสะกด ก็ให้ตัดออกตัวหนึ่ง เช่น นิสสัย = นิสัย, นิสสิต = นิสิต, ปฏิคคาหก = ปฏิคาหก, ยุตติธรรม = ยุติธรรม, วนิพพก = วนิพก, อนุสสรณ์ = อนุสรณ์
2. อักษรซ้อน คือ พยัญชนะตัวสะกดตัวตามในคำบาลีสันสกฤต ซึ่งมีพยัญชนะตัวตามอยู่แถวที่ถัดไปวรรคเดียวกันของตัวสะกด มีหลักการใช้ดังนี้
1. อักษรซ้อนวรรค ฏะ ในกรณีที่ตัวตามไม่มีสระกำกับ ให้ตัดตัวสะกดเดิมออก ใช้ตัวตามสะกดแทน เช่น รัฎฐ = รัฐ , วัฑฒ = วัฒ, อัฑฒ = อัฒ
2. อักษรซ้อนวรรค ในกรณีที่ตัวตามมีสระกำกับ (ยกเว้นสระ อิ) หรือมีตัวสะกด ก็ให้คงรูปเดิม เช่น กุฏฐัง = กุฏฐัง, รัฏฐาภิปาล = รัฏฐาภิปาล, อัฏฐะ = อัฏฐะ
3. อักษรซ้อน วรรค ฏะ ในกรณีที่ตัวตามประสมสระ "อิ" ให้ตัดตัวสะกดเดิมทิ้ง ใช้ตัวตามสะกดแทน เช่น ทิฏฐิ = ทิฐิ, วุฏฐิ = วุฐิ(ฝน), วุฑฒิ = วุฒิ, อัฏฐิ = อัฐ
คู่มือ-เตรียมสอบบรรจุเข้ารับราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
อาจารย์ สุทิศ เชื่อมาก
การใช้เครื่องหมายวรรคตอน
1. .  มหัพภาค หรือจุด ใช้เขียนหลังจบข้อความในประโยค และกำกับตัวอักษรย่อ หรือใช้เขียนหลังตัวเลขหรือตัวอักษรที่บอกจำนวนข้อ เช่น 1. 2. 3. 4. ก. ข. ่ค. ง. พ.ศ. = พุทธศักราช, ค.ศ. = คริสตศักราช
2. ,  จุลภาค หรือ ลูกน้ำ ใช้เขียนคั่นคำหรือข้อความหรือจำนวนตัวเลขให้แยกจากกันในประโยค เช่น สัตว์เลี้ยงไว้ใช้งาน เช่น ช้าง, ม้า, วัว, ความ เป็นต้น   2,765, 3,745 (เป็นการใช้ตามแบบอังกฤษในภาษาไทยใช้วรรคแทน)
3. ;  อัฒภาคหรือจุดครึ่ง ใช้คั่นข้อความที่เสมอกัน หรือเป็นส่วนขยายของประโยคอื่น เกะกะ ว, กีด, ขวาง เช่น วางของเกะกะ ; ประพฤติเป็นพาลเกเร เช่น คนเกะกะ
4. ?  ปรัศนีย์ หรือเครื่องหมายคำถาม ใช้ประกอบท้ายคำถาม เช่น ไปไหนมา? ใครอยู่ในห้อง? (ไม่ค่อยใช้)
5. !  อัศเจรีย์ หรือ เครื่องหมายตกใจ ใช้ประกอบข้างหลังคำอุทาน ซึ่งแสดงความรู้สึกทางใจ เช่น ว๊าย! ตายแล้ว โอ้โฮ! แหม!
6. ( ) นขลิขิต หรือวงเล็บ ใช้คร่อมคำหรือข้อความที่ขยายใจความของคำหรือข้อความหน้า เช่น ท่าน-ผู้บังคับบัญชาของผม (ท่านอธิบดี) ก็เห็นด้วยกับผม
7. " " อัญประกาศ หรือเครื่องหมายคำพูดใช้กับคำพูด หรือข้อความที่ยกมาจากที่อื่น เช่น เขาพูดว่า "ฉันจะสมัครสอบ" หนังสือพิมพ์พาดหัวข่าว "ด่วน" ปฏิวัติเงียบ เสือพรานล้อมบ้านคึกฤทธิ์"
8. -  ยติภังค์ หรือ ขีด ใช้เขียนท้ายพยางค์ของคำเพื่อแสดงว่าเป็นคำเดียวกับพยางค์เดียว หรือแสดงการติดต่อของคำ หรือพยางค์ที่แยกจากกัน เช่น เพ็ญพักตร์ผุดผ่องอา- ภาเปล่ง ปลั่งเอย
9. ๆ ไม้ยมก ใช้ซ้ำคำวลี หรือประโยค
10. ฯ  ไปยาลน้อย ใช้สำหรับเขียนละคำยาวๆ ที่รู้จักทั่วไป เช่น กรุงเทพฯ = กรุงเทพมหานคร, ข้า ฯ = ข้าพเจ้า, ข้าพระพุทธเจ้า, ฯพณฯ = พ่อเหนือหัวเจ้าท่าน, 
11. ฯลฯ  ไปยาลใหญ่ ใช้ละคำหรือข้อความที่มีต่อไปอีกมาก เช่น ปลามีหลายชนิดได้แก่ ปลาดุก ปลาช่อน ปลาหมด ฯลฯ
12. ....  ไข่ปลา ใช้ละข้อความซึ่งเว้นไปบางตอน หรือเว้นไปถึงความที่ต้องการ เช่น เขียนเลขคู่จาก 2 ถึง 100 = 2, 4, 6... 100
13. =  เสมอภาค สมการ สมพล หรือเครื่องหมายเท่ากับ ใช้บอกความเท่ากัน เช่น พี่มีเงิน = น้อง , 5+4 = 9
14. __ สัญประกาศ หรือเส้นใต้ ใช้เขียนใต้คำหรือข้อความเพื่อเน้นให้เห็นเด่นชัด เช่น ห้ามลัดสนาม อย่าเด็ดดอกไม้
15. "  บุพสัญญา หรือ เครื่องหมายละ ใช้เขียนละข้อความที่เหมือนกับบรรทัดบน เช่น พี่มีเงิน 100 บาท, น้อง"   80  "
16. มหรรถสัญญา หรือย่อหน้า หมายถึงย่อหน้าขึ้นบรรทัดใหม่
17. วรรค หมายถึง การเว้นระยะระหว่างคำหรือประโยค

                                                                                                    

สร้างโดย: 
ครูยุวดี เปาอินทร์ นางสาวอรนุช ชำนาญจิต

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 573 คน กำลังออนไลน์