• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:38bca20d52392a00765b89f16dd44af0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"widows: 2; text-transform: none; text-indent: 0px; border-collapse: separate; font: medium Tahoma; white-space: normal; orphans: 2; letter-spacing: normal; color: #000000; word-spacing: 0px; -webkit-border-horizontal-spacing: 0px; -webkit-border-vertical-spacing: 0px; -webkit-text-decorations-in-effect: none; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; color: #2b3220; font-size: 12px\"></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; margin-right: 0cm\">\n<span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 11pt; font-weight: normal\"><span style=\"color: #000000\"><img height=\"160\" width=\"411\" src=\"/files/u40601/m77.gif\" border=\"0\" /> </span></span>\n</p>\n<p style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; margin-right: 0cm\">\n<span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 11pt; font-weight: normal\"><span style=\"color: #000000\"><a href=\"/node/81851\"><img height=\"260\" width=\"443\" src=\"/files/u40601/121________________________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 169px; height: 79px\" /></a><span style=\"font-size: small\">             </span><a href=\"/node/83859\"><span style=\"font-size: small\"><img height=\"259\" width=\"442\" src=\"/files/u40601/121____________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 187px; height: 78px\" /></span></a><span style=\"font-size: small\">            </span><a href=\"/node/83860\"><img height=\"260\" width=\"443\" src=\"/files/u40601/121_________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 174px; height: 81px\" /></a></span></span>\n</p>\n<p style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; margin-right: 0cm\">\n<span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 11pt; font-weight: normal\"><span style=\"color: #000000\">อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับที่ผ่านมาได้กล่าวถึงความเจ็บป่วยจากการทำงาน<br />\nหลากหลาย ด้วยหวังให้ท่านผู้อ่านได้ตระหนักว่าความเจ็บป่วยเหล่านั้นอยู่ใกล้ตัวผู้<br />\nประกอบเวชปฏิบัติและไม่ยากนักที่จะค้นหาสาเหตุ<br />\nเพื่อให้การดูแลรักษาอย่างถูกต้องให้กับผู้ป่วย รวมทั้งทำการป้องกันอาการเจ็บป่วยให้กับเพื่อนร่วมงานของผู้ป่วย.</span></span><span style=\"color: black; font-size: 11pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">ไม่ นานมานี้ ผู้เขียนได้รับฟังเรื่องราวจากแพทย์อาชีวเวชศาสตร์รุ่นน้อง </span>2<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">คนซึ่งทำหน้าที่เป็น ที่ปรึกษาสถานประกอบการ<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>2<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">แห่ง เกี่ยวกับความเจ็บป่วยของพนักงาน ซึ่งมีประเด็นที่น่าสนใจ<br />\nไม่น้อยกว่าเรื่องราวของผู้ป่วยที่ได้นำเสนอไปแล้ว จึงจะขอนำเสนอในฉบับนี้ต่อไป.</span></span>\n</p>\n<p style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; margin-right: 0cm\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif\">กรณีแรก :<br />\nกระเพาะปัสสาวะอักเสบ</span></b></span><br />\n&quot;<span lang=\"TH\">นาง สาวสุดสวย&quot; เป็นพนักงานแผนกผลิตในโรงงานแห่งหนึ่ง<br />\nเธอทำหน้าที่บรรจุก้อนสบู่ที่เลื่อนไหลมาตามสายพานลงลังกระดาษ<br />\nเนื่องจากต้องทำงานเป็นทีมและทำยอดการบรรจุตามเป้าที่กำหนดไว้ในแต่ละ ชั่วโมง<br />\nทำให้เธอต้องกลั้นปัสสาวะตั้งแต่เข้ากะทำงานไปจนถึงเวลาพักกินข้าวอยู่เสมอ. ช่วง<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>2<br />\n<span lang=\"TH\">สัปดาห์ที่ผ่านมา<br />\nรู้สึกปวดแสบบริเวณท้องน้อยและช่องคลอดเวลาปัสสาวะต้องเบ่งเพื่อให้ปัสสาวะ ได้<br />\nซึ่งทำให้เจ็บมากขึ้น และต้องปัสสาวะบ่อย จนเริ่มมีปัญหากับทีมงาน<br />\nเพราะต้องลุกไปปัสสาวะหลายครั้งในขณะทำงาน เธอจึงไปพบแพทย์ที่ห้องพยาบาล.<br />\nแพทย์สรุปว่าสุดสวยเป็นโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบและให้ยาไปรับประทาน.<br />\nในวันที่แพทย์นัดตรวจติดตามอาการ<br />\nสุดสวยขอใบรับรองแพทย์เพื่อรับรองว่าเธอป่วยจากการทำงาน.</span><br />\n<span style=\"color: #000000\"><br />\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif\">กรณีที่สอง :<br />\nมดลูกอักเสบ</span></b></span></p>\n<p>&quot;<span lang=\"TH\">นาง สาวภูริดา&quot;<br />\nเป็นพนักงานต้อนรับประจำสายการบินแห่งหนึ่ง. ประมาณ<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>1<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">เดือนที่แล้ว<br />\nเครื่องบินลำที่เธอกำลังปฏิบัติงานอยู่เกิดตกหลุมอากาศอย่างรุนแรง<br />\nทำให้เธอล้มกระแทกพื้น<br />\nเธอรู้สึกปวดเมื่อยตามร่างกายบ้างแต่ไม่มีอาการรุนแรงหรืออาการอื่นๆ. ในเวลาอีก<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>2<br />\n<span lang=\"TH\">สัปดาห์ต่อมา เธอปวดท้องน้อยมาก มีไข้และมีตกขาวผิดปกติ<br />\nไปพบแพทย์และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมดลูกอักเสบ. แพทย์ให้นอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลเป็นเวลา<br />\n</span>5<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">วันจนอาการดีขึ้น<br />\nวันนี้เธอยื่นเรื่องเพื่อขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลจากบริษัท<br />\nโดยอ้างว่าเธอป่วยจากการทำงาน.</span>\n</p>\n<p style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; margin-right: 0cm\">\n<span lang=\"TH\">การ วินิจฉัยโรคทั่วไป<br />\nอาศัยความรู้ความชำนาญของแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป<br />\nแต่โรคบางชนิดต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ<br />\nเพื่อทำการวินิจฉัย ยกตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยรายหนึ่งมีอาการปวดศีรษะไม่ทราบสาเหตุ.<br />\nแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปอาจสามารถวินิจฉัยได้เบื้องต้นว่าผู้ป่วยมีเนื้องอกใน สมอง<br />\nแต่การวินิจฉัยขั้นสุดท้ายว่าเป็นเนื้องอกชนิดใด จะให้การรักษาอย่างไร ต้องอาศัยแพทย์เฉพาะทางอีกหลายสาขามาร่วมทำการวินิจฉัยโรค.</span>\n</p>\n<p style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; margin-right: 0cm\">\n<span lang=\"TH\">อย่าง ไรก็ตาม<br />\nยังมีโรคอีกกลุ่มหนึ่งที่ถ้าหากแพทย์สนใจจะสามารถระบุสาเหตุได้ว่าเกิดจาก การทำงาน<br />\nซึ่งแพทย์ที่จะทำการวินิจฉัยได้นี้<br />\nอาจเป็นแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปหรือแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ.<br />\nสำหรับกรณีที่ความเจ็บป่วยค่อนข้างชัดเจนว่าเกิดจากการทำงาน เช่น<br />\nกรณีเครื่องจักรตัดนิ้วขาด โรคหอบหืดจากการสัมผัสฝุ่น แต่ในบางครั้ง<br />\nแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปหรือแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ<br />\nก็ต้องอาศัยแพทย์เฉพาะทางสาขาอาชีวเวชศาสตร์</span><sup>1</sup><span lang=\"TH\">ซึ่งผ่านการฝึกอบรมให้ทำการสืบค้นข้อมูล<br />\nเพื่อวิเคราะห์ว่าการทำงานเป็นสาเหตุหรือ<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><b><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif\">&quot;<span lang=\"TH\">เกี่ยวเนื่อง&quot;<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span></span></b><span lang=\"TH\">กับ การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นหรือไม่. ทั้งนี้<br />\nข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการวินิจฉัยคือ ประวัติการทำงานจนถึงปัจจุบันของผู้ป่วย<br />\nและข้อมูลสภาพแวดล้อมการทำงาน<br />\nโดยที่ความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นต้องมีความเป็นไปได้ทางชีววิทยาและพิษวิทยา รวมทั้งสอดคล้องด้านระยะเวลากับสิ่งก่อโรคที่พบในที่ทำงาน<br />\n(ถ้าตรวจได้) หรือสภาพการทำงาน.</span>\n</p>\n<p style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; margin-right: 0cm\">\n<span lang=\"TH\">สาเหตุที่สำคัญ<br />\nอันหนึ่งที่ทำให้แพทย์ไม่ว่าสาขาอาชีวเวชศาสตร์เองหรือสาขาอื่นๆ ไม่สามารถวินิจฉัย<br />\nว่าความเจ็บป่วยเกิดขึ้นจากการทำงานหรือไม่ เป็นเพราะโรคจากการทำงานมี<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><b><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif\">&quot;<span lang=\"TH\">พิสัย&quot;</span></span></b><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>ของความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุกับความเจ็บป่วย<br />\nดังเช่นที่ระบุไว้ในเอกสารขององค์การอนามัยโลก (</span>1)<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">ว่า<br />\nโรคจากการทำงาน</span><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>(occupational disease)<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">อยู่สุดทางด้านหนึ่งของพิสัย<br />\nโดยเป็นโรคที่<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><b><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif\">&quot;<span lang=\"TH\">เกี่ยวเนื่อง&quot;<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span></span></b><span lang=\"TH\">กับ การทำงาน (</span>work-related<br />\ndisease)<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">ซึ่งสามารถระบุได้ชัดเจนว่าสิ่งก่อโรคคืออะไร<br />\nสามารถวัดปริมาณสิ่งก่อโรคได้ และทำให้สามารถควบคุมป้องกันโรคได้.<br />\nขณะที่สุดทางอีกด้านหนึ่งของพิสัย เป็นกลุ่มของความเจ็บป่วยที่น่าจะ<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><b><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif\">&quot;<span lang=\"TH\">เกี่ยวเนื่อง&quot;<br />\n</span></span></b><span lang=\"TH\">กับ การทำงาน<br />\nแต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเกี่ยวข้องจริงกับสาเหตุ เช่น<br />\nปริมาณสารเคมีที่ผู้ป่วยสัมผัสน้อยมากเกินกว่าจะก่อโรคได้<br />\nพนักงานที่ทำงานแผนกเดียวกันไม่มีใครป่วยนอกจากผู้ป่วย<br />\nหรือผู้ป่วยสัมผัสสิ่งก่อโรคหลายอย่างทั้งในขณะทำงานและจากชีวิตประจำวันจน<br />\nแยกได้ยากว่าเกิดจากอะไรเป็นสาเหตุหลัก.</span>\n</p>\n<p style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; margin-right: 0cm\">\n<span lang=\"TH\">หากพิจารณาในแง่ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง คำวินิจฉัยของแพทย์ว่าไม่ใช่การเจ็บป่วยจากการทำงานสำหรับพนักงานหญิง<br />\n</span>2<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">คนนี้ อาจทำให้นายจ้างไม่ยอมปรับสภาพแวดล้อมการทำ<br />\nงานเพื่อป้องกันโรค หรือลูกจ้างที่อยากได้ผลประโยชน์มาก<br />\nได้รับผลประโยชน์จากการเจ็บป่วยน้อยเกินไป. ขณะเดียวกัน<br />\nนายจ้างหลายคนอาจขอบคุณที่แพทย์ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่เกินจริงของบริษัท<br />\nหรือลูกจ้างขอบคุณที่แพทย์ทำให้เขาได้ทำงานที่ถนัดต่อไป<br />\nไม่ต้องย้ายงานเพราะความเจ็บป่วย<br />\nซึ่งแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ต้องพิจารณาผลประโยชน์ของทั้งนายจ้างและลูกจ้าง เหล่านี้<br />\nรวมทั้งศักดิ์ศรีและจรรยาบรรณวิชาชีพ ก่อนให้คำตัดสินสุดท้าย</span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1727055165, expire = 1727141565, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:38bca20d52392a00765b89f16dd44af0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มดลูกตกหลุมอากาศ

 

                         

อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับที่ผ่านมาได้กล่าวถึงความเจ็บป่วยจากการทำงาน
หลากหลาย ด้วยหวังให้ท่านผู้อ่านได้ตระหนักว่าความเจ็บป่วยเหล่านั้นอยู่ใกล้ตัวผู้
ประกอบเวชปฏิบัติและไม่ยากนักที่จะค้นหาสาเหตุ
เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างถูกต้องให้กับผู้ป่วย รวมทั้งทำการป้องกันอาการเจ็บป่วยให้กับเพื่อนร่วมงานของผู้ป่วย.

ไม่ นานมานี้ ผู้เขียนได้รับฟังเรื่องราวจากแพทย์อาชีวเวชศาสตร์รุ่นน้อง 2 คนซึ่งทำหน้าที่เป็น ที่ปรึกษาสถานประกอบการ 2 แห่ง เกี่ยวกับความเจ็บป่วยของพนักงาน ซึ่งมีประเด็นที่น่าสนใจ
ไม่น้อยกว่าเรื่องราวของผู้ป่วยที่ได้นำเสนอไปแล้ว จึงจะขอนำเสนอในฉบับนี้ต่อไป.

กรณีแรก :
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ

"นาง สาวสุดสวย" เป็นพนักงานแผนกผลิตในโรงงานแห่งหนึ่ง
เธอทำหน้าที่บรรจุก้อนสบู่ที่เลื่อนไหลมาตามสายพานลงลังกระดาษ
เนื่องจากต้องทำงานเป็นทีมและทำยอดการบรรจุตามเป้าที่กำหนดไว้ในแต่ละ ชั่วโมง
ทำให้เธอต้องกลั้นปัสสาวะตั้งแต่เข้ากะทำงานไปจนถึงเวลาพักกินข้าวอยู่เสมอ. ช่วง 
2
สัปดาห์ที่ผ่านมา
รู้สึกปวดแสบบริเวณท้องน้อยและช่องคลอดเวลาปัสสาวะต้องเบ่งเพื่อให้ปัสสาวะ ได้
ซึ่งทำให้เจ็บมากขึ้น และต้องปัสสาวะบ่อย จนเริ่มมีปัญหากับทีมงาน
เพราะต้องลุกไปปัสสาวะหลายครั้งในขณะทำงาน เธอจึงไปพบแพทย์ที่ห้องพยาบาล.
แพทย์สรุปว่าสุดสวยเป็นโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบและให้ยาไปรับประทาน.
ในวันที่แพทย์นัดตรวจติดตามอาการ
สุดสวยขอใบรับรองแพทย์เพื่อรับรองว่าเธอป่วยจากการทำงาน.


กรณีที่สอง :
มดลูกอักเสบ

"นาง สาวภูริดา"
เป็นพนักงานต้อนรับประจำสายการบินแห่งหนึ่ง. ประมาณ 
1 เดือนที่แล้ว
เครื่องบินลำที่เธอกำลังปฏิบัติงานอยู่เกิดตกหลุมอากาศอย่างรุนแรง
ทำให้เธอล้มกระแทกพื้น
เธอรู้สึกปวดเมื่อยตามร่างกายบ้างแต่ไม่มีอาการรุนแรงหรืออาการอื่นๆ. ในเวลาอีก 
2
สัปดาห์ต่อมา เธอปวดท้องน้อยมาก มีไข้และมีตกขาวผิดปกติ
ไปพบแพทย์และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมดลูกอักเสบ. แพทย์ให้นอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลเป็นเวลา
5 วันจนอาการดีขึ้น
วันนี้เธอยื่นเรื่องเพื่อขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลจากบริษัท
โดยอ้างว่าเธอป่วยจากการทำงาน.

การ วินิจฉัยโรคทั่วไป
อาศัยความรู้ความชำนาญของแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป
แต่โรคบางชนิดต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ
เพื่อทำการวินิจฉัย ยกตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยรายหนึ่งมีอาการปวดศีรษะไม่ทราบสาเหตุ.
แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปอาจสามารถวินิจฉัยได้เบื้องต้นว่าผู้ป่วยมีเนื้องอกใน สมอง
แต่การวินิจฉัยขั้นสุดท้ายว่าเป็นเนื้องอกชนิดใด จะให้การรักษาอย่างไร ต้องอาศัยแพทย์เฉพาะทางอีกหลายสาขามาร่วมทำการวินิจฉัยโรค.

อย่าง ไรก็ตาม
ยังมีโรคอีกกลุ่มหนึ่งที่ถ้าหากแพทย์สนใจจะสามารถระบุสาเหตุได้ว่าเกิดจาก การทำงาน
ซึ่งแพทย์ที่จะทำการวินิจฉัยได้นี้
อาจเป็นแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปหรือแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ.
สำหรับกรณีที่ความเจ็บป่วยค่อนข้างชัดเจนว่าเกิดจากการทำงาน เช่น
กรณีเครื่องจักรตัดนิ้วขาด โรคหอบหืดจากการสัมผัสฝุ่น แต่ในบางครั้ง
แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปหรือแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ
ก็ต้องอาศัยแพทย์เฉพาะทางสาขาอาชีวเวชศาสตร์
1ซึ่งผ่านการฝึกอบรมให้ทำการสืบค้นข้อมูล
เพื่อวิเคราะห์ว่าการทำงานเป็นสาเหตุหรือ 
"เกี่ยวเนื่อง" กับ การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นหรือไม่. ทั้งนี้
ข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการวินิจฉัยคือ ประวัติการทำงานจนถึงปัจจุบันของผู้ป่วย
และข้อมูลสภาพแวดล้อมการทำงาน
โดยที่ความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นต้องมีความเป็นไปได้ทางชีววิทยาและพิษวิทยา รวมทั้งสอดคล้องด้านระยะเวลากับสิ่งก่อโรคที่พบในที่ทำงาน
(ถ้าตรวจได้) หรือสภาพการทำงาน.

สาเหตุที่สำคัญ
อันหนึ่งที่ทำให้แพทย์ไม่ว่าสาขาอาชีวเวชศาสตร์เองหรือสาขาอื่นๆ ไม่สามารถวินิจฉัย
ว่าความเจ็บป่วยเกิดขึ้นจากการทำงานหรือไม่ เป็นเพราะโรคจากการทำงานมี 
"พิสัย" ของความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุกับความเจ็บป่วย
ดังเช่นที่ระบุไว้ในเอกสารขององค์การอนามัยโลก (
1) ว่า
โรคจากการทำงาน
 (occupational disease) อยู่สุดทางด้านหนึ่งของพิสัย
โดยเป็นโรคที่ 
"เกี่ยวเนื่อง" กับ การทำงาน (work-related
disease) ซึ่งสามารถระบุได้ชัดเจนว่าสิ่งก่อโรคคืออะไร
สามารถวัดปริมาณสิ่งก่อโรคได้ และทำให้สามารถควบคุมป้องกันโรคได้.
ขณะที่สุดทางอีกด้านหนึ่งของพิสัย เป็นกลุ่มของความเจ็บป่วยที่น่าจะ 
"เกี่ยวเนื่อง"
กับ การทำงาน
แต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเกี่ยวข้องจริงกับสาเหตุ เช่น
ปริมาณสารเคมีที่ผู้ป่วยสัมผัสน้อยมากเกินกว่าจะก่อโรคได้
พนักงานที่ทำงานแผนกเดียวกันไม่มีใครป่วยนอกจากผู้ป่วย
หรือผู้ป่วยสัมผัสสิ่งก่อโรคหลายอย่างทั้งในขณะทำงานและจากชีวิตประจำวันจน
แยกได้ยากว่าเกิดจากอะไรเป็นสาเหตุหลัก.

หากพิจารณาในแง่ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง คำวินิจฉัยของแพทย์ว่าไม่ใช่การเจ็บป่วยจากการทำงานสำหรับพนักงานหญิง
2 คนนี้ อาจทำให้นายจ้างไม่ยอมปรับสภาพแวดล้อมการทำ
งานเพื่อป้องกันโรค หรือลูกจ้างที่อยากได้ผลประโยชน์มาก
ได้รับผลประโยชน์จากการเจ็บป่วยน้อยเกินไป. ขณะเดียวกัน
นายจ้างหลายคนอาจขอบคุณที่แพทย์ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่เกินจริงของบริษัท
หรือลูกจ้างขอบคุณที่แพทย์ทำให้เขาได้ทำงานที่ถนัดต่อไป
ไม่ต้องย้ายงานเพราะความเจ็บป่วย
ซึ่งแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ต้องพิจารณาผลประโยชน์ของทั้งนายจ้างและลูกจ้าง เหล่านี้
รวมทั้งศักดิ์ศรีและจรรยาบรรณวิชาชีพ ก่อนให้คำตัดสินสุดท้าย

สร้างโดย: 
อภิญญา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 284 คน กำลังออนไลน์