• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d9d94db801e96b5fe88fc460e03dfd25' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"widows: 2; text-transform: none; text-indent: 0px; border-collapse: separate; font: medium Tahoma; white-space: normal; orphans: 2; letter-spacing: normal; color: #000000; word-spacing: 0px; -webkit-border-horizontal-spacing: 0px; -webkit-border-vertical-spacing: 0px; -webkit-text-decorations-in-effect: none; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; color: #2b3220; font-size: 12px\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\"> <img height=\"160\" width=\"411\" src=\"/files/u40601/m33.gif\" border=\"0\" /></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\"> <a href=\"/node/81851\"><img height=\"260\" width=\"443\" src=\"/files/u40601/121________________________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 169px; height: 79px\" /></a>           <a href=\"/node/83859\"><img height=\"259\" width=\"442\" src=\"/files/u40601/121____________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 187px; height: 78px\" /></a>          <a href=\"/node/83860\"><img height=\"260\" width=\"443\" src=\"/files/u40601/121_________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 174px; height: 81px\" /></a></span> <a href=\"/node/85985\">                      <img height=\"257\" width=\"440\" src=\"/files/u40601/1122.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 170px; height: 62px\" /></a>                   <a href=\"/node/85986\"><img height=\"257\" width=\"440\" src=\"/files/u40601/1133.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 169px; height: 66px\" /> </a>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\">มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก <span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 18px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 12pt\">ในประเทศไทย พบได้บ่อยเป็นอันดับ</span><span style=\"line-height: 18px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 12pt\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>3<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">ของมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี รองจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งรังไข่ โดยพบประมาณ<br />\n</span>3<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">คนต่อ<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>100,000<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">คน<br />\nในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศยุโรปบางประเทศ พบมะเร็งชนิดนี้เป็นอันดับ<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>1<br />\n<span lang=\"TH\">ของมะเร็งอวัยวะสืบพันธ์สตรี มะเร็งชนิดนี้มักพบในสตรีสูงอายุ โดยเฉพาะสตรีในวัยใกล้หมดระดูหรือหมดระดูแล้ว</span><br />\n<span lang=\"TH\">มีข้อมูลสนับสนุนว่า มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกมีความสัมพันธ์อย่างยิ่งกับฮอร์โมนเพศหญิงที่เรียก<br />\nว่า เอสโตรเจน เยื่อบุโพรงมดลูกที่ถูกกระตุ้นด้วยฮอร์โมนชนิดนี้เพียงอย่างเดียวเป็นเวลา<br />\nนาน ๆ จะเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งในที่สุด ดังนั้นปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งชนิดนี้ คือ การที่ฮอร์โมนเอสโตรเจนอยู่ในร่างกายเป็นจำนวนมาก<br />\nและเป็นเวลานาน โดยอาจจะได้รับจาการรับประทานยาออร์โมนอย่างผิดวิธี หรือ บางภาวะของร่างกาย<br />\nเช่น ภาวะอ้วน จะมีการสร้างฮอร์โมนชนิดนี้มากกว่าปกติ</span><br />\n<span lang=\"TH\">อาการที่พบบ่อยที่สุดของผู้ป่วยมะเร็งเยื่อโพรงบุมดลูก คือ อาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด<br />\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสตรีวัยใกล้หมดระดู หรือวัยหมดระดู</span><br />\n<span lang=\"TH\">การวินิจฉัยมะเร็งเยื่อบุมดลูก ทำได้โดยการขูดมดลูกเพื่อนำเอาเยื่อบุโพรงมดลูกส่งตรวจทางพยาธิวิทยา<br />\nปัจจุบันยังไม่มีวิธีการตรวจกรองมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกที่แม่นยำพอที่จะนำ มาใช้ในสตรีทั่วไปที่ไม่มีอาการผิดปกติอย่างไรก็ดี ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมาพบแพทย์เร็ว<br />\nเมื่อมีอาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ทำให้สามารถวินิจฉัยโรคได้ในระยะเริ่มต้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">การผ่าตัดเป็นการรักษาหลักของมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก ผู้ป่วยส่วนหนึ่งที่มีความเสี่ยงสูงต่อการกลับเป็นซ้ำ<br />\nหรือเสี่ยงต่อการกระจายของโรคหลังการผ่าตัด จะได้รับการักษาต่อด้วยรังสีรักษา<br />\nดังได้กล่าวแล้วข้างต้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะอยู่ในระยะเริ่มต้นเมื่อได้รับการวินิจฉัยโรค<br />\nผู้ป่วยโรคมะเร็งชนิดนี้จึงมีพยากรณ์โรคค่อนข้างดี</span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<div class=\"field field-type-text field-field-link\">\n<div class=\"field-items\">\n</div>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1727054640, expire = 1727141040, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d9d94db801e96b5fe88fc460e03dfd25' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มะเร็งเยื่อบุโพรง

  

                                                               

 มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก  ในประเทศไทย พบได้บ่อยเป็นอันดับ 3 ของมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี รองจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งรังไข่ โดยพบประมาณ
3 คนต่อ 100,000 คน
ในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศยุโรปบางประเทศ พบมะเร็งชนิดนี้เป็นอันดับ 
1
ของมะเร็งอวัยวะสืบพันธ์สตรี มะเร็งชนิดนี้มักพบในสตรีสูงอายุ โดยเฉพาะสตรีในวัยใกล้หมดระดูหรือหมดระดูแล้ว
มีข้อมูลสนับสนุนว่า มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกมีความสัมพันธ์อย่างยิ่งกับฮอร์โมนเพศหญิงที่เรียก
ว่า เอสโตรเจน เยื่อบุโพรงมดลูกที่ถูกกระตุ้นด้วยฮอร์โมนชนิดนี้เพียงอย่างเดียวเป็นเวลา
นาน ๆ จะเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งในที่สุด ดังนั้นปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งชนิดนี้ คือ การที่ฮอร์โมนเอสโตรเจนอยู่ในร่างกายเป็นจำนวนมาก
และเป็นเวลานาน โดยอาจจะได้รับจาการรับประทานยาออร์โมนอย่างผิดวิธี หรือ บางภาวะของร่างกาย
เช่น ภาวะอ้วน จะมีการสร้างฮอร์โมนชนิดนี้มากกว่าปกติ

อาการที่พบบ่อยที่สุดของผู้ป่วยมะเร็งเยื่อโพรงบุมดลูก คือ อาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสตรีวัยใกล้หมดระดู หรือวัยหมดระดู

การวินิจฉัยมะเร็งเยื่อบุมดลูก ทำได้โดยการขูดมดลูกเพื่อนำเอาเยื่อบุโพรงมดลูกส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการตรวจกรองมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกที่แม่นยำพอที่จะนำ มาใช้ในสตรีทั่วไปที่ไม่มีอาการผิดปกติอย่างไรก็ดี ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมาพบแพทย์เร็ว
เมื่อมีอาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ทำให้สามารถวินิจฉัยโรคได้ในระยะเริ่มต้น

การผ่าตัดเป็นการรักษาหลักของมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก ผู้ป่วยส่วนหนึ่งที่มีความเสี่ยงสูงต่อการกลับเป็นซ้ำ
หรือเสี่ยงต่อการกระจายของโรคหลังการผ่าตัด จะได้รับการักษาต่อด้วยรังสีรักษา
ดังได้กล่าวแล้วข้างต้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะอยู่ในระยะเริ่มต้นเมื่อได้รับการวินิจฉัยโรค
ผู้ป่วยโรคมะเร็งชนิดนี้จึงมีพยากรณ์โรคค่อนข้างดี

สร้างโดย: 
ครูกัลยารัตน์ และ อภิญญา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 337 คน กำลังออนไลน์