• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a364e9dfe5dcd83a41e664ed01768b5a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\">รายงาน</span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #ff00ff\">  </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\">วิชา</span></span> </span><span style=\"color: #008000\">ประวัติศาสตร์</span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #ff00ff\">  </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff0000\">เรื่อง</span> ปัญหาโรคระบาด</span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\">                                       </span><span style=\"color: #ff00ff\"></span><span style=\"color: #ff00ff\"></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">เสนอ </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span> <span style=\"color: #0000ff\">                                                                </span><span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #0000ff\">อาจารย์</span> วัชรี กมลเสรีรัตน์</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\">จัดทำโดย</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">                                </span></span><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">นางสาว ศิรพร  เหมือนศรีชัย  ม.4/3 เลขที่ 2</span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\"> </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\"></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 54pt; text-indent: -18pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpFirst\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #ff9900\">                                <span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">              </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">นางสาว   เกวลี  หนูสิทธิ์        ม.4/3 เลขที่ 7</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                                                        นางสาว   ศศิประภา ภูขีด       ม.4/3  เลขที่ 9</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                                                         นางสาว   พรภัสสร นักฟ้อน  ม.4/3  เลขที่  10</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                                                         นางสาว    จิราภรณ์  ประทุมทอง ม.4/3 เลขที่ 23</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                                                          นางสาว   จินตหรา  แก่นท้าว       ม.4/3 เลขที่ 33  </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                                                            โรงเรียน ศีลาจารพิพัฒน์ </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><u>คำนำ</u></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ffff\">                </span><span style=\"color: #ff0000\">รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ จัดทำขึ้นเพื่อให้ได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ โดยมีเนื่อเรื่องเกี่ยวกับปัญหาโรคระบาดเกี่ยวข้องเข้ามาด้วย หากว่ารายงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย </span></span></span>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 36pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัญหาโรคระบาด</span><span style=\"font-size: 36pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ในคริตศตวรรษที่ 21</span><span style=\"color: #221e1f\">นี้ได้เกิดเหตุการณ์ทางด้านโรคติดต่อร้ายแรงหลายชนิดที่คุกคามมนุษยชาติ ส่งผลต่อความสูญเสียชีวิตของมนุษย์และสัตว์ปีกที่เป็นอาหารของมนุษย์ นอกจากนี้ยังสูญเสียงบประมาณในการรักษาและป้องกัน รวมทั้งภาพรวมทางเศรษฐกิจโดยรวมด้วย โรคติดต่อร้ายแรงในคริสต์ศตวรรษที่</span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"> 21 <span lang=\"TH\">ที่จะกล่าวถึง ได้แก่ โรคเอดส์ โรคไข้หวัดมรณะ โรคไข้หวัดนก และโรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่</span> 2009</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #ff0000\"><b><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โรคเอดส์</span></b><b><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span> </o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"400\" src=\"http://www.4lifethaibiz.com/article/art_367870.jpg\" height=\"320\" style=\"width: 321px; height: 325px\" id=\"imgb\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โรคเอดส์</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"> (Acquired Immuno Deficiency Syndrome: AIDS) <span lang=\"TH\">เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสที่วงการแพทย์เรียกกันว่า</span> Human Immuno Deficiency Virus <span lang=\"TH\">หรือไวรัสที่ทำให้ภูมิคุ้มกันของมนุษย์บกพร่อง ซึ่งนิยมเรียกกันย่อๆ ตามอักษรตัวแรกของชื่อไวรัสนี้ในภาษาอังกฤษว่าเอชไอวี</span> (HIV) <span lang=\"TH\">เมื่อเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์แล้ว จะมีการฟักตัวอยู่ระยะเวลาหนึ่ง บางครั้งอาจใช้เวลานานหลายปีโดยไม่ได้แสดงอาการผิดปกติใดๆ ต่อมาไวรัสก็จะเพิ่มจำนวนมากขึ้นและทำลายภูมิคุ้มกันของร่างกายให้เสื่อมลงเรื่อยๆ ในที่สุดร่างกายก็ไม่สามารถป้องกันตัวเองจากการติดเชื้อโรคใดๆ ทำให้ติดเชื้อโรคอื่นๆ เช่น ปอดบวม วัณโรค มะเร็งบางชนิด ปอดอักเสบ สมองอักเสบ แทรกตามมาได้ง่ายและจะปรากฏอาการของโรคเอดส์ขึ้นมา โรคเอดส์เป็นโรคที่ค้นพบครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อ ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 1981 <span lang=\"TH\">โดยศูนย์ควบคุมโรคของสหรัฐอเมริกาพบว่าคนไข้ชายหนุ่มที่เป็นรักร่วมเพศจำนวนหนึ่งที่เข้ารับการตรวจที่ห้องปฏิบัติการ มีการทำงานของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานโรคเสียไปและเสียชีวิตลงเพราะภูมิคุ้มกันโรคบกพร่องเสีย จึงทำให้มีผู้เสนอเรียกชื่อว่าโรคว่า</span> AIDS <span lang=\"TH\">ต่อมาโรคเอดส์เป็นที่รู้จักมากขึ้นเมื่อดาราภาพยนตร์ชื่อ ร็อค ฮัดสัน ได้เปิดเผยว่าตนเองเป็นโรคนี้และติดโรคนี้จากการมี</span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"> </span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"Pa7\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พฤติกรรมรักร่วมเพศ เพื่อเตือนให้สาธารณชนตระหนักถึงอันตรายของโรคซึ่งยังไม่มีทางรักษาให้หายได้ สถานการณ์ของโรคเอดส์ในปัจจุบันพบว่ามีความรุนแรงและขยายวงกว้างไปทั่วทุกภูมิภาคของโลก จากสถิติขององค์การอนามัยโลกระบุว่าใน ค</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\">.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 1994 <span lang=\"TH\">ทั่วโลกมีประชากรที่ติดโรคเอดส์ประมาณ</span> 4 <span lang=\"TH\">ล้านคน ในขณะที่สถิติ ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 1993 <span lang=\"TH\">มีประชากรที่เป็นเอดส์เพียง</span> 2.5 <span lang=\"TH\">ล้านคน นับเป็นการเพิ่มจำนวนคนเป็นเอดส์ถึง</span> 60 <span lang=\"TH\">เปอร์เซ็นต์ในช่วงเวลาเพียงปีเดียว และจากการประมาณโดยการสันนิษฐานทางการแพทย์ของสหประชาชาติ คาดว่านับตั้งแต่โรคเอดส์เกิดขึ้นจนถึงปัจจุบัน มีผู้ติดเชื้อเอดส์อยู่ประมาณ</span> 40 <span lang=\"TH\">ล้านคนและเสียชีวิตแล้วประมาณ</span> 3 <span lang=\"TH\">ล้านคน โดยมีสาเหตุการติดเชื้อที่สำคัญมาจากการมีเพศสัมพันธ์กับคนที่มีเชื้อไวรัสเอชไอวี โดยเชื้อไวรัสนี้จะอยู่ในของเหลวที่ขับออกมาจากอวัยวะเพศของทั้งชายและหญิง </span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>      </span><span lang=\"TH\">การมีเพศสัมพันธ์กับคนหลายคนจะทำให้มีอัตราการเสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสได้สูงกว่าปกติ รองลงมา คือ การติดเชื้อจากการได้รับเลือดที่มีเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าไป การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันโดยเฉพาะในหมู่ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด และการติดเชื้อของทารกจากมารดาที่เป็นโรคเอดส์ จากภัยอันตรายจากโรคเอดส์ที่มีการแผ่ระบาดอย่างรวดเร็วทั่วโลกและยังไม่ทางรักษาหายขาดได้ ประชาคมโลกต่างตระหนักถึงภัยอันตรายที่คุกคามต่อมนุษยชาติดังกล่าว จึงได้จัดให้มีการประชุมนานาชาติเรื่องโรคเอดส์</span> (ACCESS FOR ALL 2004) <span lang=\"TH\">ขึ้นในประเทศไทยเมื่อเดือนกันยายน ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2004 <span lang=\"TH\">ทั้งนี้มีผู้นำระดับโลก รวมทั้งดารา นักร้องที่มีชื่อเสียงระดับโลก นักวิชาการ ผู้ทำงานด้านโรคเอดส์ และเครือข่ายกลุ่มผู้ติดเชื้อจากประเทศต่างๆ ได้เข้าร่วมงานจำนวนมาก ถือเป็นการประชุมเรื่องโรคเอดส์ครั้งใหญ่ที่สุด เพราะทุกประเทศต่างตระหนักถึงภัยอันตรายต่อชีวิตมนุษยชาติ จึงต้องหาทางร่วมกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">โรคไข้หวัดมรณะ</span></span><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> </span></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"250\" src=\"http://i7.photobucket.com/albums/y255/purichan/373px-antigenicshift_hires2.jpg\" height=\"403\" id=\"imgb\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไข้หวัดมรณะหรือซาร์ส</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"> (Severe Acute Respiratory Syndrome: SARS) <span lang=\"TH\">เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า</span> SARS-associated coronvirus (SARS-CoV) <span lang=\"TH\">และจากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกเชื่อว่าเชื้อไวรัสที่น่าจะเป็นสาเหตุของไข้หวัดมรณะ คือ เชื้อไวรัสที่มีชื่อว่าโคโรนาไวรัส</span> (Corona Virus) <span lang=\"TH\">ซึ่งเชื้อไวรัสนี้สามารถทำให้เกิดโรคได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ เมื่อใดที่ต้องออกมาอยู่ภายนอกร่างกายก็จะถูกทำลายลงได้ง่าย โดยทั่วไปจะอยู่ได้ไม่เกิน</span> 3 <span lang=\"TH\">ชั่วโมง และหากอยู่ในบริเวณที่มีแสงแดด ความร้อนและรังสียูวีในแสงแดดจะทำลายเชื้อโรคภายในเวลาไม่เกิน</span> 1 <span lang=\"TH\">ชั่วโมง นอกจากนี้น้ำยาฆ่าเชื้อโรคที่ใช้ในบ้านหรือสำนักงานทั่วไปก็สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ด้วยเช่นกัน</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไข้หวัดมรณะหรือโรคซาร์สได้เริ่มคุกคามมนุษย์และแพร่ระบาดมากใน ค</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\">.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2003 <span lang=\"TH\">โดยประเทศที่ได้รับเชื้อไข้หวัดมรณะรุนแรง ได้แก่ จีน สิงคโปร์ ไต้หวัน แคนาดา ฮ่องกง และเวียดนาม ทั้งนี้การติดต่อของโรคไข้หวัดมรณะสามารถติดต่อได้โดยการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย เนื่องจากจะมีเชื้อแพร่ออกมากับน้ำมูก เสมหะ และน้ำลายของผู้ป่วย เมื่อเวลาไอหรือจาม เมื่อ ผู้อยู่ใกล้สูดดมหรือหายใจเข้าไปจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อผ่านมากับสิ่งของเครื่องใช้ เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดมือ ช้อน หลอดดูดน้ำ เป็นต้น เมื่อใครได้รับเชื้อโรคหวัดมรณะแล้วจะมีระยะการฟักตัว</span> 2-7 <span lang=\"TH\">วัน หลังจากนั้นจะมีอาการเป็นไข้ ไอแห้งๆ เจ็บหน้าอก หอบ ในรายที่ป่วยหนักจะต้องใช้เครื่องหายใจเข้าช่วย ส่วนการรักษานั้น ยังไม่มียารักษาโรคโดยตรง บางรายต้องให้ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านไวรัสตามอาการ ไข้หวัดมรณะจึงถือเป็นมหันตภัยร้ายแรงที่คุกคามมนุษย์ในปัจจุบัน ซึ่งประเทศต่างๆ ทั่วโลกต่างเฝ้าระวังในการแพร่ระบาดเข้าสู่ประเทศของตนเพื่อปกป้องชีวิตของประชาชนอย่างเต็มท</span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ี่</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">โรคไข้หวัดนก</span></span><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> </o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"561\" src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/129/130000.jpg\" height=\"349\" style=\"width: 423px; height: 225px\" id=\"imgb\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไข้หวัดนก</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"> (Avian Influenza) <span lang=\"TH\">ในภาษาอังกฤษเรียกโรคนี้กันอีกชื่อหนึ่งว่า</span> Bird Flu <span lang=\"TH\">ซึ่งมีผู้แปลเป็นภาษาไทยและใช้กันอย่างแพร่หลายว่า โรคไข้หวัดนก โดยแปลคำว่านกมาจากคำว่า</span> bird <span lang=\"TH\">ในภาษาอังกฤษนั่นเอง แต่ที่จริงแล้วคำว่า</span> bird <span lang=\"TH\">ในภาษาอังกฤษไม่ได้หมายถึงเฉพาะนกเท่านั้น แต่หมายถึงสัตว์ปีกอื่นๆ ด้วย</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไข้หวัดนกเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสชื่อ</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"> Avian Influenza Type A <span lang=\"TH\">เป็นสายพันธุ์ที่พบในนกซึ่งเป็นแหล่งโรคในธรรมชาติ ที่พบมาก ได้แก่ นกเป็ดน้ำ นกอพยพ และนกตามธรรมชาติ การติดต่อในหมู่สัตว์ติดต่อได้โดยเชื้อไวรัสถูกขับถ่ายออกมาทางอุจจาระของนกและติดต่อสู่สัตว์ปีกที่ได้รับเชื้อทางระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร โดยปกติโรคนี้จะติดต่อสู่คนได้ยาก แต่คนที่สัมผัสหรือใกล้ชิดกับสัตว์ที่เป็นโรคอาจติดเชื้อได้ มีรายงานการเกิดโรคนี้ในคนเป็นครั้งแรกเมื่อ ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 1997 <span lang=\"TH\">ที่ฮ่องกง เป็นการติดเชื้อจากการสัมผัสสัตว์ปีก และจากการเฝ้าระวังโรคพบว่ายังไม่มีการติดต่อระหว่างคนสู่คน</span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"> </span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"Pa7\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรค ได้แก่ ผู้ที่มีอาชีพเกี่ยวกับสัตว์ปีกและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับสัตว์ปีก ได้แก่ ผู้เลี้ยง ผู้ฆ่า ผู้ขนส่ง ผู้ขนย้าย ผู้ขายสัตว์ปีกและซากสัตว์ปีก สัตวบาล และสัตวแพทย์ รวมถึงเด็กๆ ที่เล่นและคุกคลีกับสัตว์ด้วย </span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกได้เกิดขึ้นกับประเทศในเอเชียรวมทั้งประเทศไทยด้วย โดยมีการแพร่ระบาดเข้าสู่ประเทศไทยใน พ</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\">.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2546 <span lang=\"TH\">จนถึงกลางปี พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2547 <span lang=\"TH\">มีระบาดมากในฟาร์มสัตว์ปีกในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือในบางพื้นที่ ทำให้รัฐบาลต้องออกมาตรการให้ผู้เลี้ยงไก่ทุกชนิดและเจ้าของฟาร์มไก่ทำลายไก่ในเขตพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค นอกจากนี้ยังพบผู้ที่ติดเชื้อไข้หวัดนกจากไก่และได้เสียชีวิตอีกหลายราย ทั้งนี้โรคไข้หวัดนกนอกจากจะมีผลกระทบต่อชีวิตของสัตว์ปีกและมนุษย์แล้ว ยังส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศอีกด้วย เนื่องจากประชาชนไม่กล้าจะบริโภคไก่หรือสัตว์ปีกชนิดอื่นๆ การส่งออกไก่ไปยังตลาดต่างประเทศถูกยกเลิกจากหลายประเทศ เกิดภาวะชะงักงันทางเศรษฐกิจในช่วงเวลาหนึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไข้หวัดนกที่เกิดกับมนุษย์และสัตว์ ทำให้ทั่วโลกต่างเร่งผลิตยารักษาโรคขึ้นมา แม้จะยังไม่มียารักษาที่หายขาดได้ แต่ก็สามารทำให้อาการทุเลาได้ รวมทั้งขอความร่วมมือกันของทุกประเทศในการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 26pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 26pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">โรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009</span></span><span style=\"font-size: 26pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"> 2009 <span lang=\"TH\">เกิดขึ้นตั้งแต่เดือนเมษายน ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2009 <span lang=\"TH\">เป็นการระบาดครั้งใหญ่ของไวรัสชนิดเอ</span> (A) <span lang=\"TH\">สายพันธุ์เอชวันเอ็นวัน</span> (H1N1) <span lang=\"TH\">ซึ่งทำให้ผู้ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ เมื่อไข้หวัดสายพันธุ์นี้เริ่มระบาดใหม่ๆ มีการเรียกกันว่า ไข้หวัดหมู</span> (Swine Influenza) <span lang=\"TH\">เนื่องจากเชื้อไวรัสที่เป็นต้นเหตุของการเป็นไข้หวัดนี้เกิดขึ้นกับหมูเมื่อครั้งมีการระบาดครั้งใหญ่ใน ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 1918 <span lang=\"TH\">แต่หลังจากการระบาดใหญ่ครั้งนั้นแล้วก็ไม่พบว่าไวรัสชนิดนี้สามารถติดต่อสู่คนมากนัก แต่การระบาดใน ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2009 <span lang=\"TH\">ที่เริ่มเกิดที่ประเทศเม็กซิโกและระบาดต่อไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา มีการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีผู้เสียชีวิตในเวลารวดเร็วเช่นกัน</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้ที่ติดเชื้อไวรัชนิดนี้จะมีอาการเหมือนกับเป็นไข้หวัดใหญ่อย่างรุนแรงก่อนจะเสียชีวิต จากการนำตัวอย่างเชื้อไปวิเคราะห์พบว่า</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เชื้อไวรัสเอชวันเอ็นวัน ที่ติดต่อในคนครั้งนี้มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสายพันธุ์ โดยพบว่าบางส่วนของเชื้อใหม่มาจากสายพันธุ์เอชไฟว์เอ็นวัน</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"> (H5N1) <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ปีกซึ่งก็ติดต่อสู่มนุษย์เช่นกัน เนื่องจากเชื้อไวรัสตัวใหม่นี้ติดต่อจากคนสู่คนด้วย จึงทำให้เกิดการแพร่ระบาดไปทั่วโลก และมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก องค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่าการระบาดของไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์นี้เป็นสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศและเกรงว่าจะกลายพันธุ์ต่อไปเนื่องจากการสามารถติดต่อได้กับทั้งสัตว์และมนุษย์ แต่ในสถานการณ์ที่เป็นอยู่ถึงปลาย ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2009 <span lang=\"TH\">นั้น ยาที่ใช้ในการรักษาคือ ยาต้ายไวรัสทามิฟลู</span> (Tamiflu) <span lang=\"TH\">และรีเล็นซา</span> (Relenza) <span lang=\"TH\">นั้น สามารถรักษาผู้ป่วยให้หายได้หากได้รับยาภายใน</span> 48 <span lang=\"TH\">ชั่วโมงหลังจากมีอาการเป็นไข้หวัดใหญ่เท่านั้น เนื่องจาก การเรียกไข้หวัดที่เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดนี้ทำให้คนเข้าใจผิดว่ารับประทานหมูไม่ได้เพราะจะทำให้ติดโรคนี้ประการหนึ่ง แต่ประการสำคัญคือมันเป็นเชื้อไวรัสเอชวันเอ็นวันที่กลายพันธุ์แล้ว จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่</span> 2009<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การติดต่อไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\"> 2009 <span lang=\"TH\">สามารถติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ได้เช่นเดียวกับ ไข้หวัดใหญ่ที่เป็นกันโดยปกติทั่วไป คือ จากการได้รับเชื้อจากผู้ที่มีเชื้อนี้ซึ่งแพร่ด้วยการไอหรือจาม เมื่อน้ำลายหรือน้ำมูกซึ่งเป็นละอองลอยไปในอากาศ ผู้ที่หายใจเอาละอองนี้เข้าไปก็มีโอกาสติดเชื้อเช่นเดียวกัน น้ำมูกหรือน้ำลายของคนที่มีเชื้อนี้ที่ไอหรือจามหรือเปื้อนมือแล้วไปจับไปเช็ดติดอยู่ตามที่ต่างๆ เช่น ภาชนะ ตามลูกบิดประตู หรือราวบันได ก็สามารถทำให้ผู้ที่มาสัมผัสติดเชื้อนี้ได้ และหากมีการติดเชื้อจะมีอาการไอ จาม เจ็บคอ เป็นไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #221e1f; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">จากลักษณะของการแพร่เชื้อโรคดังกล่าว การป้องกันการแพร่เชื้อและการป้องกันตนเองจึงต้องเกิดจากการที่ผู้ที่เป็นไข้หวัดใหญ่ต้องระวังตัวเองไม่ให้เป็นผู้แพร่เชื้อด้วยการนอนพักอยู่ กับบ้าน ล้างมือให้สะอาด ใส่หน้ากาก และใช้ผ้าเช็ดหน้าหรือกระดาษเช็ดหน้าปิดปากเวลาไอหรือจาม รวมทั้งให้รับประทานอาหารที่ปรุงสุกร้อนๆ สำหรับผู้ที่ไม่เป็นโรคนี้ก็ต้องป้องกันตนเองด้วยการใส่หน้ากากเมื่ออยู่ในที่ชุมนุมชน หรือบริเวณที่มีผู้ไอหรือจาม หลีกเลี่ยงการหยิบจับสิ่งของต่างๆ ที่เป็นของสาธารณะ ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆเนื่องจากเชื้อโรคอาจติดมาจากการไปสัมผัสสิ่งของที่มีเชื้อโรคอยู่ รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และรักษาสุขภาพให้แข็งแรง</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #221e1f; font-family: \'PSL Text Pro ฐ5@-*A-% \'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span> </p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n \n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715455568, expire = 1715541968, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a364e9dfe5dcd83a41e664ed01768b5a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ปัญหาโรคระบาด

รายงาน

 

วิชา ประวัติศาสตร์

 

เรื่อง ปัญหาโรคระบาด

                                      

เสนอ

                                                                

อาจารย์ วัชรี กมลเสรีรัตน์

 

จัดทำโดย

                                นางสาว ศิรพร  เหมือนศรีชัย  ม.4/3 เลขที่ 2

                                              นางสาว   เกวลี  หนูสิทธิ์        ม.4/3 เลขที่ 7

                                                        นางสาว   ศศิประภา ภูขีด       ม.4/3  เลขที่ 9

                                                         นางสาว   พรภัสสร นักฟ้อน  ม.4/3  เลขที่  10

                                                         นางสาว    จิราภรณ์  ประทุมทอง ม.4/3 เลขที่ 23

                                                          นางสาว   จินตหรา  แก่นท้าว       ม.4/3 เลขที่ 33 

                                                            โรงเรียน ศีลาจารพิพัฒน์

คำนำ 

                รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ จัดทำขึ้นเพื่อให้ได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ โดยมีเนื่อเรื่องเกี่ยวกับปัญหาโรคระบาดเกี่ยวข้องเข้ามาด้วย หากว่ารายงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย


 

 

ปัญหาโรคระบาด

ในคริตศตวรรษที่ 21นี้ได้เกิดเหตุการณ์ทางด้านโรคติดต่อร้ายแรงหลายชนิดที่คุกคามมนุษยชาติ ส่งผลต่อความสูญเสียชีวิตของมนุษย์และสัตว์ปีกที่เป็นอาหารของมนุษย์ นอกจากนี้ยังสูญเสียงบประมาณในการรักษาและป้องกัน รวมทั้งภาพรวมทางเศรษฐกิจโดยรวมด้วย โรคติดต่อร้ายแรงในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ที่จะกล่าวถึง ได้แก่ โรคเอดส์ โรคไข้หวัดมรณะ โรคไข้หวัดนก และโรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009

โรคเอดส์

โรคเอดส์ (Acquired Immuno Deficiency Syndrome: AIDS) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสที่วงการแพทย์เรียกกันว่า Human Immuno Deficiency Virus หรือไวรัสที่ทำให้ภูมิคุ้มกันของมนุษย์บกพร่อง ซึ่งนิยมเรียกกันย่อๆ ตามอักษรตัวแรกของชื่อไวรัสนี้ในภาษาอังกฤษว่าเอชไอวี (HIV) เมื่อเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์แล้ว จะมีการฟักตัวอยู่ระยะเวลาหนึ่ง บางครั้งอาจใช้เวลานานหลายปีโดยไม่ได้แสดงอาการผิดปกติใดๆ ต่อมาไวรัสก็จะเพิ่มจำนวนมากขึ้นและทำลายภูมิคุ้มกันของร่างกายให้เสื่อมลงเรื่อยๆ ในที่สุดร่างกายก็ไม่สามารถป้องกันตัวเองจากการติดเชื้อโรคใดๆ ทำให้ติดเชื้อโรคอื่นๆ เช่น ปอดบวม วัณโรค มะเร็งบางชนิด ปอดอักเสบ สมองอักเสบ แทรกตามมาได้ง่ายและจะปรากฏอาการของโรคเอดส์ขึ้นมา โรคเอดส์เป็นโรคที่ค้นพบครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อ ค.. 1981 โดยศูนย์ควบคุมโรคของสหรัฐอเมริกาพบว่าคนไข้ชายหนุ่มที่เป็นรักร่วมเพศจำนวนหนึ่งที่เข้ารับการตรวจที่ห้องปฏิบัติการ มีการทำงานของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานโรคเสียไปและเสียชีวิตลงเพราะภูมิคุ้มกันโรคบกพร่องเสีย จึงทำให้มีผู้เสนอเรียกชื่อว่าโรคว่า AIDS ต่อมาโรคเอดส์เป็นที่รู้จักมากขึ้นเมื่อดาราภาพยนตร์ชื่อ ร็อค ฮัดสัน ได้เปิดเผยว่าตนเองเป็นโรคนี้และติดโรคนี้จากการมี

พฤติกรรมรักร่วมเพศ เพื่อเตือนให้สาธารณชนตระหนักถึงอันตรายของโรคซึ่งยังไม่มีทางรักษาให้หายได้ สถานการณ์ของโรคเอดส์ในปัจจุบันพบว่ามีความรุนแรงและขยายวงกว้างไปทั่วทุกภูมิภาคของโลก จากสถิติขององค์การอนามัยโลกระบุว่าใน ค.. 1994 ทั่วโลกมีประชากรที่ติดโรคเอดส์ประมาณ 4 ล้านคน ในขณะที่สถิติ ค.. 1993 มีประชากรที่เป็นเอดส์เพียง 2.5 ล้านคน นับเป็นการเพิ่มจำนวนคนเป็นเอดส์ถึง 60 เปอร์เซ็นต์ในช่วงเวลาเพียงปีเดียว และจากการประมาณโดยการสันนิษฐานทางการแพทย์ของสหประชาชาติ คาดว่านับตั้งแต่โรคเอดส์เกิดขึ้นจนถึงปัจจุบัน มีผู้ติดเชื้อเอดส์อยู่ประมาณ 40 ล้านคนและเสียชีวิตแล้วประมาณ 3 ล้านคน โดยมีสาเหตุการติดเชื้อที่สำคัญมาจากการมีเพศสัมพันธ์กับคนที่มีเชื้อไวรัสเอชไอวี โดยเชื้อไวรัสนี้จะอยู่ในของเหลวที่ขับออกมาจากอวัยวะเพศของทั้งชายและหญิง

      การมีเพศสัมพันธ์กับคนหลายคนจะทำให้มีอัตราการเสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสได้สูงกว่าปกติ รองลงมา คือ การติดเชื้อจากการได้รับเลือดที่มีเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าไป การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันโดยเฉพาะในหมู่ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด และการติดเชื้อของทารกจากมารดาที่เป็นโรคเอดส์ จากภัยอันตรายจากโรคเอดส์ที่มีการแผ่ระบาดอย่างรวดเร็วทั่วโลกและยังไม่ทางรักษาหายขาดได้ ประชาคมโลกต่างตระหนักถึงภัยอันตรายที่คุกคามต่อมนุษยชาติดังกล่าว จึงได้จัดให้มีการประชุมนานาชาติเรื่องโรคเอดส์ (ACCESS FOR ALL 2004) ขึ้นในประเทศไทยเมื่อเดือนกันยายน ค.. 2004 ทั้งนี้มีผู้นำระดับโลก รวมทั้งดารา นักร้องที่มีชื่อเสียงระดับโลก นักวิชาการ ผู้ทำงานด้านโรคเอดส์ และเครือข่ายกลุ่มผู้ติดเชื้อจากประเทศต่างๆ ได้เข้าร่วมงานจำนวนมาก ถือเป็นการประชุมเรื่องโรคเอดส์ครั้งใหญ่ที่สุด เพราะทุกประเทศต่างตระหนักถึงภัยอันตรายต่อชีวิตมนุษยชาติ จึงต้องหาทางร่วมกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรคไข้หวัดมรณะ

ไข้หวัดมรณะหรือซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome: SARS) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า SARS-associated coronvirus (SARS-CoV) และจากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกเชื่อว่าเชื้อไวรัสที่น่าจะเป็นสาเหตุของไข้หวัดมรณะ คือ เชื้อไวรัสที่มีชื่อว่าโคโรนาไวรัส (Corona Virus) ซึ่งเชื้อไวรัสนี้สามารถทำให้เกิดโรคได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ เมื่อใดที่ต้องออกมาอยู่ภายนอกร่างกายก็จะถูกทำลายลงได้ง่าย โดยทั่วไปจะอยู่ได้ไม่เกิน 3 ชั่วโมง และหากอยู่ในบริเวณที่มีแสงแดด ความร้อนและรังสียูวีในแสงแดดจะทำลายเชื้อโรคภายในเวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง นอกจากนี้น้ำยาฆ่าเชื้อโรคที่ใช้ในบ้านหรือสำนักงานทั่วไปก็สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ด้วยเช่นกัน ไข้หวัดมรณะหรือโรคซาร์สได้เริ่มคุกคามมนุษย์และแพร่ระบาดมากใน ค.. 2003 โดยประเทศที่ได้รับเชื้อไข้หวัดมรณะรุนแรง ได้แก่ จีน สิงคโปร์ ไต้หวัน แคนาดา ฮ่องกง และเวียดนาม ทั้งนี้การติดต่อของโรคไข้หวัดมรณะสามารถติดต่อได้โดยการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย เนื่องจากจะมีเชื้อแพร่ออกมากับน้ำมูก เสมหะ และน้ำลายของผู้ป่วย เมื่อเวลาไอหรือจาม เมื่อ ผู้อยู่ใกล้สูดดมหรือหายใจเข้าไปจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อผ่านมากับสิ่งของเครื่องใช้ เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดมือ ช้อน หลอดดูดน้ำ เป็นต้น เมื่อใครได้รับเชื้อโรคหวัดมรณะแล้วจะมีระยะการฟักตัว 2-7 วัน หลังจากนั้นจะมีอาการเป็นไข้ ไอแห้งๆ เจ็บหน้าอก หอบ ในรายที่ป่วยหนักจะต้องใช้เครื่องหายใจเข้าช่วย ส่วนการรักษานั้น ยังไม่มียารักษาโรคโดยตรง บางรายต้องให้ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านไวรัสตามอาการ ไข้หวัดมรณะจึงถือเป็นมหันตภัยร้ายแรงที่คุกคามมนุษย์ในปัจจุบัน ซึ่งประเทศต่างๆ ทั่วโลกต่างเฝ้าระวังในการแพร่ระบาดเข้าสู่ประเทศของตนเพื่อปกป้องชีวิตของประชาชนอย่างเต็มที่ โรคไข้หวัดนก

ไข้หวัดนก (Avian Influenza) ในภาษาอังกฤษเรียกโรคนี้กันอีกชื่อหนึ่งว่า Bird Flu ซึ่งมีผู้แปลเป็นภาษาไทยและใช้กันอย่างแพร่หลายว่า โรคไข้หวัดนก โดยแปลคำว่านกมาจากคำว่า bird ในภาษาอังกฤษนั่นเอง แต่ที่จริงแล้วคำว่า bird ในภาษาอังกฤษไม่ได้หมายถึงเฉพาะนกเท่านั้น แต่หมายถึงสัตว์ปีกอื่นๆ ด้วย ไข้หวัดนกเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสชื่อ Avian Influenza Type A เป็นสายพันธุ์ที่พบในนกซึ่งเป็นแหล่งโรคในธรรมชาติ ที่พบมาก ได้แก่ นกเป็ดน้ำ นกอพยพ และนกตามธรรมชาติ การติดต่อในหมู่สัตว์ติดต่อได้โดยเชื้อไวรัสถูกขับถ่ายออกมาทางอุจจาระของนกและติดต่อสู่สัตว์ปีกที่ได้รับเชื้อทางระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร โดยปกติโรคนี้จะติดต่อสู่คนได้ยาก แต่คนที่สัมผัสหรือใกล้ชิดกับสัตว์ที่เป็นโรคอาจติดเชื้อได้ มีรายงานการเกิดโรคนี้ในคนเป็นครั้งแรกเมื่อ ค.. 1997 ที่ฮ่องกง เป็นการติดเชื้อจากการสัมผัสสัตว์ปีก และจากการเฝ้าระวังโรคพบว่ายังไม่มีการติดต่อระหว่างคนสู่คน

ผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรค ได้แก่ ผู้ที่มีอาชีพเกี่ยวกับสัตว์ปีกและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับสัตว์ปีก ได้แก่ ผู้เลี้ยง ผู้ฆ่า ผู้ขนส่ง ผู้ขนย้าย ผู้ขายสัตว์ปีกและซากสัตว์ปีก สัตวบาล และสัตวแพทย์ รวมถึงเด็กๆ ที่เล่นและคุกคลีกับสัตว์ด้วย

สถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกได้เกิดขึ้นกับประเทศในเอเชียรวมทั้งประเทศไทยด้วย โดยมีการแพร่ระบาดเข้าสู่ประเทศไทยใน พ.. 2546 จนถึงกลางปี พ.. 2547 มีระบาดมากในฟาร์มสัตว์ปีกในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือในบางพื้นที่ ทำให้รัฐบาลต้องออกมาตรการให้ผู้เลี้ยงไก่ทุกชนิดและเจ้าของฟาร์มไก่ทำลายไก่ในเขตพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค นอกจากนี้ยังพบผู้ที่ติดเชื้อไข้หวัดนกจากไก่และได้เสียชีวิตอีกหลายราย ทั้งนี้โรคไข้หวัดนกนอกจากจะมีผลกระทบต่อชีวิตของสัตว์ปีกและมนุษย์แล้ว ยังส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศอีกด้วย เนื่องจากประชาชนไม่กล้าจะบริโภคไก่หรือสัตว์ปีกชนิดอื่นๆ การส่งออกไก่ไปยังตลาดต่างประเทศถูกยกเลิกจากหลายประเทศ เกิดภาวะชะงักงันทางเศรษฐกิจในช่วงเวลาหนึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไข้หวัดนกที่เกิดกับมนุษย์และสัตว์ ทำให้ทั่วโลกต่างเร่งผลิตยารักษาโรคขึ้นมา แม้จะยังไม่มียารักษาที่หายขาดได้ แต่ก็สามารทำให้อาการทุเลาได้ รวมทั้งขอความร่วมมือกันของทุกประเทศในการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว โรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 เกิดขึ้นตั้งแต่เดือนเมษายน ค.. 2009 เป็นการระบาดครั้งใหญ่ของไวรัสชนิดเอ (A) สายพันธุ์เอชวันเอ็นวัน (H1N1) ซึ่งทำให้ผู้ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ เมื่อไข้หวัดสายพันธุ์นี้เริ่มระบาดใหม่ๆ มีการเรียกกันว่า ไข้หวัดหมู (Swine Influenza) เนื่องจากเชื้อไวรัสที่เป็นต้นเหตุของการเป็นไข้หวัดนี้เกิดขึ้นกับหมูเมื่อครั้งมีการระบาดครั้งใหญ่ใน ค.. 1918 แต่หลังจากการระบาดใหญ่ครั้งนั้นแล้วก็ไม่พบว่าไวรัสชนิดนี้สามารถติดต่อสู่คนมากนัก แต่การระบาดใน ค.. 2009 ที่เริ่มเกิดที่ประเทศเม็กซิโกและระบาดต่อไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา มีการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีผู้เสียชีวิตในเวลารวดเร็วเช่นกัน ผู้ที่ติดเชื้อไวรัชนิดนี้จะมีอาการเหมือนกับเป็นไข้หวัดใหญ่อย่างรุนแรงก่อนจะเสียชีวิต จากการนำตัวอย่างเชื้อไปวิเคราะห์พบว่าเชื้อไวรัสเอชวันเอ็นวัน ที่ติดต่อในคนครั้งนี้มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสายพันธุ์ โดยพบว่าบางส่วนของเชื้อใหม่มาจากสายพันธุ์เอชไฟว์เอ็นวัน (H5N1) ซึ่งเป็นไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ปีกซึ่งก็ติดต่อสู่มนุษย์เช่นกัน เนื่องจากเชื้อไวรัสตัวใหม่นี้ติดต่อจากคนสู่คนด้วย จึงทำให้เกิดการแพร่ระบาดไปทั่วโลก และมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก องค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่าการระบาดของไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์นี้เป็นสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศและเกรงว่าจะกลายพันธุ์ต่อไปเนื่องจากการสามารถติดต่อได้กับทั้งสัตว์และมนุษย์ แต่ในสถานการณ์ที่เป็นอยู่ถึงปลาย ค.. 2009 นั้น ยาที่ใช้ในการรักษาคือ ยาต้ายไวรัสทามิฟลู (Tamiflu) และรีเล็นซา (Relenza) นั้น สามารถรักษาผู้ป่วยให้หายได้หากได้รับยาภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากมีอาการเป็นไข้หวัดใหญ่เท่านั้น เนื่องจาก การเรียกไข้หวัดที่เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดนี้ทำให้คนเข้าใจผิดว่ารับประทานหมูไม่ได้เพราะจะทำให้ติดโรคนี้ประการหนึ่ง แต่ประการสำคัญคือมันเป็นเชื้อไวรัสเอชวันเอ็นวันที่กลายพันธุ์แล้ว จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009การติดต่อไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 สามารถติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ได้เช่นเดียวกับ ไข้หวัดใหญ่ที่เป็นกันโดยปกติทั่วไป คือ จากการได้รับเชื้อจากผู้ที่มีเชื้อนี้ซึ่งแพร่ด้วยการไอหรือจาม เมื่อน้ำลายหรือน้ำมูกซึ่งเป็นละอองลอยไปในอากาศ ผู้ที่หายใจเอาละอองนี้เข้าไปก็มีโอกาสติดเชื้อเช่นเดียวกัน น้ำมูกหรือน้ำลายของคนที่มีเชื้อนี้ที่ไอหรือจามหรือเปื้อนมือแล้วไปจับไปเช็ดติดอยู่ตามที่ต่างๆ เช่น ภาชนะ ตามลูกบิดประตู หรือราวบันได ก็สามารถทำให้ผู้ที่มาสัมผัสติดเชื้อนี้ได้ และหากมีการติดเชื้อจะมีอาการไอ จาม เจ็บคอ เป็นไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมากจากลักษณะของการแพร่เชื้อโรคดังกล่าว การป้องกันการแพร่เชื้อและการป้องกันตนเองจึงต้องเกิดจากการที่ผู้ที่เป็นไข้หวัดใหญ่ต้องระวังตัวเองไม่ให้เป็นผู้แพร่เชื้อด้วยการนอนพักอยู่ กับบ้าน ล้างมือให้สะอาด ใส่หน้ากาก และใช้ผ้าเช็ดหน้าหรือกระดาษเช็ดหน้าปิดปากเวลาไอหรือจาม รวมทั้งให้รับประทานอาหารที่ปรุงสุกร้อนๆ สำหรับผู้ที่ไม่เป็นโรคนี้ก็ต้องป้องกันตนเองด้วยการใส่หน้ากากเมื่ออยู่ในที่ชุมนุมชน หรือบริเวณที่มีผู้ไอหรือจาม หลีกเลี่ยงการหยิบจับสิ่งของต่างๆ ที่เป็นของสาธารณะ ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆเนื่องจากเชื้อโรคอาจติดมาจากการไปสัมผัสสิ่งของที่มีเชื้อโรคอยู่ รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และรักษาสุขภาพให้แข็งแรง


 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 295 คน กำลังออนไลน์