• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f831ce1fbc35792916b6cf10e57af046' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u41197/anigif42.gif\" height=\"200\" style=\"width: 447px; height: 201px\" />\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/85964\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif66.gif\" height=\"90\" style=\"width: 154px; height: 32px\" /></a><a href=\"/node/85960\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif1234.gif\" height=\"94\" style=\"width: 158px; height: 33px\" /></a><a href=\"/node/85082\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif6.gif\" height=\"93\" style=\"width: 164px; height: 33px\" /></a><a href=\"/node/82236\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/902.gif\" height=\"95\" style=\"width: 151px; height: 32px\" /></a> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #543f26\"><strong>    ได้แก่สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (Blue-green algae) พบได้ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม ที่ชื้นโดยการเกาะอยู่กับวัตถุหรือก้อน หินที่อยู่ในน้ำสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #553b1a\"><strong>        </strong><strong><span style=\"color: #ff6600\"> ลักษณะสำคัญดังนี้ <br />\n</span>- เซลล์เป็นแบบโพรคาริโอต ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส <br />\n- ภายในเซลล์ไม่มีเม็ดคลอโรพลาสต์ มีแต่คลอโรฟิลล์ เอ แคโรทีน (Carotine) แซนโทฟิลล์ (Xanthophyll)  ไฟโคอิริทริน(Phycoerythirin) ซึ่งเป็น สารสีแดง ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin) ซึ่งเป็นสารสีน้ำเงินจึงทำให้สาหร่ายชนิดนี้เป็นสีเขียวปนน้ำเงิน <br />\n- ผนังเซลล์เป็นสารเพปทิโดไกลแคน คือ มีพอลิแซคาไรด์เกาะอยู่กับเพปไทด์ ผนังเซลล์มักถูหุ้มด้วยเมือก ซึ่งมีลักษณะคล้ายวุ้นทำให้ลื่น <br />\n- อาหารสะสมเป็นสารคาร์โบไฮเดรต คือ ไกลโคเจน (Glycogen) และมีชื่อเฉพาะว่า ไซยาโนไฟเซียน สตาร์ช(Cyanophysean starch) <br />\n- ไม่มีแฟลเจลลา จึงเคลื่อนที่ด้วยตัวเองไม่ได้ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #553b1a\"><strong>        <span style=\"color: #008000\"> การสืบพันธุ์ </span>มีเฉพาะการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศเท่านั้น ได้แก่ การแบ่งตัว การหักหรือขาด </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #553b1a\"><strong>         <span style=\"color: #800080\">สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินมีหลายชนิด</span> เช่น<br />\n- พวกที่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือกลุ่ม เช่น ครูโอคอคคัส(Chroococcus) แอนาซีสทีส(Anacystis)<br />\n- ที่เป็นสาย เช่น ออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) นอสตอก(Nostoc) แอนาบีนา (Anabaena) สไปรูลินา(Spirulina) </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #553b1a\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #553b1a\"></span><span style=\"color: #553b1a\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<strong></strong><strong><img border=\"0\" width=\"510\" src=\"/files/u41197/cyanophyta1.jpg\" height=\"289\" style=\"width: 420px; height: 237px\" /> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"http://justopia.files.wordpress.com/2007/05/cyanophyta.jpg\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://justopia.files.wordpress.com/2007/05/cyanophyta.jpg</span></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"http://justopia.files.wordpress.com/2007/05/cyanophyta.jpg\"><u><span style=\"font-size: small; color: #800080; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: x-small\"><img border=\"0\" width=\"360\" src=\"/files/u41197/Oscillatoria_Key61.jpg\" height=\"288\" style=\"width: 258px; height: 228px\" /> </span></span></u></a>       <img border=\"0\" width=\"580\" src=\"/files/u41197/Spirulina_2b.jpg\" height=\"476\" style=\"width: 232px; height: 227px\" /> \n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"http://silicasecchidisk.conncoll.edu/Pics/Other%20Algae/Blue_Green%20jpegs/Oscillatoria_Key61.jpg\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://silicasecchidisk.conncoll.edu/Pics/Other%20Algae/Blue_Green%20jpegs/Oscillatoria_Key61.jpg</span></strong></a> (ซ้าย)\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /></strong><strong><span style=\"color: #00ffff\"> </span></strong><a href=\"/files/u19951/Spirulina_2b.jpg\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://www.thaigoodview.com/files/u19951/Spirulina_2b.jpg</span></strong></a> (ขวา)\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"><strong>ที่มาของข้อมูล </strong></span><a href=\"http://www.magicit.net/biology/site/monera/cyanophyta.html\"><span style=\"color: #800000\"><strong>http://www.magicit.net/biology/site/monera/cyanophyta.html</strong></span></a>\n</p>\n', created = 1727576758, expire = 1727663158, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f831ce1fbc35792916b6cf10e57af046' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

$@y Hi!!! Cyanophyta

 

    ได้แก่สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (Blue-green algae) พบได้ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม ที่ชื้นโดยการเกาะอยู่กับวัตถุหรือก้อน หินที่อยู่ในน้ำสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน

         ลักษณะสำคัญดังนี้
- เซลล์เป็นแบบโพรคาริโอต ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
- ภายในเซลล์ไม่มีเม็ดคลอโรพลาสต์ มีแต่คลอโรฟิลล์ เอ แคโรทีน (Carotine) แซนโทฟิลล์ (Xanthophyll)  ไฟโคอิริทริน(Phycoerythirin) ซึ่งเป็น สารสีแดง ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin) ซึ่งเป็นสารสีน้ำเงินจึงทำให้สาหร่ายชนิดนี้เป็นสีเขียวปนน้ำเงิน
- ผนังเซลล์เป็นสารเพปทิโดไกลแคน คือ มีพอลิแซคาไรด์เกาะอยู่กับเพปไทด์ ผนังเซลล์มักถูหุ้มด้วยเมือก ซึ่งมีลักษณะคล้ายวุ้นทำให้ลื่น
- อาหารสะสมเป็นสารคาร์โบไฮเดรต คือ ไกลโคเจน (Glycogen) และมีชื่อเฉพาะว่า ไซยาโนไฟเซียน สตาร์ช(Cyanophysean starch)
- ไม่มีแฟลเจลลา จึงเคลื่อนที่ด้วยตัวเองไม่ได้

         การสืบพันธุ์ มีเฉพาะการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศเท่านั้น ได้แก่ การแบ่งตัว การหักหรือขาด

         สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินมีหลายชนิด เช่น
- พวกที่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือกลุ่ม เช่น ครูโอคอคคัส(Chroococcus) แอนาซีสทีส(Anacystis)
- ที่เป็นสาย เช่น ออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) นอสตอก(Nostoc) แอนาบีนา (Anabaena) สไปรูลินา(Spirulina)


 

http://justopia.files.wordpress.com/2007/05/cyanophyta.jpg

 

 

 

         

 

 

http://silicasecchidisk.conncoll.edu/Pics/Other%20Algae/Blue_Green%20jpegs/Oscillatoria_Key61.jpg (ซ้าย)

 

 http://www.thaigoodview.com/files/u19951/Spirulina_2b.jpg (ขวา)

 

ที่มาของข้อมูล http://www.magicit.net/biology/site/monera/cyanophyta.html

สร้างโดย: 
นายธนพล กลิ่นเมือง และนางสาวศุภนุช ยิบแสงทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 271 คน กำลังออนไลน์