• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f483bfa0e539f3c9c1151dfe2c2f17e1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #664528\"><span style=\"color: #008000\">            </span></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><strong></strong></span><span><strong></strong></span><span><strong></strong></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u41197/anigif42.gif\" height=\"200\" style=\"width: 447px; height: 201px\" />\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/85964\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif66.gif\" height=\"90\" style=\"width: 154px; height: 32px\" /></a><a href=\"/node/85960\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif1234.gif\" height=\"94\" style=\"width: 158px; height: 33px\" /></a><a href=\"/node/85082\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif6.gif\" height=\"93\" style=\"width: 164px; height: 33px\" /></a><a href=\"/node/82236\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/902.gif\" height=\"95\" style=\"width: 151px; height: 32px\" /></a>\n</p>\n<p><span><strong> </strong></span><span><strong>เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกหมวดหมู่ของอาณาจักรสัตว์ </strong><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff6600\"><br />\n</span></span><strong>   ปัจจุบันสัตว์ในโลกที่มนุษย์รู้จักมีมากกว่า 1 ล้านสปีชีส์ พบทั้งในน้ำจืด น้ำเค็มและบนบก จำแนกออกเป็น 2 กลุ่มคือ                              --&gt; <span style=\"color: #99cc00\">สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง</span> (invertebrate) <br />\n                                  --&gt; <span style=\"color: #99cc00\">สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง</span> (vertebrate) </strong></span><span></span><span></span></p>\n<p>\n<strong>             </strong><strong><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #3366ff\">การจัดจำแนก</span>จะใช้เกณฑ์ดังนี้ <br />\n</span>     1. <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #33cccc\">ระดับการทำงานร่วมกันของเซลล์</span></span> (level of cell organization) ดูการร่วมกันทำงานของเซลล์และการจัดเป็นเนื้อเยื่อนั้น แบ่งเป็น<br />\n            1.1 <span style=\"color: #ff9900\">เนื้อเยื่อที่ไม่แท้จริง</span> ( no true tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า พาราซัว (parazoa) เนื่องจากเซลล์ในสัตว์กลุ่มนี้ไม่มีการประสานงานกันระหว่างเซลล์ โดยทุกเซลล์มีหน้าที่ในการดำรงชีวิตของตนเอง หน้าที่ทั่วไปคือด้านโภชนาการ และสืบพันธุ์ ได้แก่ พวกฟองน้ำ <br />\n            1.2 <span style=\"color: #ff9900\">เนื้อเยื่อที่แท้จริง</span> (true tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า ยูเมตาซัว (eumetazoa) เนื้อเยื่อจะถูกสร้างเป็นชั้น หรือเรียกว่า ชั้นของเนื้อเยื่อ (germ layer) มี 2 ประเภทคือ  </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>                =&gt; <span style=\"color: #ffcc00\">เนื้อเยื่อ 2 ชั้น</span> (diploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน   (endoderm) ได้แก่ พวกไฮดรา แมงกะพรุน โอบีเลีย <br />\n                =&gt; <span style=\"color: #ffcc00\">เนื้อเยื่อ 3 ชั้น</span> (triploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก ชั้นกลาง (mesoderm) และชั้นใน  ได้แก่ หนอนตัวแบนจนถึงสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง  </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u31940/emoticon_003BeigBear.gif\" height=\"50\" /> </strong>\n</div>\n<p>\n<strong>      2. <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #33cccc\">สมมาตร</span></span> (symmetry) คือการแบ่งร่างกายเป็นซีก ๆ ตามความยาวของซีกเท่า ๆ กัน มีอยู่ 3 ลักษณะ <br />\n            2.1 <span style=\"color: #ff9900\">ไม่มีสมมาตร</span> (asymmetry) รูปร่างไม่แน่นอน ไม่สามารถแบ่งซีกซ้ายและซีกขวาได้ เท่า ๆ กัน  ได้แก่ พวกฟองน้ำ <br />\n            2.2 <span style=\"color: #ff9900\">สมมาตรแบบรัศมี</span> (radial symmetry) ร่างกายมีรูปร่างคล้ายทรงกระบอก หรือล้อรถ ถ้าตัดผ่านจุดศูนย์กลางจะตัดอย่างไรก็ได้ 2 ส่วนที่เท่ากันเสมอ หรือเรียกว่า มีสมมาตรในแนวรัศมี ได้แก่ สัตว์พวกไฮดรา แมงกะพรุน ดาวทะเล เม่นทะเล <br />\n            2.3 <span style=\"color: #ff9900\">สมมาตรแบบครึ่งซีก</span> (bilateral symmetry) สมมาตรนี้สามารถผ่าหรือตัดแบ่งครึ่งร่างกายตามความยาวของลำตัวแล้วทำให้ 2 ข้างเท่ากัน ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลัง </strong>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u31940/2.gif\" height=\"50\" /> </strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>       3. <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #33cccc\">ลักษณะช่องว่างในลำตัวหรือช่องตัว</span></span> (body cavity or coelom) คือช่องว่างภายในลำตัวที่อยู่ระหว่างผนังลำตัวกับอวัยวะภายใน ภายใน coelom จะมีของเหลวอยู่เต็ม ของเหลวเหล่านี้ทำหน้าที่เสมือนหนึ่งระบบไหลเวียนโลหิตง่าย ๆ ในสัตว์บางพวกช่วยลำเลียงสารอาหาร ออกซิเจน และของเสีย เป็นต้น อีกทั้งยังช่วยลดแรงกระแทกจากภายนอกที่อาจเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน และยังเป็นบริเวณที่ทำให้อวัยวะภายในเคลื่อนที่ได้อิสระจากผนังลำตัว ยอมให้อวัยวะขยายใหญ่ได้ จำแนกสัตว์ได้ แบ่งเป็น 3 พวกคือ <br />\n             3.1 <span style=\"color: #ff9900\">ไม่มีช่องว่างในลำตัวหรือไม่มีช่องตัว</span> (no body cavity or acoelom) เป็นพวกมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นอยู่ชิดกัน โดยไม่มีช่องว่างในแต่ละชั้น ได้แก่พวกหนอนตัวแบน <br />\n             3.2 <span style=\"color: #ff9900\">มีช่องตัวเทียม</span> (pseudocoelom) เป็นช่องตัวที่เจริญอยู่ระหว่าง mesoderm ของผนังลำตัว และ  endoderm ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร ช่องตัวนี้ไม่มีเยื่อบุช่องท้องกั้นเป็นขอบเขต ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม <br />\n             3.3 <span style=\"color: #ff9900\">มีช่องตัวที่แท้จริง</span> (eucoelom or coelom) เป็นช่องที่เจริญแทรกอยู่ระหว่าง mesoderm 2 ชั้น คือ mesoderm ชั้นนอกเป็นส่วนหนึ่งของผนังลำตัว (body wall) กับ mesoderm ชั้นในซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผนังลำไส้ (intestinal wall) และ mesoderm ทั้งสองส่วนจะบุด้วยเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum) ได้แก่ ไส้เดือนดิน  หอย แมลง ปลา สัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นต้น <br />\n     </strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u31940/emoticon_009SkyBlueBear.gif\" height=\"50\" /> </strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<p>\n<strong>       4. <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #33cccc\">การเกิดช่องปาก</span></span> แบ่งตามการเกิดช่องปากได้ 2 กลุ่ม <br />\n             4.1 <span style=\"color: #ff9900\">โปรโตสโตเมีย</span> (protostomia) ช่องปากเกิดก่อนช่องทวารในขณะที่เป็นตัวอ่อน ช่องปากเกิดจากบลาสโตพอร์ หรือบริเวณใกล้ ๆ บลาสโตพอร์ (blastopore) ได้แก่ พวกหนอนตัวแบน หนอนตัวกลม หนอนมีปล้อง หอย สัตว์ขาปล้อง <br />\n             4.2 <span style=\"color: #ff9900\">ดิวเทอโรสโตเมีย</span> (deuterostomia) ช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร เกิดจากช่องใหม่ที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นทางเดินอาหารซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ บลาสโตพอร์ ได้แก่ ดาวทะเล และสัตว์มีกระดูกสันหลัง <br />\n      </strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u31940/emoticon_008PinkBear.gif\" height=\"50\" /> </strong>\n</div>\n<p>\n<strong>       5. <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #33cccc\">ทางเดินอาหาร</span></span> (digestive tract) แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ <br />\n             5.1 <span style=\"color: #ff9900\">ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์</span> (incomplete digestive tract) เป็นทางเดินอาหารของสัตว์ที่มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก หรือมีช่องทางเดินอาหารเข้าออกทางเดียวกัน ได้แก่ไฮดรา แมงกะพรุน หนอนตัวแบน <br />\n             5.2 <span style=\"color: #ff9900\">ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์</span> (complete digestive tract) เป็นทางเดินอาหารของสัตว์ที่มีทั้งปากและทวารหนัก หรือมีช่องทางเข้าออกของอาหารคนละทางกัน  ได้แก่ หนอนตัวกลม  สัตว์มีกระดูกสันหลัง <br />\n      </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>       6. <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #33cccc\">การแบ่งเป็นปล้อง</span></span> (segmentation) เป็นการเกิดรอยคอดขึ้นกับลำตัวแบ่งออกเป็น <br />\n             6.1 <span style=\"color: #ff9900\">การแบ่งเป็นปล้องเฉพาะภายนอก</span> (superficial segmentation) เกิดปล้องขึ้นเฉพาะที่ส่วนผิวลำตัวเท่านั้นไม่ได้เกิดตลอดตัว เช่น พยาธิตัวตืด <br />\n             6.2 <span style=\"color: #ff9900\">การแบ่งเป็นปล้องที่แท้จริง</span> (metameric segmentation) เกิดปล้องขึ้นตลอดลำตัวทั้งภายนอกและภายใน โดยข้อปล้องเกิดขึ้นในเนื้อเยื่อชั้นกลาง ทำให้เนื้อเยื่อชั้นอื่น ๆ เกิดเป็นปล้องไปด้วย ได้แก่ ไส้เดือน กุ้ง ปู แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"588\" src=\"/files/u31940/image001.jpg\" height=\"600\" style=\"width: 635px; height: 600px\" /> </strong>\n</div>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ffff\"><a href=\"http://bio_up62.krubpom.com/b/image001.jpg\"><span style=\"color: #00ffff\"><strong><u>http://bio_up62.krubpom.com/b/image001.jpg</u></strong></span></a><strong>  </strong></span>\n</p>\n<p></p>', created = 1719639524, expire = 1719725924, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f483bfa0e539f3c9c1151dfe2c2f17e1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

$@y Hi!!! Kingdom Animalia

           

 เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกหมวดหมู่ของอาณาจักรสัตว์ 
   ปัจจุบันสัตว์ในโลกที่มนุษย์รู้จักมีมากกว่า 1 ล้านสปีชีส์ พบทั้งในน้ำจืด น้ำเค็มและบนบก จำแนกออกเป็น 2 กลุ่มคือ                              --> สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (invertebrate)
                                  --> สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง (vertebrate)

             การจัดจำแนกจะใช้เกณฑ์ดังนี้
     1. ระดับการทำงานร่วมกันของเซลล์ (level of cell organization) ดูการร่วมกันทำงานของเซลล์และการจัดเป็นเนื้อเยื่อนั้น แบ่งเป็น
            1.1 เนื้อเยื่อที่ไม่แท้จริง ( no true tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า พาราซัว (parazoa) เนื่องจากเซลล์ในสัตว์กลุ่มนี้ไม่มีการประสานงานกันระหว่างเซลล์ โดยทุกเซลล์มีหน้าที่ในการดำรงชีวิตของตนเอง หน้าที่ทั่วไปคือด้านโภชนาการ และสืบพันธุ์ ได้แก่ พวกฟองน้ำ
            1.2 เนื้อเยื่อที่แท้จริง (true tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า ยูเมตาซัว (eumetazoa) เนื้อเยื่อจะถูกสร้างเป็นชั้น หรือเรียกว่า ชั้นของเนื้อเยื่อ (germ layer) มี 2 ประเภทคือ 

                => เนื้อเยื่อ 2 ชั้น (diploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน   (endoderm) ได้แก่ พวกไฮดรา แมงกะพรุน โอบีเลีย
                => เนื้อเยื่อ 3 ชั้น (triploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก ชั้นกลาง (mesoderm) และชั้นใน  ได้แก่ หนอนตัวแบนจนถึงสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง 

      2. สมมาตร (symmetry) คือการแบ่งร่างกายเป็นซีก ๆ ตามความยาวของซีกเท่า ๆ กัน มีอยู่ 3 ลักษณะ
            2.1 ไม่มีสมมาตร (asymmetry) รูปร่างไม่แน่นอน ไม่สามารถแบ่งซีกซ้ายและซีกขวาได้ เท่า ๆ กัน  ได้แก่ พวกฟองน้ำ
            2.2 สมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry) ร่างกายมีรูปร่างคล้ายทรงกระบอก หรือล้อรถ ถ้าตัดผ่านจุดศูนย์กลางจะตัดอย่างไรก็ได้ 2 ส่วนที่เท่ากันเสมอ หรือเรียกว่า มีสมมาตรในแนวรัศมี ได้แก่ สัตว์พวกไฮดรา แมงกะพรุน ดาวทะเล เม่นทะเล
            2.3 สมมาตรแบบครึ่งซีก (bilateral symmetry) สมมาตรนี้สามารถผ่าหรือตัดแบ่งครึ่งร่างกายตามความยาวของลำตัวแล้วทำให้ 2 ข้างเท่ากัน ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลัง


       3. ลักษณะช่องว่างในลำตัวหรือช่องตัว (body cavity or coelom) คือช่องว่างภายในลำตัวที่อยู่ระหว่างผนังลำตัวกับอวัยวะภายใน ภายใน coelom จะมีของเหลวอยู่เต็ม ของเหลวเหล่านี้ทำหน้าที่เสมือนหนึ่งระบบไหลเวียนโลหิตง่าย ๆ ในสัตว์บางพวกช่วยลำเลียงสารอาหาร ออกซิเจน และของเสีย เป็นต้น อีกทั้งยังช่วยลดแรงกระแทกจากภายนอกที่อาจเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน และยังเป็นบริเวณที่ทำให้อวัยวะภายในเคลื่อนที่ได้อิสระจากผนังลำตัว ยอมให้อวัยวะขยายใหญ่ได้ จำแนกสัตว์ได้ แบ่งเป็น 3 พวกคือ
             3.1 ไม่มีช่องว่างในลำตัวหรือไม่มีช่องตัว (no body cavity or acoelom) เป็นพวกมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นอยู่ชิดกัน โดยไม่มีช่องว่างในแต่ละชั้น ได้แก่พวกหนอนตัวแบน
             3.2 มีช่องตัวเทียม (pseudocoelom) เป็นช่องตัวที่เจริญอยู่ระหว่าง mesoderm ของผนังลำตัว และ  endoderm ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร ช่องตัวนี้ไม่มีเยื่อบุช่องท้องกั้นเป็นขอบเขต ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม
             3.3 มีช่องตัวที่แท้จริง (eucoelom or coelom) เป็นช่องที่เจริญแทรกอยู่ระหว่าง mesoderm 2 ชั้น คือ mesoderm ชั้นนอกเป็นส่วนหนึ่งของผนังลำตัว (body wall) กับ mesoderm ชั้นในซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผนังลำไส้ (intestinal wall) และ mesoderm ทั้งสองส่วนจะบุด้วยเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum) ได้แก่ ไส้เดือนดิน  หอย แมลง ปลา สัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นต้น 
    

       4. การเกิดช่องปาก แบ่งตามการเกิดช่องปากได้ 2 กลุ่ม
             4.1 โปรโตสโตเมีย (protostomia) ช่องปากเกิดก่อนช่องทวารในขณะที่เป็นตัวอ่อน ช่องปากเกิดจากบลาสโตพอร์ หรือบริเวณใกล้ ๆ บลาสโตพอร์ (blastopore) ได้แก่ พวกหนอนตัวแบน หนอนตัวกลม หนอนมีปล้อง หอย สัตว์ขาปล้อง
             4.2 ดิวเทอโรสโตเมีย (deuterostomia) ช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร เกิดจากช่องใหม่ที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นทางเดินอาหารซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ บลาสโตพอร์ ได้แก่ ดาวทะเล และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
     

       5. ทางเดินอาหาร (digestive tract) แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
             5.1 ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete digestive tract) เป็นทางเดินอาหารของสัตว์ที่มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก หรือมีช่องทางเดินอาหารเข้าออกทางเดียวกัน ได้แก่ไฮดรา แมงกะพรุน หนอนตัวแบน
             5.2 ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (complete digestive tract) เป็นทางเดินอาหารของสัตว์ที่มีทั้งปากและทวารหนัก หรือมีช่องทางเข้าออกของอาหารคนละทางกัน  ได้แก่ หนอนตัวกลม  สัตว์มีกระดูกสันหลัง 
     

       6. การแบ่งเป็นปล้อง (segmentation) เป็นการเกิดรอยคอดขึ้นกับลำตัวแบ่งออกเป็น
             6.1 การแบ่งเป็นปล้องเฉพาะภายนอก (superficial segmentation) เกิดปล้องขึ้นเฉพาะที่ส่วนผิวลำตัวเท่านั้นไม่ได้เกิดตลอดตัว เช่น พยาธิตัวตืด
             6.2 การแบ่งเป็นปล้องที่แท้จริง (metameric segmentation) เกิดปล้องขึ้นตลอดลำตัวทั้งภายนอกและภายใน โดยข้อปล้องเกิดขึ้นในเนื้อเยื่อชั้นกลาง ทำให้เนื้อเยื่อชั้นอื่น ๆ เกิดเป็นปล้องไปด้วย ได้แก่ ไส้เดือน กุ้ง ปู แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด

http://bio_up62.krubpom.com/b/image001.jpg 

สร้างโดย: 
นายธนพล กลิ่นเมือง และนางสาวศุภนุช ยิบแสงทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 295 คน กำลังออนไลน์