• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b6d88f9f506e81fe79878cc5569044e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u41197/anigif42.gif\" height=\"200\" style=\"width: 447px; height: 201px\" />\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/85964\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif66.gif\" height=\"90\" style=\"width: 154px; height: 32px\" /></a><a href=\"/node/85960\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif1234.gif\" height=\"94\" style=\"width: 158px; height: 33px\" /></a><a href=\"/node/85082\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif6.gif\" height=\"93\" style=\"width: 164px; height: 33px\" /></a><a href=\"/node/82236\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/902.gif\" height=\"95\" style=\"width: 151px; height: 32px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\">สัตว์พวกซีเลนเทอราตา เเบ่งออกเป็น 3 คลาส คือ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\"><br />\n    --&gt; <span style=\"color: #99cc00\">hydrozoa</span>  ได้แก่</span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"> ไฮดรา โอบิเลีย เเละเเมงกะพรุนบางชนิด เป็นสัตว์น้ำๆจืด</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\">   --&gt;  <span style=\"color: #99cc00\">scyphozoa</span>  ได้แก่ เเมงกะพรุนส่วนใหญ่ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\">   --&gt;  <span style=\"color: #99cc00\">anthozoa</span> ได้แก่ ซีเเอนนีโมนี ปะการัง กัลปังหา ตาลปัดทะเล  เป็นสัตว์น้ำเค็ม</span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #533812\">             รูปร่าง มี2 เเบบ คือ <br />\n      -<span style=\"color: #00ff00\"> เเบบเมดูซ่า</span> รูปร่างคล้ายชามคว่ำมีปากอยู่ด้านล่าง เคลื่อนที่ได้โดยใช้ปากพ่นน้ำ<br />\n      - <span style=\"color: #00ff00\">เเบบโพลิป</span> รูปร่างคล้ายเเจกันหรือต้นไม้ มีปากอยู่ด้านบน มักเกาะนิ่งอยู่กับที่ <br />\n             วัฏจักรชีวิตของซีเลนเทอเรต ส่วนใหญ่มีช่วงเป็นเมดูซ่าเเละโพลิบ ยกเว้นไฮดรา  ปะการัง เเละดอกไม้ทะเล  มีเเต่ช่วงชีวิตที่เป็นโพลิบอย่างเดียว ไม่มีช่วงชีวิตที่เป็นเมดูซ่า <br />\n</span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"384\" src=\"/files/u41197/Coelenterata4.jpg\" height=\"384\" />\n</div>\n<p><strong><span style=\"color: #533812\"><a href=\"/files/u19961/cnipage.jpg\"><span style=\"color: #00ffff\">http://www.thaigoodview.com/files/u19961/cnipage.jpg</span></a></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"> </span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong></p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #533812\"><span style=\"color: #800080\">            ลักษณะร่างกาย</span><br />\n      -<span style=\"color: #993366\"> </span><span style=\"color: #cc99ff\">ร่างกายประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้น</span> คือ เอพิเดอร์มิสเเละเเกสโทรเดอร์มิส ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่ามีโซเกลีย</span></strong><strong><span style=\"color: #533812\">เเทรกอยู่ เเมงกะพรุนมีชั้นมีโซเกลียหนามาก ทำให้ดูเหมือนว่าร่างกายประกอบด้วยวุ้น<br />\n      - <span style=\"color: #cc99ff\">ลำตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียว </span>เรียกว่า ช่องเเกสโทรวาสคิวลาร์( gastrovascula cavity ) ทำหน้าที่เป็นทางเดินอาหาร   อาหารเข้าเเละกากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน <br />\n      - <span style=\"color: #cc99ff\">มีหนวดอยู่รอบปาก  </span>เรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle ) ใช้สำหรับจับเหยื่อ<br />\n      - <span style=\"color: #cc99ff\">ที่หนวดมีเซลล์สำหรับต่อย  </span>เรียกว่า ไนโดไซต์ ( cnidocyte ) เเละมีเข็มสำหรับต่อยเรียกว่า เนมาโทซิส ( nematocyst )<br />\nพวกเเมงกระพรุนไฟ เข็มต่อยนี้มีพิษทำให้เหยื่อเป็นอัมพาตหรือตายได้<br />\n</span></strong>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\">             <span style=\"color: #ff6600\">ระบบประสาท<br />\n</span>     - <span style=\"color: #ff9900\">ไฮดรา </span><span style=\"color: #513000\">มีเเบบตาข่าย</span> ( nerve net ) ซึ่งโยงใยทั่วร่างกาย ทำให้มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าพร้อมกันทั้งตัว <br />\n     - <span style=\"color: #ff9900\">เเมงกระพรุน</span>  มีเซลล์ประสาทตามขอบประสาทเเละมีใยประสาททั่วทั้งตัว มีอวัยวะรับเเสง ( eye spot )เเละอวัยวะควบคุมการทรงตัว ( statacyst ) <br />\n</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\">             <span style=\"color: #3366ff\">การเคลื่อนที่<br />\n</span>     - <span style=\"color: #33cccc\">ไฮดรา </span>เคลื่อนที่โดยใช้เทนทาเคิล<br />\n     - <span style=\"color: #33cccc\">เเมงกระพรุน</span> เคลื่อนที่โดยพ่นน้ำออกจากลำตัว <br />\n     - <span style=\"color: #33cccc\">ปะการัง</span> เกาะนิ่งอยู่กับที่ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\">            <span style=\"color: #008000\">การสืบพันธุ์</span>  มี 2 เเบบคือ <br />\n    - <span style=\"color: #99cc00\">เเบบไม่อาศัยเพศ</span> โดยการเเตกหน่อ พบในระยะรูปร่างเเบบโพลิบ<br />\n    - <span style=\"color: #99cc00\">เเบบอาศัยเพศ</span>  พบในระยะ รูปร่างเเบบเมดูซ่า ตัวอ่อนมีซิเลียว่ายน้ำได้เรียกว่า พลานูลา ( planula ) <br />\n</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\">           <span style=\"color: #de7ee6\"> ประโยชน์ของพวกซีเลนเทอเรต</span> <br />\n     - เเนวหินปะการังมีความสวยงามตามธรรมชาติ  เเละเป็นเเหล่งที่อยู่อาศัยเเละเลี้ยงลูกอ่อนของสัตว์ทะเลนาๆชนิด จึงเป็นบริเวณที่มีความสมบูรณ์ของสัตว์น้ำ<br />\n    - ปะการังเเละกัลปังหาบางชนิดเป็นสิ่งสวยงามที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับที่มีค่าได้<br />\n    - เเมงกะพรุนบางชนิดใช้เป็นอาหารได้ <br />\n    - บางชนิดสกัดสารพิษมาใช้ประโยชน์ทางหารเเพทย์ได้ </span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong><strong><span style=\"color: #533812\"></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/Coelenterata2.jpg\" height=\"428\" style=\"width: 453px; height: 298px\" />  <img border=\"0\" width=\"56\" src=\"/files/u31940/33-1.gif\" height=\"56\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/files/u19951/bonaire-giant-sea-anemone-004.jpg\"><strong><span style=\"color: #00ffff\"><u>http://www.thaigoodview.com/files/u19951/bonaire-giant-sea-anemone-004.jpg</u></span></strong></a>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\"><span style=\"color: #993300\"></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #533812\"><span style=\"color: #993300\">ที่มาของข้อมูล </span><a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/coelenterata.html\"><span style=\"color: #993300\">http://dit.dru.ac.th/biology/coelenterata.html</span></a></span></strong>\n</p>\n', created = 1719826305, expire = 1719912705, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b6d88f9f506e81fe79878cc5569044e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Say Hi!!! "Phylum Coelanterata"

 

 

สัตว์พวกซีเลนเทอราตา เเบ่งออกเป็น 3 คลาส คือ 


    --> hydrozoa  ได้แก่
ไฮดรา โอบิเลีย เเละเเมงกะพรุนบางชนิด เป็นสัตว์น้ำๆจืด

   -->  scyphozoa  ได้แก่ เเมงกะพรุนส่วนใหญ่

   -->  anthozoa ได้แก่ ซีเเอนนีโมนี ปะการัง กัลปังหา ตาลปัดทะเล  เป็นสัตว์น้ำเค็ม

             รูปร่าง มี2 เเบบ คือ
      - เเบบเมดูซ่า รูปร่างคล้ายชามคว่ำมีปากอยู่ด้านล่าง เคลื่อนที่ได้โดยใช้ปากพ่นน้ำ
      - เเบบโพลิป รูปร่างคล้ายเเจกันหรือต้นไม้ มีปากอยู่ด้านบน มักเกาะนิ่งอยู่กับที่
             วัฏจักรชีวิตของซีเลนเทอเรต ส่วนใหญ่มีช่วงเป็นเมดูซ่าเเละโพลิบ ยกเว้นไฮดรา  ปะการัง เเละดอกไม้ทะเล  มีเเต่ช่วงชีวิตที่เป็นโพลิบอย่างเดียว ไม่มีช่วงชีวิตที่เป็นเมดูซ่า

 

http://www.thaigoodview.com/files/u19961/cnipage.jpg


            ลักษณะร่างกาย
      - ร่างกายประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ เอพิเดอร์มิสเเละเเกสโทรเดอร์มิส ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่ามีโซเกลีย
เเทรกอยู่ เเมงกะพรุนมีชั้นมีโซเกลียหนามาก ทำให้ดูเหมือนว่าร่างกายประกอบด้วยวุ้น
      - ลำตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียว เรียกว่า ช่องเเกสโทรวาสคิวลาร์( gastrovascula cavity ) ทำหน้าที่เป็นทางเดินอาหาร   อาหารเข้าเเละกากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน
      - มีหนวดอยู่รอบปาก  เรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle ) ใช้สำหรับจับเหยื่อ
      - ที่หนวดมีเซลล์สำหรับต่อย  เรียกว่า ไนโดไซต์ ( cnidocyte ) เเละมีเข็มสำหรับต่อยเรียกว่า เนมาโทซิส ( nematocyst )
พวกเเมงกระพรุนไฟ เข็มต่อยนี้มีพิษทำให้เหยื่อเป็นอัมพาตหรือตายได้

             ระบบประสาท
     - ไฮดรา มีเเบบตาข่าย ( nerve net ) ซึ่งโยงใยทั่วร่างกาย ทำให้มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าพร้อมกันทั้งตัว
     - เเมงกระพรุน  มีเซลล์ประสาทตามขอบประสาทเเละมีใยประสาททั่วทั้งตัว มีอวัยวะรับเเสง ( eye spot )เเละอวัยวะควบคุมการทรงตัว ( statacyst )

             การเคลื่อนที่
     - ไฮดรา เคลื่อนที่โดยใช้เทนทาเคิล
     - เเมงกระพรุน เคลื่อนที่โดยพ่นน้ำออกจากลำตัว
     - ปะการัง เกาะนิ่งอยู่กับที่

            การสืบพันธุ์  มี 2 เเบบคือ
    - เเบบไม่อาศัยเพศ โดยการเเตกหน่อ พบในระยะรูปร่างเเบบโพลิบ
    - เเบบอาศัยเพศ  พบในระยะ รูปร่างเเบบเมดูซ่า ตัวอ่อนมีซิเลียว่ายน้ำได้เรียกว่า พลานูลา ( planula )

            ประโยชน์ของพวกซีเลนเทอเรต
     - เเนวหินปะการังมีความสวยงามตามธรรมชาติ  เเละเป็นเเหล่งที่อยู่อาศัยเเละเลี้ยงลูกอ่อนของสัตว์ทะเลนาๆชนิด จึงเป็นบริเวณที่มีความสมบูรณ์ของสัตว์น้ำ
    - ปะการังเเละกัลปังหาบางชนิดเป็นสิ่งสวยงามที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับที่มีค่าได้
    - เเมงกะพรุนบางชนิดใช้เป็นอาหารได้
    - บางชนิดสกัดสารพิษมาใช้ประโยชน์ทางหารเเพทย์ได้

 

ที่มาของข้อมูล http://dit.dru.ac.th/biology/coelenterata.html

สร้างโดย: 
นายธนพล กลิ่นเมือง และนางสาวศุภนุช ยิบแสงทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 509 คน กำลังออนไลน์