• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:28f3f2c6dd093b0ae0ed5d6921b33d61' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u41197/anigif42.gif\" height=\"200\" style=\"width: 447px; height: 201px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/85964\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif66.gif\" height=\"90\" style=\"width: 154px; height: 32px\" /></a><a href=\"/node/85960\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif1234.gif\" height=\"94\" style=\"width: 158px; height: 33px\" /></a><a href=\"/node/85082\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/anigif6.gif\" height=\"93\" style=\"width: 164px; height: 33px\" /></a><a href=\"/node/82236\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u41197/902.gif\" height=\"95\" style=\"width: 151px; height: 32px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong>       สัตว์พวกอาร์โทรพอด</strong></span><strong><span style=\"color: #625136\"> ( arthropod ) <br />\n- อาร์โทรพอดที่เรารู้จักดีได้เเก่ เเมงมุม เเมงป่อง กุ้ง ปู เเละเเมลงต่างๆ <br />\n- เป็นสัตว์ที่มีจำนวนเเละชนิดมากกว่าสัตว์ทุกกลุ่มในโลก <br />\n- อาศัยอยู่ทั้งบนบก ใต้ดิน บนดิน ในน้ำ เเละในอากาศ<br />\n- มีทั้งที่เป็นประโยชน์ เเละเป็นโทษต่อมนุษย์</span><span style=\"color: #625136\"> </span></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"227\" src=\"/files/u41197/p_arthropod12.gif\" height=\"170\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<br />\n<a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html</span></strong></a><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>        </strong></span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #ff9900\">        <span style=\"color: #ff00ff\">ลักษณะร่างกาย<br />\n</span>-    <span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff99cc\">มีรยางค์เป็นข้อๆ ต่อกัน</span> ( jointed appendage )</span></span> <span style=\"color: #55442f\">ลักษณะเเละทำหน้าที่ได้หลายอย่าง นอกจากเป็นขาเดิน ยังเป็นขากรรไกร คีม ที่วางไข่ ท่อดูด ก้าม หนวด ใบพาย ฯลฯ <br />\n</span>-  <span style=\"color: #993366\"> <span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff99cc\">มีโครงร่างเเข็งภายนอก</span> ( exoskeleton )</span></span> <span style=\"color: #55442f\">เป็นปล้องๆมาต่อกันเรียกว่า คิวติเคิล ( cuticle )  ประกอบด้วยสารไคตินเเละโปรตีน โดยมีสารไลโปโปตีนกันน้ำเคลือบอยู่ภายนอก เเละมีกล้ามเนื้อยึดเกาะภายใน เมือ่หดตัวทำให้โครงร่างเเข็งเคลื่อนไหวตรงข้อต่อได้รวดเร็ว <br />\n</span>-    <span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #993366\">การเจริญเติบโต มีการลอกคราบเป็นระยะๆ</span></span><span style=\"color: #55442f\"> เเละเเมลงส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนเเปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโตเรียกว่า <br />\nเมเเทมอร์โฟซิส ( metamorphosis ) <br />\n</span>-   <span style=\"color: #993366\"> </span><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #993366\">ลำตัวเป็นปล้องๆบางชนิดมีลำตัวเเบ่งเป็น 3 ส่วน</span> </span><span style=\"color: #55442f\"> คือ ส่วนหัว ( head ) ส่วนอก ( thorax ) ส่วนท้อง ( abdomen ) เเละบางชนิดมี 2 ส่วนเพราะส่วนหัวกับส่วนอกรวมกัน เรียกว่า เซฟาโลทอเเรกซ์</span></span></span></strong></span></span><span style=\"color: #55442f\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #ff9900\"></span></span></strong></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u41197/a_arthorpod11.gif\" height=\"375\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #ff9900\"><a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html</span></strong></a><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>        </strong></span></span><br />\n</span></span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #ff9900\">        </span></span></strong></span></span><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #800080\">ระบบหมุนเวียนเลือด</span></span><br />\n- เเบบวงจรเปิด ( open circulatory system ) <br />\n- หัวใจที่อยู่ด้านบนสูบฉีดเลือดไหลผ่านเส้นเลือดระยะสั้นๆ เเล้วไหลออกไปทางช่องว่าลำตัว ( ซีลอม )ที่ล้อมรอบอวัยวะภายในต่างๆ <br />\n-ซีลอมที่มีเลือดเเละน้ำเหลืองบรรจุอยู่ เรียกว่า เฮโมซีล( hemocoel ) </span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>      <span style=\"color: #3366ff\">  </span><span style=\"color: #cc99ff\">การหายใจ<br />\n</span>- เเมลง หายใจด้วยท่อลม ( trachea ) มีการเเลกเปลี่ยนเเก๊สระหว่างเซลล์เเละอากาศในท่อลม โดยรงควัตถุ<br />\n- เเมงมุมหายใจโดยปอดเเผง ( book lung ) <br />\n- พวกที่อาศัยอยู่ในน้ำหายใจทางเหงือก เลือดมีรงควัตถุสีเงินลำเลียงออกซิเจน <br />\n- อาจมีอวัยวะรับเสียง เเละอวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัวด้วย </strong></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>       <span style=\"color: #99cc00\">การสืบพันธุ์</span> <br />\n- ส่วนใหญ่จะเเยกเพศ ตัวผู้ตัวเมียมักมีขนาดไม่เท่ากัน <br />\n- ปฏิสนธิภายในร่างกาย <br />\n- บางชนิด เช่น ผึ้งตัวผู้เกิดจากไข่ที่ไม่ได้ปฏิสนธิ เรียกว่า พาร์ทีโนเจเนซิส ( partenogenesis ) </strong></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #3366ff\">ลักษณะของอาร์โทรพอดในคลาสต่างๆ</span> <br />\n1. <span style=\"color: #33cccc\">คลาสอินเซ็คตา</span> ( insecta ) พวกเเมลงต่างๆ <br />\n   - มีชนิดเเละจำนวนมากที่สุด ( 75 % ของโลก )<br />\n   - ลำตัว 3 ส่วน ( ส่วนหัว ส่วนอก ส่วนท้อง ) - หนวด 1 คู่<br />\n   - ขา 3 คู่ ( ส่วนอกเเบ่งเป็น 3 ปล้อง มีปล้องละ 1 คู่ )<br />\n   - บางชนิดมีปีก 2 คู่ ( อยู่ปล้องหลังของอกปล้องละ 1 คู่ )<br />\n   - หายใจด้วยท่อลม ( trachea ) </strong></span></span> </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"227\" src=\"/files/u41197/p_insect1.gif\" height=\"170\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html</span></strong></a><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>        </strong></span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>2. <span style=\"color: #33cccc\">คลาสครัสเตเซีย</span> ( Crustacea ) ส่วนใหญ่อยู่ในน้ำ ได้เเก่ กุ้ง ปู ไรน้ำ ( ไรเเดงเเละไรน้ำตาล ) เพรียงหิน จักจั่นทะเล ตัวกะปิ เหาไม้ ( อยู่ตามดินที่ชื้น ) <br />\n   - ลำตัว 2 ส่วนคือ เซฟาโลทอเเรกซ์ ( หัวกับอก ) เเละส่วนท้อง      <br />\n   - หนวด 2 คู่ <br />\n   - มีรยางค์รอบปากจำนวนมาก               <br />\n   - ขาเดิน 5 คู่ ( อยู่ที่ส่วนอก ) <br />\n   - ส่วนท้องมีรยางค์ 6 คู่ เป็นขาสำหรับว่ายน้ำ 5 คู<br />\n   - กุ้งเเละกั้งมีรยางค์เเบนๆคล้ายหางเสือ 1 คู่<br />\n   - ขากรรไกร 1 คู่ ( mandible )           <br />\n   - หายใจด้วยเหงือก</strong></span></span> </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"137\" src=\"/files/u41197/p_arthropod8.gif\" height=\"179\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html</span></strong></a><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>        </strong></span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>3. <span style=\"color: #33cccc\">คลาสอะเเรชนิดา</span> ( Arachnida ) เเมงมุม เเมงป่อง เห็บ ไร <br />\n   - ลำตัว 2 ส่วน คือ เซฟาโลทอเเรกซ์กับท้อง         <br />\n   - ขาเดิน 4 คู่ <br />\n   - ไม่มีหนวด                 <br />\n   - ไม่มีขากรรไกร <br />\n   - รยางค์มักเปลี่ยนไปทำหน้าที่พิเศษ เช่น ต่อมพิษ เขี้ยว หรือ เข็มพิษ<br />\n   - หายใจด้วยเทรเคีย หรือ book lung </strong></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"165\" src=\"/files/u41197/p_thomstsm_203.gif\" height=\"127\" style=\"width: 174px; height: 136px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html</span></strong></a><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>        </strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>4. <span style=\"color: #33cccc\">คลาสเมอโรสมาตา</span> ( Merostoma ) เเมงดาทะเล มี 4 ชนิดในโลก ประเทศไทยมี 2 ชนิดคือ เเมงดาจาน<br />\n( หางเหลี่ยม ) เเมงดาถ้วย หรือ เหรา ( หางกลม ) <br />\n   - ลำตัว 2 ส่วนคือ เซฟาโลทอเเรกซ์กับท้อง<br />\n   - ตาประกอบ 1 คู่ <br />\n   - ขาเดิน 5 คู่ โดยคู่สุดท้ายเป็นเเผ่นเเบนใช้ขุดทราย<br />\n   - ไม่มีขากรรไกร<br />\n   - ไม่มีหนวด <br />\n   - มีกระดองโค้งคลุมลำตัว ส่วนท้ายของลำตัวยื่นยาวคล้ายหาง </strong></span></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #625136\"></span><img border=\"0\" width=\"187\" src=\"/files/u41197/p_mero1.gif\" height=\"117\" style=\"width: 285px; height: 137px\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html</span></strong></a><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>        </strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>5. <span style=\"color: #33cccc\">คลาสซิโลโพดา</span> ( Chilpoda ) เรียกว่า เซ็นติปิด ( centipede ) ได้เเก่ ตะขาบ ตะเข็บ ตะขาบฝอย <br />\n   - มีหัวกับลำตัวที่เเบ่งเป็นปล้องๆ 12 - 20 ปล้อง<br />\n   - ขาเดินสั้นๆ ปล้องละ 2 คู่       <br />\n   - ขากรรไกรเจริญดี<br />\n   - หนวด 1 คู่           <br />\n   - ดำรงชีพเเบบกินซากพืชสัตว์เน่าเปื่อย ( scavenger )</strong></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><img border=\"0\" width=\"170\" src=\"/files/u41197/p_dipro2.gif\" height=\"115\" style=\"width: 210px; height: 131px\" /> </span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html</span></strong></a><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #2b3220\">    </span></strong></span></span>      </strong></span></span> </span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #625136\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong>6. <span style=\"color: #33cccc\">คลาสไดโพลโพดา</span> ( Diploloda ) เรียกว่า มิลลิปิด ( millipede ) ได้เเก่ พวกกิ้งกือ <br />\n   - มีหัวกับตัวที่เเบ่งเป็นปล้องๆ 15 - 20 ปล้อง     <br />\n   - ขาเดินสั้นๆ ปล้องละ 2 คู่ ขากรรไกรเจริญดี <br />\n   - หนวด 1 คู่                <br />\n   - ดำรงชีพเเบบกินซากพืชสัตว์ที่เน่าเปื่อย ( scavenger )     </strong></span></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong> <img border=\"0\" width=\"370\" src=\"/files/u41197/Arthro.jpg\" height=\"246\" /></strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><a href=\"http://nationalzoo.si.edu/Animals/PhotoGallery/AsiaTrail/photos/20041201-213vc.jpg\"><span style=\"color: #00ffff\">http://nationalzoo.si.edu/Animals/PhotoGallery/AsiaTrail/photos/20041201-213vc.jpg</span></a><span style=\"color: #625136\">  </span></strong></span></span></span></span>   </strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #513000\"><strong><span style=\"color: #800000\">ที่มาของข้อมูล </span><a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html\"><span style=\"color: #800000\">http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html</span></a></strong></span></span>\n</p>\n', created = 1719823972, expire = 1719910372, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:28f3f2c6dd093b0ae0ed5d6921b33d61' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Say Hi!!! "Phylum Arthopoda"

 

       สัตว์พวกอาร์โทรพอด ( arthropod )
- อาร์โทรพอดที่เรารู้จักดีได้เเก่ เเมงมุม เเมงป่อง กุ้ง ปู เเละเเมลงต่างๆ
- เป็นสัตว์ที่มีจำนวนเเละชนิดมากกว่าสัตว์ทุกกลุ่มในโลก
- อาศัยอยู่ทั้งบนบก ใต้ดิน บนดิน ในน้ำ เเละในอากาศ
- มีทั้งที่เป็นประโยชน์ เเละเป็นโทษต่อมนุษย์

 

        ลักษณะร่างกาย
-    มีรยางค์เป็นข้อๆ ต่อกัน ( jointed appendage ) ลักษณะเเละทำหน้าที่ได้หลายอย่าง นอกจากเป็นขาเดิน ยังเป็นขากรรไกร คีม ที่วางไข่ ท่อดูด ก้าม หนวด ใบพาย ฯลฯ
-   มีโครงร่างเเข็งภายนอก ( exoskeleton ) เป็นปล้องๆมาต่อกันเรียกว่า คิวติเคิล ( cuticle )  ประกอบด้วยสารไคตินเเละโปรตีน โดยมีสารไลโปโปตีนกันน้ำเคลือบอยู่ภายนอก เเละมีกล้ามเนื้อยึดเกาะภายใน เมือ่หดตัวทำให้โครงร่างเเข็งเคลื่อนไหวตรงข้อต่อได้รวดเร็ว
-    การเจริญเติบโต มีการลอกคราบเป็นระยะๆ เเละเเมลงส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนเเปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโตเรียกว่า
เมเเทมอร์โฟซิส ( metamorphosis )
-    ลำตัวเป็นปล้องๆบางชนิดมีลำตัวเเบ่งเป็น 3 ส่วน  คือ ส่วนหัว ( head ) ส่วนอก ( thorax ) ส่วนท้อง ( abdomen ) เเละบางชนิดมี 2 ส่วนเพราะส่วนหัวกับส่วนอกรวมกัน เรียกว่า เซฟาโลทอเเรกซ์

 

http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html       

        ระบบหมุนเวียนเลือด
- เเบบวงจรเปิด ( open circulatory system )
- หัวใจที่อยู่ด้านบนสูบฉีดเลือดไหลผ่านเส้นเลือดระยะสั้นๆ เเล้วไหลออกไปทางช่องว่าลำตัว ( ซีลอม )ที่ล้อมรอบอวัยวะภายในต่างๆ
-ซีลอมที่มีเลือดเเละน้ำเหลืองบรรจุอยู่ เรียกว่า เฮโมซีล( hemocoel )

        การหายใจ
- เเมลง หายใจด้วยท่อลม ( trachea ) มีการเเลกเปลี่ยนเเก๊สระหว่างเซลล์เเละอากาศในท่อลม โดยรงควัตถุ
- เเมงมุมหายใจโดยปอดเเผง ( book lung )
- พวกที่อาศัยอยู่ในน้ำหายใจทางเหงือก เลือดมีรงควัตถุสีเงินลำเลียงออกซิเจน
- อาจมีอวัยวะรับเสียง เเละอวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัวด้วย 

       การสืบพันธุ์
- ส่วนใหญ่จะเเยกเพศ ตัวผู้ตัวเมียมักมีขนาดไม่เท่ากัน
- ปฏิสนธิภายในร่างกาย
- บางชนิด เช่น ผึ้งตัวผู้เกิดจากไข่ที่ไม่ได้ปฏิสนธิ เรียกว่า พาร์ทีโนเจเนซิส ( partenogenesis ) 

ลักษณะของอาร์โทรพอดในคลาสต่างๆ
1. คลาสอินเซ็คตา ( insecta ) พวกเเมลงต่างๆ
   - มีชนิดเเละจำนวนมากที่สุด ( 75 % ของโลก )
   - ลำตัว 3 ส่วน ( ส่วนหัว ส่วนอก ส่วนท้อง ) - หนวด 1 คู่
   - ขา 3 คู่ ( ส่วนอกเเบ่งเป็น 3 ปล้อง มีปล้องละ 1 คู่ )
   - บางชนิดมีปีก 2 คู่ ( อยู่ปล้องหลังของอกปล้องละ 1 คู่ )
   - หายใจด้วยท่อลม ( trachea ) 

 

2. คลาสครัสเตเซีย ( Crustacea ) ส่วนใหญ่อยู่ในน้ำ ได้เเก่ กุ้ง ปู ไรน้ำ ( ไรเเดงเเละไรน้ำตาล ) เพรียงหิน จักจั่นทะเล ตัวกะปิ เหาไม้ ( อยู่ตามดินที่ชื้น )
   - ลำตัว 2 ส่วนคือ เซฟาโลทอเเรกซ์ ( หัวกับอก ) เเละส่วนท้อง     
   - หนวด 2 คู่
   - มีรยางค์รอบปากจำนวนมาก              
   - ขาเดิน 5 คู่ ( อยู่ที่ส่วนอก )
   - ส่วนท้องมีรยางค์ 6 คู่ เป็นขาสำหรับว่ายน้ำ 5 คู
   - กุ้งเเละกั้งมีรยางค์เเบนๆคล้ายหางเสือ 1 คู่
   - ขากรรไกร 1 คู่ ( mandible )          
   - หายใจด้วยเหงือก

 

3. คลาสอะเเรชนิดา ( Arachnida ) เเมงมุม เเมงป่อง เห็บ ไร
   - ลำตัว 2 ส่วน คือ เซฟาโลทอเเรกซ์กับท้อง        
   - ขาเดิน 4 คู่
   - ไม่มีหนวด                
   - ไม่มีขากรรไกร
   - รยางค์มักเปลี่ยนไปทำหน้าที่พิเศษ เช่น ต่อมพิษ เขี้ยว หรือ เข็มพิษ
   - หายใจด้วยเทรเคีย หรือ book lung 

 

http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html       

4. คลาสเมอโรสมาตา ( Merostoma ) เเมงดาทะเล มี 4 ชนิดในโลก ประเทศไทยมี 2 ชนิดคือ เเมงดาจาน
( หางเหลี่ยม ) เเมงดาถ้วย หรือ เหรา ( หางกลม )
   - ลำตัว 2 ส่วนคือ เซฟาโลทอเเรกซ์กับท้อง
   - ตาประกอบ 1 คู่
   - ขาเดิน 5 คู่ โดยคู่สุดท้ายเป็นเเผ่นเเบนใช้ขุดทราย
   - ไม่มีขากรรไกร
   - ไม่มีหนวด
   - มีกระดองโค้งคลุมลำตัว ส่วนท้ายของลำตัวยื่นยาวคล้ายหาง 

 

http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html       

5. คลาสซิโลโพดา ( Chilpoda ) เรียกว่า เซ็นติปิด ( centipede ) ได้เเก่ ตะขาบ ตะเข็บ ตะขาบฝอย
   - มีหัวกับลำตัวที่เเบ่งเป็นปล้องๆ 12 - 20 ปล้อง
   - ขาเดินสั้นๆ ปล้องละ 2 คู่      
   - ขากรรไกรเจริญดี
   - หนวด 1 คู่          
   - ดำรงชีพเเบบกินซากพืชสัตว์เน่าเปื่อย ( scavenger )

 

http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html           

6. คลาสไดโพลโพดา ( Diploloda ) เรียกว่า มิลลิปิด ( millipede ) ได้เเก่ พวกกิ้งกือ
   - มีหัวกับตัวที่เเบ่งเป็นปล้องๆ 15 - 20 ปล้อง    
   - ขาเดินสั้นๆ ปล้องละ 2 คู่ ขากรรไกรเจริญดี
   - หนวด 1 คู่               
   - ดำรงชีพเเบบกินซากพืชสัตว์ที่เน่าเปื่อย ( scavenger )     

 

http://nationalzoo.si.edu/Animals/PhotoGallery/AsiaTrail/photos/20041201-213vc.jpg    

ที่มาของข้อมูล http://dit.dru.ac.th/biology/arthropod.html

สร้างโดย: 
นายธนพล กลิ่นเมือง และนางสาวศุภนุช ยิบแสงทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 549 คน กำลังออนไลน์