• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:260b587ca33655d17a202734dc698163' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u41062/3.jpg\" height=\"150\" width=\"400\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><u>เสียง</u></b> เป็นคลื่นตามยาวชนิดหนึ่งซึ่งอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ดังนั้นคุณสมบัติของเสียงจึงเหมือนคลื่นทุกประการ ตามปกติหูคนสามารถได้ยินเสียงในช่วงความถี่ 20 เฮิร์ตซ์ ถึง 20,000 เฮิร์ตซ์ คลื่นเสียงที่มีความถี่สูงกว่า 20,000 เฮิร์ตซ์นั้น เรียกว่า คลื่นเหนือเสียงหรืออัลตราโซนิก (ultrasonic) ส่วนเสียงที่ความถี่ต่ำกว่า 20 Hzเรียกว่า คลื่นใต้เสียงหรืออินฟราโซนิก(Infrasonic Wave) \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u41062/soundwave.jpg\" height=\"280\" width=\"554\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<sup>image: <a href=\"http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_o_ebook/html/021/186.htm\" title=\"http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_o_ebook/html/021/186.htm\">http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_o_ebook/html/021/186.htm</a></sup>\n</p>\n<div>\n<b>ธรรมชาติและความดันของเสียง   </b>     \n</div>\n<div>\nเสียงเป็นคลื่นความดัน (Pressure Wave) จะต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงสามารถเคลื่อนที่ผ่านอากาศ ของแข็งหรือของเหลว แต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านสูญญากาศได้        \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nคลื่นเสียงเป็นคลื่นตามยาวเกิดจากการสั่น ของวัตถุ ความถี่ของเสียงจะมีค่าเท่ากับความถี่ของแหล่งกำเนิด และในขณะที่มี การสั่น โมเลกุลของตัวกลางจะมีการถ่ายทอดพลังงานทำให้เกิดความดันอากาศที่เปลี่ยน แปลงไปตามตำแหน่ง ทำให้เกิดเป็นช่วงอัด และ ช่วงขยายโดยที่ช่วงอัดคือบริเวณที่อนุภาคของตัวกลางอัดเข้าหากัน บริเวณนี้มีจะมีความดันสูงสุดโดยเทียบกับความดันที่ตำแหน่ง สมดุลของอนุภาค โดยการขจัดของอนุภาคน้อยที่สุด ส่วนช่วงขยายคือบริเวณที่อนุภาคตัวกลางแยกห่างจากกัน บริเวณนี้มีความดัน ต่ำสุดโดยเทียบกับความดันที่ตำแหน่งสมดุลของอนุภาค การขจัดของอนุภาคมากที่สุด ซึ่งสามารถเขียนเป็นกราฟได้\n</div>\n<div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u41062/graph_of_sound.jpg\" height=\"292\" width=\"362\" />\n</div>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<sup>image : <a href=\"http://www.rsu.ac.th/science/physics/pom/physics_2/sound/sound_1.htm\" title=\"http://www.rsu.ac.th/science/physics/pom/physics_2/sound/sound_1.htm\">http://www.rsu.ac.th/science/physics/pom/physics_2/sound/sound_1.htm</a></sup>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/88094\">สมบัติของเสียง</a> <a href=\"/node/88095\">บีตส์</a> <a href=\"/node/88103\">ระดับเสียง</a> <a href=\"/node/88469\">คุณภาพของเสียง</a> <a href=\"/node/88477\">ความเข้มเสียงและการได้ยิน</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"background-color: #ffff00\" align=\"center\">\n<a href=\"/node/87923\">บทเรียน </a>\n</div>\n<div style=\"background-color: #ffffff\" align=\"center\">\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/87923\" style=\"background-color: #ffff00\"><br />\n</a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82139\"><img src=\"/files/u41062/home.gif\" height=\"80\" width=\"200\" /></a>\n</div>\n<p> <br />\n\n</p></div>\n<p><span style=\"background-color: #ffffff\"> <br />\n</span></p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n', created = 1727277443, expire = 1727363843, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:260b587ca33655d17a202734dc698163' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เสียง (Sound)

 

 

เสียง เป็นคลื่นตามยาวชนิดหนึ่งซึ่งอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ดังนั้นคุณสมบัติของเสียงจึงเหมือนคลื่นทุกประการ ตามปกติหูคนสามารถได้ยินเสียงในช่วงความถี่ 20 เฮิร์ตซ์ ถึง 20,000 เฮิร์ตซ์ คลื่นเสียงที่มีความถี่สูงกว่า 20,000 เฮิร์ตซ์นั้น เรียกว่า คลื่นเหนือเสียงหรืออัลตราโซนิก (ultrasonic) ส่วนเสียงที่ความถี่ต่ำกว่า 20 Hzเรียกว่า คลื่นใต้เสียงหรืออินฟราโซนิก(Infrasonic Wave) 

 

 

image: http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_o_ebook/html/021/186.htm

ธรรมชาติและความดันของเสียง        
เสียงเป็นคลื่นความดัน (Pressure Wave) จะต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงสามารถเคลื่อนที่ผ่านอากาศ ของแข็งหรือของเหลว แต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านสูญญากาศได้        
คลื่นเสียงเป็นคลื่นตามยาวเกิดจากการสั่น ของวัตถุ ความถี่ของเสียงจะมีค่าเท่ากับความถี่ของแหล่งกำเนิด และในขณะที่มี การสั่น โมเลกุลของตัวกลางจะมีการถ่ายทอดพลังงานทำให้เกิดความดันอากาศที่เปลี่ยน แปลงไปตามตำแหน่ง ทำให้เกิดเป็นช่วงอัด และ ช่วงขยายโดยที่ช่วงอัดคือบริเวณที่อนุภาคของตัวกลางอัดเข้าหากัน บริเวณนี้มีจะมีความดันสูงสุดโดยเทียบกับความดันที่ตำแหน่ง สมดุลของอนุภาค โดยการขจัดของอนุภาคน้อยที่สุด ส่วนช่วงขยายคือบริเวณที่อนุภาคตัวกลางแยกห่างจากกัน บริเวณนี้มีความดัน ต่ำสุดโดยเทียบกับความดันที่ตำแหน่งสมดุลของอนุภาค การขจัดของอนุภาคมากที่สุด ซึ่งสามารถเขียนเป็นกราฟได้

 


 

 

สร้างโดย: 
คุณครูสุชญา เจียรโภคกุล และ นางสาววุฒิพร ลิขิตอนุสรณ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 441 คน กำลังออนไลน์