• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:90defa6af2016f1001165432c873f96f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/83317\"><img height=\"50\" width=\"150\" src=\"/files/u40894/back.jpg\" /></a> <a href=\"/node/81969\"><img height=\"50\" width=\"150\" src=\"/files/u40894/home_1_0.jpg\" /></a> \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><b><img height=\"427\" width=\"350\" src=\"/files/u31515/GT_norm_view_1.jpg\" border=\"0\" /></b></span>\n</p>\n<p><b><span style=\"color: #800080\"></span></b></p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.claviantica.com/restorations_files/GT_norm_files/GT_norm_view.jpg\"><span style=\"color: #000000\"><u>http://www.claviantica.com/restorations_files/GT_norm_files/GT_norm_view.jpg</u></span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></a>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><b></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #99cc00\"><b><u>ฮาร์ปซิคอร์ด</u></b> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">เป็นเครื่องดนตรีตะวันตก ใน</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84\" title=\"ยุคบาโรค\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ยุคบาโรค</span></span></a><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"> <span style=\"color: #99cc00\">ประเภทเครื่องดีด โดยมีการพัฒนามาจากเครื่องดนตรีประเภทพิณ</span></span><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">และกีตาร์ กลไกการเกิดเสียงจะใช้การเกี่ยวดึงสายโลหะซึ่งมีขนาด และความยาวแตกต่างกันเพื่อให้ได้เสียงความถี่ต่างๆ </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">การเล่นเครื่องดนตรีนี้จะใช้ </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94\" title=\"คีย์บอร์ด\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">คีย์บอร์ด</span></span></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"> (Keyboard) ในการสร้างกลไกในการดึงสาย โดยผู้เล่นสามารถเลือกกดบนแป้นคีย์บอร์ด </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ซึ่งจะคล้ายคลึงกับการเล่น </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%99\" title=\"เปียโน\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">เปียโน</span></span></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"> (Piano) แต่จะมีคีย์บอร์ดสองชั้น เหมือน </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%99\" title=\"ออร์แกน\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ออร์แกน</span></span></a><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"> <span style=\"color: #99cc00\">(Organ) ผู้เล่นไม่สามารถปรับความดัง</span></span><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ของเสียงได้ด้วยน้ำหนักของการกดคีย์บอร์ด </span><span style=\"color: #99cc00\">แต่สามารถใช้กลไกอื่นช่วยในการสร้างความแตกต่างของคุณภาพเสียง</span> <span style=\"color: #99cc00\">(Acrustic Quality)</span></span> </span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">ในยุคบาโรคมีการเล่น</span><span style=\"color: #99cc00\">เครื่องดนตรีนี้อย่างแพร่</span><span style=\"color: #99cc00\">หลายในบทเพลง</span><span style=\"color: #99cc00\">ประเภทเดี่ยว</span></span> <span style=\"color: #99cc00\">และวง สำหรับประเภทเดี่ยวได้มีผู้ประพันธ์เพลง</span></span><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ที่มีบทบาทสำคัญได้แก่ </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%84&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"บาค (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">บาค</span></span></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%AE%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A5&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แฮนเดล (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">แฮนเดล</span></span></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B5&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"สกาลัตตี (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">สกาลัตตี</span></span></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"คูโน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">คูโน</span></span></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"> แต่งเพลงไว้มากมาย โดยเฉพาะสกาลัตตีได้แต่เพลงประเภท </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%8B%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B2\" title=\"โซนาตา\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">โซนาตา</span></span></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ไว้เป็นจำนวนมาก</span> <span style=\"color: #99cc00\">และเป็นบทเพลงที่มีความซับ<span style=\"color: #99cc00\">ซ้อนในด้านเทคนิคการเล่นอย่างสูง</span></span> <span style=\"color: #99cc00\">สำหรับประเภทวง</span> <span style=\"color: #99cc00\">เครื่องดนตรีนี้สามารถเล่นร่วมกับ</span></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">เครื่องดนตรีอื่นๆได้ วงออเครสตราในยุคนั้นได้กำหนดให้มีการเล่นดนตรีประเภท บาสโซคอนทินิวโอ (Basso Continuo) </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ไม่ได้เฉพาะเครื่องดนตรีเบสอย่างเดียว แต่ได้มีการใส่สัญลักษณ์เป็นตัวเลขเอาไว้เพื่อให้ฮาร์ปซิคอร์ดเล่นประกอบด้วย </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ถ้าจะเปรียบเทียบกับการเล่นดนตรีในปัจจุบันแล้ว</span> <span style=\"color: #99cc00\">ฮาร์ปซิคอร์ดเป็นเหมือนกับกลองชุด</span> <span style=\"color: #99cc00\">ซึ่งเป็นตัวกำหนดจังหวะของผู้เล่นเครื่องดนตรีอื่น</span></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">และที่สำคัญที่สุด ผู้อำนวยเพลง (Conductor)</span> <span style=\"color: #99cc00\">ในสมัยบาโรค</span> <span style=\"color: #99cc00\">ก็มักจะประจำที่ฮาร์ปซิคอร์ดด้วย ตัวอย่างเพลงที่สำคัญของ</span></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">เครื่องดนตรีนี้ได้แก่ บทเพลงประเภท ออเครสตราสวิท (Orchestra Suite) ของบาค และ เฮนเดล บราเดนบวกคอนแซโต </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">(Brandenburg Concerto) โดยเฉพาะหมายเลขห้า</span> <span style=\"color: #99cc00\">มีความพิเศษที่บา</span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">คนำฮาร์</span>ปซิคอร์ดมาเป็นเครื่องดนตรีโซโลเพื่อฉลอง</span></span><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ให้กับฮาร์ปซิคอร์ดตัวใหม่ของเขาด้วยในปัจจุบัน</span><span style=\"color: #99cc00\">ก็ยังมีการเล่น</span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">ฮาร์ปซิคอร์</span>ดกันอยู่เมื่อมีการเล่นดนตรีบาโรคเพราะเสียงที่เป็น</span></span><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">เอกลักษณ์ และเทคนิค</span><span style=\"color: #99cc00\">การเล่นที่ไม่สามารถ</span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">หาเครื่อง</span>ดนตรีอื่นมาทดแทนได้</span></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"></span>\n</p>\n<div height=\"344\" width=\"425\">\n<div value=\"http://www.youtube.com/v/71iUAFFQ8ik?fs=1&amp;hl=en_US&amp;color1=0xcc2550&amp;color2=0xe87a9f\" name=\"movie\">\n</div>\n<div value=\"true\" name=\"allowFullScreen\">\n</div>\n<div value=\"always\" name=\"allowscriptaccess\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"200\" height=\"200\">\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/71iUAFFQ8ik?fs=1&amp;hl=en_US&amp;color1=0xcc2550&amp;color2=0xe87a9f&amp;autoplay=1\" />\n <param name=\"width\" value=\"200\" />\n <param name=\"height\" value=\"200\" />\n <param name=\"allowfullscreen\" value=\"true\" />\n <param name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" src=\"http://www.youtube.com/v/71iUAFFQ8ik?fs=1&amp;hl=en_US&amp;color1=0xcc2550&amp;color2=0xe87a9f&amp;autoplay=1\" width=\"200\" height=\"200\" allowfullscreen=\"true\" allowscriptaccess=\"always\"></embed>\n</object></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n</div>\n', created = 1719737633, expire = 1719824033, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:90defa6af2016f1001165432c873f96f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Keyboard ฮาร์พซิคอร์ด

 

http://www.claviantica.com/restorations_files/GT_norm_files/GT_norm_view.jpg

ฮาร์ปซิคอร์ด

เป็นเครื่องดนตรีตะวันตก ในยุคบาโรค ประเภทเครื่องดีด โดยมีการพัฒนามาจากเครื่องดนตรีประเภทพิณ

และกีตาร์ กลไกการเกิดเสียงจะใช้การเกี่ยวดึงสายโลหะซึ่งมีขนาด และความยาวแตกต่างกันเพื่อให้ได้เสียงความถี่ต่างๆ

การเล่นเครื่องดนตรีนี้จะใช้ คีย์บอร์ด (Keyboard) ในการสร้างกลไกในการดึงสาย โดยผู้เล่นสามารถเลือกกดบนแป้นคีย์บอร์ด

ซึ่งจะคล้ายคลึงกับการเล่น เปียโน (Piano) แต่จะมีคีย์บอร์ดสองชั้น เหมือน ออร์แกน (Organ) ผู้เล่นไม่สามารถปรับความดัง

ของเสียงได้ด้วยน้ำหนักของการกดคีย์บอร์ด แต่สามารถใช้กลไกอื่นช่วยในการสร้างความแตกต่างของคุณภาพเสียง (Acrustic Quality)

ในยุคบาโรคมีการเล่นเครื่องดนตรีนี้อย่างแพร่หลายในบทเพลงประเภทเดี่ยว และวง สำหรับประเภทเดี่ยวได้มีผู้ประพันธ์เพลง

ที่มีบทบาทสำคัญได้แก่ บาค แฮนเดล สกาลัตตี คูโน แต่งเพลงไว้มากมาย โดยเฉพาะสกาลัตตีได้แต่เพลงประเภท โซนาตา

ไว้เป็นจำนวนมาก และเป็นบทเพลงที่มีความซับซ้อนในด้านเทคนิคการเล่นอย่างสูง สำหรับประเภทวง เครื่องดนตรีนี้สามารถเล่นร่วมกับ

เครื่องดนตรีอื่นๆได้ วงออเครสตราในยุคนั้นได้กำหนดให้มีการเล่นดนตรีประเภท บาสโซคอนทินิวโอ (Basso Continuo)

ไม่ได้เฉพาะเครื่องดนตรีเบสอย่างเดียว แต่ได้มีการใส่สัญลักษณ์เป็นตัวเลขเอาไว้เพื่อให้ฮาร์ปซิคอร์ดเล่นประกอบด้วย

ถ้าจะเปรียบเทียบกับการเล่นดนตรีในปัจจุบันแล้ว ฮาร์ปซิคอร์ดเป็นเหมือนกับกลองชุด ซึ่งเป็นตัวกำหนดจังหวะของผู้เล่นเครื่องดนตรีอื่น

และที่สำคัญที่สุด ผู้อำนวยเพลง (Conductor) ในสมัยบาโรค ก็มักจะประจำที่ฮาร์ปซิคอร์ดด้วย ตัวอย่างเพลงที่สำคัญของ

เครื่องดนตรีนี้ได้แก่ บทเพลงประเภท ออเครสตราสวิท (Orchestra Suite) ของบาค และ เฮนเดล บราเดนบวกคอนแซโต

(Brandenburg Concerto) โดยเฉพาะหมายเลขห้า มีความพิเศษที่บาคนำฮาร์ปซิคอร์ดมาเป็นเครื่องดนตรีโซโลเพื่อฉลอง

ให้กับฮาร์ปซิคอร์ดตัวใหม่ของเขาด้วยในปัจจุบันก็ยังมีการเล่นฮาร์ปซิคอร์ดกันอยู่เมื่อมีการเล่นดนตรีบาโรคเพราะเสียงที่เป็น

เอกลักษณ์ และเทคนิคการเล่นที่ไม่สามารถหาเครื่องดนตรีอื่นมาทดแทนได้

สร้างโดย: 
นายสุทัศน์ ตั้งฮั่น และ นางสาวศิวพร แท่นอุดมศักดิ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 538 คน กำลังออนไลน์