• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.14.3.133', 0, '414517afd750823cb3de37281b0c7d0e', 123, 1717240862) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6d5be850441fcdf46f6b28296c66ac50' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #808080\"></span></strong><strong><span style=\"color: #808080\"></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u31525/banner_0.jpg\" height=\"110\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span><strong><span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83246\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/common.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83252\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/war.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83266\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/custom.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83272\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/place.jpg\" height=\"49\" /></a>    </strong></span></span> <br />\n<span style=\"color: #000000\"><span><strong> <a href=\"/node/83306\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/p.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><a href=\"/node/83310\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/food.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83381\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/from.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83382\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/fonfie.jpg\" height=\"49\" /></a> <a href=\"/node/88433\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u40865/question.jpg\" height=\"49\" /></a> </strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u31525/w.jpg\" height=\"100\" />\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">          มีความสับสนอย่างมากในหน้าประวัติศาสตร์ช่วงนี้ว่า ความชักช้าในการโจมตีเกิดขึ้นเพราะอะไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตัดสินใจโจมตีอังกฤษของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เพราะเขาเป็นผู้หนึ่งที่ให้เกียรติและเคารพในความเป็นชนชาติอังกฤษอย่างมาก รวมไปถึงให้เกียรติต่อกองทัพบก กองทัพเรือและระบบการศึกษาของอังกฤษอีกด้วย ดังจะเห็นได้จากบันทึกเรื่อง “การต่อสู้ของข้าพเจ้า” หรือ Mein Kampf ที่เขาเขียนขึ้นได้อธิบายความหมายของประเทศอังกฤษว่าเป็น “ประเทศพี่น้องของชนชาติเยอรมัน” (Germanic Brother Nation) พร้อมทั้งเรียกชนชาติอังกฤษว่าเป็น “แฮร์เรนโฟล์ค” (Herrenvolk) ซึ่งแปลว่า “เชื้อชาติชั้นนำ” (master race) ซึ่งเป็นเชื้อชาติที่มีความบริสุทธิ์ทัดเทียมกับชาวเยอรมัน อีกทั้งความฝันของฮิตเลอร์ในการแผ่ขยายอาณาจักรไรซ์ที่สาม (The Third Reich) ของเขาก็คือ การครอบครองยุโรปควบคู่ไปกับการเคียงข้างกับศักยภาพทางทะเลของอังกฤษ แม้ในช่วงต่อมาของสงครามฮิตเลอร์ก็ยังคงชื่นชมอังกฤษอยู่เสมอ จนถึงกล่าวขณะที่กองทัพเยอรมันรุกเข้าสู่กรุงมอสโคว์ เมืองหลวงของรัสเซียตอนหนึ่งว่า “เยอรมันจะต้องเรียนรู้อีกมากจากพวกอังกฤษ”  </span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         แม้ว่าฮิตเลอร์จะประทับใจอังกฤษมากเท่าใดก็ตาม การโจมตีของกองทัพอากาศเยอรมันก็เริ่มเปิดฉากขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ.1940 เมื่อเครื่องบินทิ้งระเบิดจำนวน 70 ลำเข้าโจมตีท่าเรือต่างๆ ที่เมืองเซาท์ เวล (South Wale) และนับจากนั้นอีก 3 สัปดาห์ต่อมา นักบินของเยอรมันและอังกฤษก็เข้าต่อสู้ห้ำหั่นกันอย่างดุเดือด โดยฝ่ายอังกฤษนั้นไม่ได้มีแต่เพียงนักบินอังกฤษเท่านั้น หากแต่ยังประกอบไปด้วยนักบินจากประเทศต่างๆ มากมาย อาทิ นักบินจากประเทศนิวซีแลนด์จำนวน 101 นาย แคนาดา 94 นาย เบลเยี่ยม 29 นาย ออสเตรเลียและแอฟริกาใต้ประเทศละ 22 นาย ฝรั่งเศส 14 นาย สหรัฐอเมริกา 7 นาย และโปแลนด์ 147 นาย นาย </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         นักบินของกองทัพอากาศอังกฤษเหล่านี้ต่อสู้อย่างทรหด แม้จะอิดโรยอย่างมากจากการโจมตีของเยอรมันระลอกแล้ว ระลอกเล่า ทั้งกลางวันและกลางคืน ทั้งนี้เพื่อรักษาแผ่นดินบ้านเกิดเมืองนอนของตน ฝูงบินที่มีชื่อเสียงของอังกฤษที่ปฏิบัติการรบในห้วงเวลานั้นก็เช่น ฝูงบินที่ 19 (No.19 Squadron) มีรหัสเรียกขานว่า “คิว วี” มีฐานตั้งอยู่ที่เมืองดักซ์ฟอร์ดและอีสท์เชิร์ท นับเป็นฝูงบินของเครื่องบินขับไล่แบบ “สปิตไฟร์” ฝูงแรกของกองทัพอากาศอังกฤษ และมียอดการทำลายเครื่องบินข้าศึกจำนวน 68 ลำตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงพฤศจิกายน ค.ศ.1940 เสืออากาศที่เด่นๆ ก็คือ แอล เอ เฮนส์ (L.A. Haines) สามารถยิงเครื่องบินเยอรมันตก 6 ลำโดยลำพังและร่วมกับเครื่องบินลำอื่นอีก 2 ลำก่อนที่เขาจะเสียชีวิตจากการสู้รบในปี ค.ศ.1941 </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         ในขณะเดียวกันนักบินเยอรมันก็ต่อสู้อย่างสมศักดิ์ศรี ด้วยความมีประสบการณ์จากสมรภูมิสงครามกลางเมืองในประเทศสเปนมาจนถึงสมรภูมิในยุโรป ทำให้ในขณะนั้นนักบินเยอรมันเป็นนักบินที่น่ากลัวที่สุดของโลกก็ว่าได้ ฝูงบินเยอรมันที่มีความโดดเด่นในการรบเหนือเกาะอังกฤษ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         เช่น ฝูงบินที่ 2 หรือ จาคด์ชวาเดอร์ 2 ริชโธเฟน (Jagdgeschwader 2 ‘Richthofen’) ซึ่งประจำการอยู่ที่เมือง เลอ แฮฟร์ ของฝรั่งเศส เป็นฝูงบินที่ประกอบไปด้วยนักบินที่มีอาวุโสและมีความสามารถสูง ฝูงบินนี้ตั้งนามหน่วยตามชื่อของเสืออากาศเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งคือ บารอน มานเฟรด ฟอน ริชโธเฟน (Baron Manfred Von Richthofen) มีเสืออากาศเด่นๆ เช่น เคิร์ท บัวฮ์ลิเก้น (Kurt Buhligen) ซึ่งมียอดการสังหารเครื่องบินสูงถึง 112 ลำตลอดสงครามโลกครั้งที่สอง </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         ฝูงบินของเยอรมันอีกฝูงหนึ่งคือ ฝูงบินที่ 26 (Jagdgeschwader 26) ซึ่งมีบทบาทอย่างมากในการคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิด นักบินที่จัดว่าเป็น “ยอดเสืออากาศ” ของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ อดอล์ฟ กัลล์ลันด์ (Adolf Galland) ก็สังกัดอยู่ในฝูงบินนี้ โดยกัลล์ลันด์สามารถยิงเครื่องบินของอังกฤษตกได้ทั้งหมด 36 เครื่องในการรบเหนือเกาะอังกฤษ และมียอดรวมเครื่องบินของศัตรูทั้งหมด 104 เครื่องตลอดสงครามโลกครั้งที่สอง  </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         อย่างไรก็ตาม แม้นักบินของเยอรมันจะมีความห้าวหาญและประสบการณ์ที่สูงกว่า แต่เนื่องจากปัจจัยต่างๆ เช่น ระบบเรดาห์เตือนภัย ที่อังกฤษนำมาใช้ในการแจ้งเตือน ถึงการมาถึงของฝูงบินเยอรมัน ทำให้อังกฤษมีเวลาเตรียมตัวรับมือ ซึ่งอันที่จริงแล้วคำศัพท์ “เรดาห์” (Radar) นั้นมีการใช้อย่างเป็นทางการในปี ค.ศ.1943 ภายหลังจากการโจมตีเกาะอังกฤษเป็นเวลาเกือบสามปี โดยในขณะที่เริ่มใช้งานระหว่างการโจมตีของฝูงบินเยอรมันในปี ค.ศ.1940 นั้น กองทัพอังกฤษยังเรียกเรดาห์ของพวกเขาว่า “วิทยุค้นหาทิศทาง” (Radio Direction Finding) </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         อีกทั้งยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนอยู่มากที่ว่าอังกฤษมีเรดาห์เพียงฝ่ายเดียว ทั้งที่ในขณะนั้นเยอรมันก็มีเรดาห์ใช้งานในกองทัพของตนแล้วเช่นกัน เพียงแต่เยอรมันใช้เรดาห์ในการตรวจค้นหาเป้าหมายทางทะเลเป็นหลัก ส่วนอังกฤษนำเรดาห์เข้ามาใช้ในเครือข่ายการป้องกันน่านฟ้าของตนหรือที่เรียกว่าระบบ “ควบคุมและรายงาน” (Control and reporting system) อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งความจริงในข้อนี้เป็นสิ่งที่ฝ่ายการข่าวของกองทัพเยอรมันประเมินผิดพลาด โดยประเมินว่าอังกฤษยังไม่สามารถนำระบบเรดาห์มาใช้ในการตรวจจับอากาศยานได้ มีแต่เพียงระบบเรดาห์ด้านการข่าวบริเวณชายฝั่งทะเลเท่านั้น ข้อผิดพลาดนี้เป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่ทำให้การโจมตีเกาะอังกฤษของเยอรมันประสบความล้มเหลว </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         นอกจากนี้การต่อสู้บนแผ่นดินอังกฤษ ทำให้นักบินเยอรมันต้องพบกับขีดจำกัดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องบิน เช่น เครื่องบินแมสเซอร์สมิท บี เอฟ 109 (Messerschmitt Bf 109) ของเยอรมันที่เป็นเครื่องบินขับไล่หลักของเยอรมันในการโจมตีเกาะอังกฤษ เครื่องบินชนิดนี้มีสมรรถนะไม่ด้อยไปกว่าเครื่องบินสปิตไฟร์และเฮอร์ริเคนของอังกฤษเลย เพราะมันถูกออกแบบมาให้มีโครงสร้างที่เล็ก คล่องตัว มีเครื่องยนต์ที่ทรงพลัง มีอัตราความเร็วในการบินดำดิ่ง เร็วกว่าเครื่องบินขับไล่ของอังกฤษทุกชนิด นอกจากนี้ยังติดปืนกลขนาด 7.9 มิลลิเมตรแบบเอ็ม จี 17 (MG 17) ที่จมูกของเครื่องบินจำนวนสองกระบอกโดยทำการยิงลอดใบพัด ส่วนปืนใหญ่อากาศขนาด 20 มิลลิเมตรแบบเอ็ม จี เอฟ เอฟ (MG FF) อีกสองกระบอกติดที่ปีกทั้งสองข้าง ข้างละหนึ่งกระบอก ในช่วงต้นของการรบที่เกาะอังกฤษ เยอรมันมีเครื่องบินขับไล่แบบนี้และแบบ บี เอฟ 110 อยู่ถึง 1,290 ลำ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         แม้จะมีประสิทธิภาพสูงเพียงใดก็ตาม แต่เครื่องบิน บี เอฟ 109 ก็สามารถบินแสดงแสนยานุภาพเหนือเกาะอังกฤษได้เพียง 30 นาทีเท่านั้น เพราะไม่เช่นนั้นจะไม่มีน้ำมันเหลือเพียงพอในการบินกลับฐาน ทั้งที่ด้วยขีดจำกัดดังกล่าวทำให้นักบินเยอรมันถึงกับบอกว่า เยอรมันเหมือนสุนัขที่ถูกล่ามโซ่เอาไว้ แม้ว่ามันต้องการโจมตีข้าศึกมากมายเท่าใด แต่ก็ไม่สามารถทำอะไรได้เพราะสายโซ่ที่มีอยู่รั้งคอมันเอาไว้นั่นเองภายหลังจากที่เยอรมันพิชิตเบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศสแล้ว กองทัพเยอรมันก็รุกมาอยู่ที่ชายฝั่งของฝรั่งเศสตรงข้ามกับเกาะอังกฤษ ฮิตเลอร์ก็วางแผนที่จะบุกเกาะอังกฤษ เป็นขั้นตอนต่อไป โดยมุ่งบุกไปทางตอนใต้ของเกาะ ภายใต้ชื่อยุทธการ สิงโตทะเล (Sealion) ซึ่งความสำเร็จของยุทธการนี้ จะขึ้นอยู่กับการทำลายกองทัพอากาศของอังกฤษ (Royal Air Forces\'s fighter Command) โดยกองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe) </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"></span></p>\n<div align=\"center\" class=\"pager\">\n<a href=\"/node/83252\">« แรก</a>  <a href=\"/node/83252\">‹ หน้าก่อน</a>  <span class=\"pager-list\"><a href=\"/node/83252\">1</a><strong class=\"pager-current\">  2  </strong><a href=\"/node/84043\">3</a>  <a href=\"/node/84056\">4</a>  <a href=\"/node/84057\">5</a>  <a href=\"/node/84058\">6</a>  <a href=\"/node/84059\" title=\"ไปยังหน้า 7\" class=\"pager-last active\">7</a>  </span><a href=\"/node/84043\">ถัดไป ›</a>  <a href=\"/node/84059\">หน้าสุดท้าย »</a>\n</div>\n<div align=\"center\" class=\"pager\">\n</div>\n<div align=\"center\" class=\"pager\">\n</div>\n<div align=\"center\" class=\"pager\">\n<span style=\"color: #fa7fa4\"><a href=\"/node/72304\"></a><a href=\"/node/81949\"><img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u31525/icon-home2_0.jpg\" height=\"71\" /></a><br />\n</span>\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1717240872, expire = 1717327272, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6d5be850441fcdf46f6b28296c66ac50' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หน้า 2 สงคราม

 

     
 

 

          มีความสับสนอย่างมากในหน้าประวัติศาสตร์ช่วงนี้ว่า ความชักช้าในการโจมตีเกิดขึ้นเพราะอะไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตัดสินใจโจมตีอังกฤษของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เพราะเขาเป็นผู้หนึ่งที่ให้เกียรติและเคารพในความเป็นชนชาติอังกฤษอย่างมาก รวมไปถึงให้เกียรติต่อกองทัพบก กองทัพเรือและระบบการศึกษาของอังกฤษอีกด้วย ดังจะเห็นได้จากบันทึกเรื่อง “การต่อสู้ของข้าพเจ้า” หรือ Mein Kampf ที่เขาเขียนขึ้นได้อธิบายความหมายของประเทศอังกฤษว่าเป็น “ประเทศพี่น้องของชนชาติเยอรมัน” (Germanic Brother Nation) พร้อมทั้งเรียกชนชาติอังกฤษว่าเป็น “แฮร์เรนโฟล์ค” (Herrenvolk) ซึ่งแปลว่า “เชื้อชาติชั้นนำ” (master race) ซึ่งเป็นเชื้อชาติที่มีความบริสุทธิ์ทัดเทียมกับชาวเยอรมัน อีกทั้งความฝันของฮิตเลอร์ในการแผ่ขยายอาณาจักรไรซ์ที่สาม (The Third Reich) ของเขาก็คือ การครอบครองยุโรปควบคู่ไปกับการเคียงข้างกับศักยภาพทางทะเลของอังกฤษ แม้ในช่วงต่อมาของสงครามฮิตเลอร์ก็ยังคงชื่นชมอังกฤษอยู่เสมอ จนถึงกล่าวขณะที่กองทัพเยอรมันรุกเข้าสู่กรุงมอสโคว์ เมืองหลวงของรัสเซียตอนหนึ่งว่า “เยอรมันจะต้องเรียนรู้อีกมากจากพวกอังกฤษ” 

         แม้ว่าฮิตเลอร์จะประทับใจอังกฤษมากเท่าใดก็ตาม การโจมตีของกองทัพอากาศเยอรมันก็เริ่มเปิดฉากขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ.1940 เมื่อเครื่องบินทิ้งระเบิดจำนวน 70 ลำเข้าโจมตีท่าเรือต่างๆ ที่เมืองเซาท์ เวล (South Wale) และนับจากนั้นอีก 3 สัปดาห์ต่อมา นักบินของเยอรมันและอังกฤษก็เข้าต่อสู้ห้ำหั่นกันอย่างดุเดือด โดยฝ่ายอังกฤษนั้นไม่ได้มีแต่เพียงนักบินอังกฤษเท่านั้น หากแต่ยังประกอบไปด้วยนักบินจากประเทศต่างๆ มากมาย อาทิ นักบินจากประเทศนิวซีแลนด์จำนวน 101 นาย แคนาดา 94 นาย เบลเยี่ยม 29 นาย ออสเตรเลียและแอฟริกาใต้ประเทศละ 22 นาย ฝรั่งเศส 14 นาย สหรัฐอเมริกา 7 นาย และโปแลนด์ 147 นาย นาย

         นักบินของกองทัพอากาศอังกฤษเหล่านี้ต่อสู้อย่างทรหด แม้จะอิดโรยอย่างมากจากการโจมตีของเยอรมันระลอกแล้ว ระลอกเล่า ทั้งกลางวันและกลางคืน ทั้งนี้เพื่อรักษาแผ่นดินบ้านเกิดเมืองนอนของตน ฝูงบินที่มีชื่อเสียงของอังกฤษที่ปฏิบัติการรบในห้วงเวลานั้นก็เช่น ฝูงบินที่ 19 (No.19 Squadron) มีรหัสเรียกขานว่า “คิว วี” มีฐานตั้งอยู่ที่เมืองดักซ์ฟอร์ดและอีสท์เชิร์ท นับเป็นฝูงบินของเครื่องบินขับไล่แบบ “สปิตไฟร์” ฝูงแรกของกองทัพอากาศอังกฤษ และมียอดการทำลายเครื่องบินข้าศึกจำนวน 68 ลำตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงพฤศจิกายน ค.ศ.1940 เสืออากาศที่เด่นๆ ก็คือ แอล เอ เฮนส์ (L.A. Haines) สามารถยิงเครื่องบินเยอรมันตก 6 ลำโดยลำพังและร่วมกับเครื่องบินลำอื่นอีก 2 ลำก่อนที่เขาจะเสียชีวิตจากการสู้รบในปี ค.ศ.1941

         ในขณะเดียวกันนักบินเยอรมันก็ต่อสู้อย่างสมศักดิ์ศรี ด้วยความมีประสบการณ์จากสมรภูมิสงครามกลางเมืองในประเทศสเปนมาจนถึงสมรภูมิในยุโรป ทำให้ในขณะนั้นนักบินเยอรมันเป็นนักบินที่น่ากลัวที่สุดของโลกก็ว่าได้ ฝูงบินเยอรมันที่มีความโดดเด่นในการรบเหนือเกาะอังกฤษ

         เช่น ฝูงบินที่ 2 หรือ จาคด์ชวาเดอร์ 2 ริชโธเฟน (Jagdgeschwader 2 ‘Richthofen’) ซึ่งประจำการอยู่ที่เมือง เลอ แฮฟร์ ของฝรั่งเศส เป็นฝูงบินที่ประกอบไปด้วยนักบินที่มีอาวุโสและมีความสามารถสูง ฝูงบินนี้ตั้งนามหน่วยตามชื่อของเสืออากาศเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งคือ บารอน มานเฟรด ฟอน ริชโธเฟน (Baron Manfred Von Richthofen) มีเสืออากาศเด่นๆ เช่น เคิร์ท บัวฮ์ลิเก้น (Kurt Buhligen) ซึ่งมียอดการสังหารเครื่องบินสูงถึง 112 ลำตลอดสงครามโลกครั้งที่สอง

         ฝูงบินของเยอรมันอีกฝูงหนึ่งคือ ฝูงบินที่ 26 (Jagdgeschwader 26) ซึ่งมีบทบาทอย่างมากในการคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิด นักบินที่จัดว่าเป็น “ยอดเสืออากาศ” ของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ อดอล์ฟ กัลล์ลันด์ (Adolf Galland) ก็สังกัดอยู่ในฝูงบินนี้ โดยกัลล์ลันด์สามารถยิงเครื่องบินของอังกฤษตกได้ทั้งหมด 36 เครื่องในการรบเหนือเกาะอังกฤษ และมียอดรวมเครื่องบินของศัตรูทั้งหมด 104 เครื่องตลอดสงครามโลกครั้งที่สอง 

         อย่างไรก็ตาม แม้นักบินของเยอรมันจะมีความห้าวหาญและประสบการณ์ที่สูงกว่า แต่เนื่องจากปัจจัยต่างๆ เช่น ระบบเรดาห์เตือนภัย ที่อังกฤษนำมาใช้ในการแจ้งเตือน ถึงการมาถึงของฝูงบินเยอรมัน ทำให้อังกฤษมีเวลาเตรียมตัวรับมือ ซึ่งอันที่จริงแล้วคำศัพท์ “เรดาห์” (Radar) นั้นมีการใช้อย่างเป็นทางการในปี ค.ศ.1943 ภายหลังจากการโจมตีเกาะอังกฤษเป็นเวลาเกือบสามปี โดยในขณะที่เริ่มใช้งานระหว่างการโจมตีของฝูงบินเยอรมันในปี ค.ศ.1940 นั้น กองทัพอังกฤษยังเรียกเรดาห์ของพวกเขาว่า “วิทยุค้นหาทิศทาง” (Radio Direction Finding)

         อีกทั้งยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนอยู่มากที่ว่าอังกฤษมีเรดาห์เพียงฝ่ายเดียว ทั้งที่ในขณะนั้นเยอรมันก็มีเรดาห์ใช้งานในกองทัพของตนแล้วเช่นกัน เพียงแต่เยอรมันใช้เรดาห์ในการตรวจค้นหาเป้าหมายทางทะเลเป็นหลัก ส่วนอังกฤษนำเรดาห์เข้ามาใช้ในเครือข่ายการป้องกันน่านฟ้าของตนหรือที่เรียกว่าระบบ “ควบคุมและรายงาน” (Control and reporting system) อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งความจริงในข้อนี้เป็นสิ่งที่ฝ่ายการข่าวของกองทัพเยอรมันประเมินผิดพลาด โดยประเมินว่าอังกฤษยังไม่สามารถนำระบบเรดาห์มาใช้ในการตรวจจับอากาศยานได้ มีแต่เพียงระบบเรดาห์ด้านการข่าวบริเวณชายฝั่งทะเลเท่านั้น ข้อผิดพลาดนี้เป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่ทำให้การโจมตีเกาะอังกฤษของเยอรมันประสบความล้มเหลว

         นอกจากนี้การต่อสู้บนแผ่นดินอังกฤษ ทำให้นักบินเยอรมันต้องพบกับขีดจำกัดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องบิน เช่น เครื่องบินแมสเซอร์สมิท บี เอฟ 109 (Messerschmitt Bf 109) ของเยอรมันที่เป็นเครื่องบินขับไล่หลักของเยอรมันในการโจมตีเกาะอังกฤษ เครื่องบินชนิดนี้มีสมรรถนะไม่ด้อยไปกว่าเครื่องบินสปิตไฟร์และเฮอร์ริเคนของอังกฤษเลย เพราะมันถูกออกแบบมาให้มีโครงสร้างที่เล็ก คล่องตัว มีเครื่องยนต์ที่ทรงพลัง มีอัตราความเร็วในการบินดำดิ่ง เร็วกว่าเครื่องบินขับไล่ของอังกฤษทุกชนิด นอกจากนี้ยังติดปืนกลขนาด 7.9 มิลลิเมตรแบบเอ็ม จี 17 (MG 17) ที่จมูกของเครื่องบินจำนวนสองกระบอกโดยทำการยิงลอดใบพัด ส่วนปืนใหญ่อากาศขนาด 20 มิลลิเมตรแบบเอ็ม จี เอฟ เอฟ (MG FF) อีกสองกระบอกติดที่ปีกทั้งสองข้าง ข้างละหนึ่งกระบอก ในช่วงต้นของการรบที่เกาะอังกฤษ เยอรมันมีเครื่องบินขับไล่แบบนี้และแบบ บี เอฟ 110 อยู่ถึง 1,290 ลำ

         แม้จะมีประสิทธิภาพสูงเพียงใดก็ตาม แต่เครื่องบิน บี เอฟ 109 ก็สามารถบินแสดงแสนยานุภาพเหนือเกาะอังกฤษได้เพียง 30 นาทีเท่านั้น เพราะไม่เช่นนั้นจะไม่มีน้ำมันเหลือเพียงพอในการบินกลับฐาน ทั้งที่ด้วยขีดจำกัดดังกล่าวทำให้นักบินเยอรมันถึงกับบอกว่า เยอรมันเหมือนสุนัขที่ถูกล่ามโซ่เอาไว้ แม้ว่ามันต้องการโจมตีข้าศึกมากมายเท่าใด แต่ก็ไม่สามารถทำอะไรได้เพราะสายโซ่ที่มีอยู่รั้งคอมันเอาไว้นั่นเองภายหลังจากที่เยอรมันพิชิตเบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศสแล้ว กองทัพเยอรมันก็รุกมาอยู่ที่ชายฝั่งของฝรั่งเศสตรงข้ามกับเกาะอังกฤษ ฮิตเลอร์ก็วางแผนที่จะบุกเกาะอังกฤษ เป็นขั้นตอนต่อไป โดยมุ่งบุกไปทางตอนใต้ของเกาะ ภายใต้ชื่อยุทธการ สิงโตทะเล (Sealion) ซึ่งความสำเร็จของยุทธการนี้ จะขึ้นอยู่กับการทำลายกองทัพอากาศของอังกฤษ (Royal Air Forces's fighter Command) โดยกองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe)


สร้างโดย: 
ครู ชาญชัย เปี่ยมชาคร และ นส.ปณิชา อลงกรณ์ชุลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1254 คน กำลังออนไลน์