• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.145.161.228', 0, '9d8c3d270ee81c5ec9cb585c55ef92c9', 175, 1716101163) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:efa58cf2542b2c0731a961cb85168cee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #808080\"><u><span style=\"color: #800080\">พัฒนาการของมนุษย์ยุคใหม่</span></u> <br />\n</span></strong><strong><span style=\"color: #808080\"><br />\n             ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะดาราศาสตร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นผลให้นักเดินเรือสามารถเดินทางและกำหนดเป้าหมายได้อย่างมีระบบ <br />\nขยายการค้าและการติดต่อระหว่างตะวันออกกับตะวันตกได้ <br />\nสาเหตุการสำรวจทางทะเล <br />\n            1. ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ และความรู้ด้านภูมิศาสตร์ แผนที่ของปิโตเลมี <br />\n            2. การใช้เข็มทิศและความก้าวหน้าในการต่อเรือเดินสมุทร อย่างมีประสิทธิภาพ <br />\n            3. ความต้องการสินค้าและวัตถุดิบจากโลกตะวันออก <br />\n                    โปรตุเกสเป็นชาติแรกที่เป็นผู้นำในการเดินเรือ นักสำรวจที่สำคัญ ได้แก่ <br />\n            1. นาโธโลนิว ไดแอส สามารถเดินเรือเลียบทวีแอฟริกา อ้อมแหลมกู๊ดโฮป <br />\n            2. วาสโกดา กามา เดินเรือมาทวีปเอเซีย ขึ้นฝั่งที่ประเทศอินเดีย <br />\n            3. คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาวอิตาลีค้นพบทวีปอเมริกา <br />\n            4. เฟอร์ดินันด์ แมกเจลแลน นักแสวงโชคผู้สามารถเดินเรือรอบโลกได้เป็นผู้สำเร็จคนแรก </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">ความก้าวหน้าวิทยาศาสตร์สาขาอื่นนอกจากดาราศาสตร์ <br />\n            1. ทอร์ริเซลลี นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี ประดิษฐ์บารอมิเตอร์เพื่อใช้วัดความกดดันของบรรยากาศ <br />\n            2. เกอร์ริก ชาวเยอรมันพิสูจน์ว่าอากาศมีความดกดัน <br />\n            3. เซอร์ ไอแซค นิวตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษที่ศึกษาเรื่องการหักเหของแสง และแรงดึงดูดของโลก <br />\n            4. พาราเซลซัส ชาวสวิตเซอร์แลนด์ ได้ศึกษาเกี่ยวกับธาตุที่ใช้ในการรักษาโรค <br />\n            5. โรเบิร์ต บอยล์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ศึกษาวิธีเตรียมฟอสฟอรัสจากน้ำปัสสาวะกับกระดูก และให้คำจำกัดความของ &quot;ธาตุ&quot; คือ สารที่จะไม่มีการแปร<br />\nให้เป็นสิ่งอื่นได้เลย <br />\n            6. โรเบิร์ต ฮุค ได้ตั้ง &quot;กฎของบอยล์&quot; ว่า อากาศหรือก๊าซเมื่อถูกความร้อนจะขยายตัว และถ้าอุณหภูมิมีค่าคงที่แล้ว ก๊าซจะมีปริมาณน้อยมากตามปฏิภาคอย่าง<br />\nกลับกับความกดดันของก๊าซนั้น ๆ และศึกษาว่าแสงเป็นคลื่นได้ <br />\n            7. เจมส์ วัตต์ นักประดิษฐ์ชาวสก็อตแลนด์ที่ได้เห็นเครื่องสูบน้ำของนิวโคเมนและได้นำมาพัฒนาเป็นเครื่องจักรกล ทำให้การปฏิวัติอุตสาหกรรมพัฒนาได้เร็ว<br />\nขึ้น </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">กระบวนการเปลี่ยนแปลงในยุคใหม่ <br />\n            การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ <br />\n      หมายถึง วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกต การตรวจสอบ และการทดลองอย่างมีหลักการและมีเหตุผล เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 16 - 18 <br />\nนักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญ ได้แก่ <br />\n            1. กาลิเลโอ ใช้กล้องโทรทรรศน์ยืนยันความถูกต้องของระบบสุริยจักรวาล <br />\n            2. เซอร์ ไอแซค นิวตัน ค้นพบกฎการโน้มถ่วง แรงดึงดูดของโลก <br />\n            3. โยฮันเนส เคปเลอร์ ค้นพบวงโคจรของดาวเคราะห์เป็นวงรีไม่ใช่วงกลม<br />\n            4. เรอเน เดสการ์ต บิดาแห่งเรขาคณิตวิเคราะห์สมัยใหม่ <br />\n            5. ปิโตรเลมี ศึกษาโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล <br />\n            การปฏิวัติอุตสาหกรรมและผลในด้านต่าง ๆ <br />\n        การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต จากการใช้แรงงานคนและสัตว์มาเป็นการใช้เครื่องจักรแทน หรือเปลี่ยนจากการผลิตในครัว<br />\nเรือนเป็นการผลิตระบบโรงงาน ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 18</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">ระยะของการปฏิวัติอุตสาหกรรม <br />\n      การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรก เป็นการใช้พลังไอน้ำในการขับเคลื่อนเครื่องจักรในอุตสาหกรรมทอผ้า และต่อมามีการใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง ประเทศอังกฤษเป็น<br />\nผู้นำอุตสาหกรรมประเทศแรกในการปฏิวัติอุตสาหกรรม <br />\n      การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่สอง เป็นช่วงที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า ก๊าซ และน้ำมันมาใช้แทนถ่านหินหรือเป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมเหล็กกล้า มีกระบวนการ<br />\nผลิตแยกส่วนแล้วนำมาประกอบกัน มีโรงงานขนาดใหญ่ขึ้น มีจำนวนคนทำงานในเมืองมากขึ้น เกิดเป็นสังคมเมืองขนาดใหญ่ <br />\n      การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่สาม เป็นสมัยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ มีการประดิษฐ์เครื่องจักรไดนาโมของไมเคิล ฟาราเดย์ เช่น ภาพยนตร์ โทรเลข โทรศัพท์ การพิมพ์ <br />\n            สาเหตุที่อังกฤษเป็นผู้นำในการปฏิวัติอุตสาหกรรม <br />\n           1. มีระบบการเงินที่มั่นคง <br />\n           2. มีวัตถุดิบที่จำเป็นต่ออุตสาหกรรม ได้แก่ เหล็ก ถ่านหิน <br />\n           3. มีประชากรเพิ่มขึ้นจากการปฏิวัติเกษตรกรรมทำให้มีแรงงานเพิ่มมากขึ้น <br />\n           4. มีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <br />\n           5. มีตลาดการค้ากว้างขวางเนื่องจากมีการล่าอาณานิคมมากขึ้น <br />\n           6. มีการคมนาคมขนส่งสะดวก </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรม<br />\n      ด้านการเมือง <br />\n            1. เกิดลัทธิจักรวรรดินิยม <br />\n            2. บทบาททางการเมือง และการต่อสู้ของกรรมกร <br />\n            3. การสถาปนาอำนาจของชนชั้นกลาง<br />\n      ด้านเศรษฐกิจ <br />\n            1. เกิดชนชั้นกลาง และชนชั้นกรรมมาชีพ <br />\n            2. เกิดระบบโรงงานแทนการผลิตในครัวเรือน <br />\n            3. เกิดความเหลี่ยมล้ำทางเศรษฐกิจ คือ ประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศกำลังพัฒนา <br />\n      ด้านสังคม <br />\n            1. เกิดความเหลื่อมล้ำทางสังคม <br />\n            2. เกิดการเลื่อนชั้นทางสังคม <br />\n            3. ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว <br />\n            4. ชุมชนเมืองเกิดการขยายตัวอย่างรวดเร็ว<br />\n      ด้านภูมิปัญญา <br />\n            1. ลัทธิเสรีนิยม โดย อดัม สมิธ แนวคิด &quot;ให้มีการแข่งขันทางเศรษฐกิจอย่างเสรี โดยรัฐบาลเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจน้อยที่สุด&quot; <br />\n            2. ลัทธิสังคมนิยม โดย คาร์ล มาร์กซ แนวคิด &quot;ให้สังคมมีความเสมอภาค ลดความแตกต่างระหว่างชนชั้น ให้คิดเห็นส่วนรวมมากกว่า&quot; </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">ผลกระทบการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศไทย <br />\n            1. มีการนำเรือมาใช้ในกองทัพเรือ <br />\n            2. เกิดกองทหารแบบตะวันตก <br />\n            3. มีความก้าวหน้าด้านการผลิตสิ่งพิมพ์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">เทคโนโลยีกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย <br />\n            1. เกิดอุตสาหกรรมโรงสีข้าวแห่งแรกของไทย <br />\n            2. ตั้งโรงกษาปณ์ ในสมัยรัชกาลที่ 4<br />\n            3. มีระบบเงินตรา เป็น บาท สตางค์ ในสมัยรัชกาลที่ 5 </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">เทคโนโลยีกับการปฏิรูปทางสังคม <br />\n           การสาธารณูปโภค มีการใช้ประปา ไฟฟ้า <br />\n           การคมนาคม เปลี่ยนการสัญจรทางน้ำมาเป็นทางบก มีการสร้างถนนในสมัยรัชกาลที่ 4 ถนนสายแรกคือ ถนนเจริญกรุง และการสร้างทางรถไฟ <br />\n           การสื่อสาร มีการสร้างกรมไปรษณีย์ และนำโทรศัพท์วิทยุกระจายเสียงเข้ามาใช้ <br />\n           การสาธารณสุข ชาวตะวันตกโดยมิชชั่นนารีเข้ามารับการรักษา มีการตั้งศิริราชพยาบาล สภากาชาดไทย สถานเสาวภา และ โรงพยาบาลขึ้น</span></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716101183, expire = 1716187583, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:efa58cf2542b2c0731a961cb85168cee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมัยใหม่


พัฒนาการของมนุษย์ยุคใหม่ 

             ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะดาราศาสตร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นผลให้นักเดินเรือสามารถเดินทางและกำหนดเป้าหมายได้อย่างมีระบบ
ขยายการค้าและการติดต่อระหว่างตะวันออกกับตะวันตกได้
สาเหตุการสำรวจทางทะเล
            1. ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ และความรู้ด้านภูมิศาสตร์ แผนที่ของปิโตเลมี
            2. การใช้เข็มทิศและความก้าวหน้าในการต่อเรือเดินสมุทร อย่างมีประสิทธิภาพ
            3. ความต้องการสินค้าและวัตถุดิบจากโลกตะวันออก
                    โปรตุเกสเป็นชาติแรกที่เป็นผู้นำในการเดินเรือ นักสำรวจที่สำคัญ ได้แก่ 
            1. นาโธโลนิว ไดแอส สามารถเดินเรือเลียบทวีแอฟริกา อ้อมแหลมกู๊ดโฮป 
            2. วาสโกดา กามา เดินเรือมาทวีปเอเซีย ขึ้นฝั่งที่ประเทศอินเดีย 
            3. คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาวอิตาลีค้นพบทวีปอเมริกา 
            4. เฟอร์ดินันด์ แมกเจลแลน นักแสวงโชคผู้สามารถเดินเรือรอบโลกได้เป็นผู้สำเร็จคนแรก

ความก้าวหน้าวิทยาศาสตร์สาขาอื่นนอกจากดาราศาสตร์
            1. ทอร์ริเซลลี นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี ประดิษฐ์บารอมิเตอร์เพื่อใช้วัดความกดดันของบรรยากาศ
            2. เกอร์ริก ชาวเยอรมันพิสูจน์ว่าอากาศมีความดกดัน
            3. เซอร์ ไอแซค นิวตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษที่ศึกษาเรื่องการหักเหของแสง และแรงดึงดูดของโลก
            4. พาราเซลซัส ชาวสวิตเซอร์แลนด์ ได้ศึกษาเกี่ยวกับธาตุที่ใช้ในการรักษาโรค
            5. โรเบิร์ต บอยล์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ศึกษาวิธีเตรียมฟอสฟอรัสจากน้ำปัสสาวะกับกระดูก และให้คำจำกัดความของ "ธาตุ" คือ สารที่จะไม่มีการแปร
ให้เป็นสิ่งอื่นได้เลย
            6. โรเบิร์ต ฮุค ได้ตั้ง "กฎของบอยล์" ว่า อากาศหรือก๊าซเมื่อถูกความร้อนจะขยายตัว และถ้าอุณหภูมิมีค่าคงที่แล้ว ก๊าซจะมีปริมาณน้อยมากตามปฏิภาคอย่าง
กลับกับความกดดันของก๊าซนั้น ๆ และศึกษาว่าแสงเป็นคลื่นได้
            7. เจมส์ วัตต์ นักประดิษฐ์ชาวสก็อตแลนด์ที่ได้เห็นเครื่องสูบน้ำของนิวโคเมนและได้นำมาพัฒนาเป็นเครื่องจักรกล ทำให้การปฏิวัติอุตสาหกรรมพัฒนาได้เร็ว
ขึ้น

กระบวนการเปลี่ยนแปลงในยุคใหม่
            การปฏิวัติวิทยาศาสตร์
      หมายถึง วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกต การตรวจสอบ และการทดลองอย่างมีหลักการและมีเหตุผล เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 16 - 18
นักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญ ได้แก่ 
            1. กาลิเลโอ ใช้กล้องโทรทรรศน์ยืนยันความถูกต้องของระบบสุริยจักรวาล
            2. เซอร์ ไอแซค นิวตัน ค้นพบกฎการโน้มถ่วง แรงดึงดูดของโลก 
            3. โยฮันเนส เคปเลอร์ ค้นพบวงโคจรของดาวเคราะห์เป็นวงรีไม่ใช่วงกลม
            4. เรอเน เดสการ์ต บิดาแห่งเรขาคณิตวิเคราะห์สมัยใหม่
            5. ปิโตรเลมี ศึกษาโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล
            การปฏิวัติอุตสาหกรรมและผลในด้านต่าง ๆ
        การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต จากการใช้แรงงานคนและสัตว์มาเป็นการใช้เครื่องจักรแทน หรือเปลี่ยนจากการผลิตในครัว
เรือนเป็นการผลิตระบบโรงงาน ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 18

ระยะของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
      การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรก เป็นการใช้พลังไอน้ำในการขับเคลื่อนเครื่องจักรในอุตสาหกรรมทอผ้า และต่อมามีการใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง ประเทศอังกฤษเป็น
ผู้นำอุตสาหกรรมประเทศแรกในการปฏิวัติอุตสาหกรรม
      การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่สอง เป็นช่วงที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า ก๊าซ และน้ำมันมาใช้แทนถ่านหินหรือเป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมเหล็กกล้า มีกระบวนการ
ผลิตแยกส่วนแล้วนำมาประกอบกัน มีโรงงานขนาดใหญ่ขึ้น มีจำนวนคนทำงานในเมืองมากขึ้น เกิดเป็นสังคมเมืองขนาดใหญ่
      การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่สาม เป็นสมัยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ มีการประดิษฐ์เครื่องจักรไดนาโมของไมเคิล ฟาราเดย์ เช่น ภาพยนตร์ โทรเลข โทรศัพท์ การพิมพ์
            สาเหตุที่อังกฤษเป็นผู้นำในการปฏิวัติอุตสาหกรรม
           1. มีระบบการเงินที่มั่นคง
           2. มีวัตถุดิบที่จำเป็นต่ออุตสาหกรรม ได้แก่ เหล็ก ถ่านหิน
           3. มีประชากรเพิ่มขึ้นจากการปฏิวัติเกษตรกรรมทำให้มีแรงงานเพิ่มมากขึ้น
           4. มีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
           5. มีตลาดการค้ากว้างขวางเนื่องจากมีการล่าอาณานิคมมากขึ้น
           6. มีการคมนาคมขนส่งสะดวก

ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
      ด้านการเมือง
            1. เกิดลัทธิจักรวรรดินิยม
            2. บทบาททางการเมือง และการต่อสู้ของกรรมกร
            3. การสถาปนาอำนาจของชนชั้นกลาง
      ด้านเศรษฐกิจ
            1. เกิดชนชั้นกลาง และชนชั้นกรรมมาชีพ
            2. เกิดระบบโรงงานแทนการผลิตในครัวเรือน
            3. เกิดความเหลี่ยมล้ำทางเศรษฐกิจ คือ ประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศกำลังพัฒนา
      ด้านสังคม
            1. เกิดความเหลื่อมล้ำทางสังคม
            2. เกิดการเลื่อนชั้นทางสังคม
            3. ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
            4. ชุมชนเมืองเกิดการขยายตัวอย่างรวดเร็ว
      ด้านภูมิปัญญา
            1. ลัทธิเสรีนิยม โดย อดัม สมิธ แนวคิด "ให้มีการแข่งขันทางเศรษฐกิจอย่างเสรี โดยรัฐบาลเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจน้อยที่สุด"
            2. ลัทธิสังคมนิยม โดย คาร์ล มาร์กซ แนวคิด "ให้สังคมมีความเสมอภาค ลดความแตกต่างระหว่างชนชั้น ให้คิดเห็นส่วนรวมมากกว่า"

ผลกระทบการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศไทย
            1. มีการนำเรือมาใช้ในกองทัพเรือ
            2. เกิดกองทหารแบบตะวันตก
            3. มีความก้าวหน้าด้านการผลิตสิ่งพิมพ์

เทคโนโลยีกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย
            1. เกิดอุตสาหกรรมโรงสีข้าวแห่งแรกของไทย
            2. ตั้งโรงกษาปณ์ ในสมัยรัชกาลที่ 4
            3. มีระบบเงินตรา เป็น บาท สตางค์ ในสมัยรัชกาลที่ 5

เทคโนโลยีกับการปฏิรูปทางสังคม
           การสาธารณูปโภค มีการใช้ประปา ไฟฟ้า
           การคมนาคม เปลี่ยนการสัญจรทางน้ำมาเป็นทางบก มีการสร้างถนนในสมัยรัชกาลที่ 4 ถนนสายแรกคือ ถนนเจริญกรุง และการสร้างทางรถไฟ
           การสื่อสาร มีการสร้างกรมไปรษณีย์ และนำโทรศัพท์วิทยุกระจายเสียงเข้ามาใช้
           การสาธารณสุข ชาวตะวันตกโดยมิชชั่นนารีเข้ามารับการรักษา มีการตั้งศิริราชพยาบาล สภากาชาดไทย สถานเสาวภา และ โรงพยาบาลขึ้น

 

สร้างโดย: 
อ.ชาญไชย เปี่ยมชาคร,นส.กรกมล มีนสิรนันท์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 277 คน กำลังออนไลน์