user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('Money moneY', 'node/44250', '', '52.14.17.40', 0, '4d8340a773610c5812b58beec4cf18aa', 141, 1717332108) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.

สถานภาพของพระมหากษัตริย์ สาระประวัติศาสตร์ ส32104 ภาคเรียนที่ 2 / 2553

รูปภาพของ nsspramote

คำถามท้าทายให้นักเรียนเขียนอธิบายแสดงเหตุผลให้ได้ใจความดังนี้

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

รูปภาพของ nss40087

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร พระมหากษัตริย์ในฐานะองค์สมมติเทพ พระมหากษัตริย์ทรงดำรงฐานะเป็นสมมติเทพตามติของศาสนาพราหมณ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับองค์พระมหากษัตริย์สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นสมมติเทพ เช่น การสร้างที่ประทับ พระที่นั่งพระราชวัง การประกอบพิธีต่างๆ การใช้คำราชาศัพท์ เป็นต้น
        พระมหากษัตริย์ในฐานะธรรมราชา ตามคติธรรมราชานั้นถือว่า พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งทศพิธราชธรรม 10 ประการ และจักรวรรดิวัตร 12 ประการ
อย่างไรก็ตาม โดยขัตติยราชประเพณีแล้วพระมหากษัตริย์ทรงดำรงฐานะประดุจดังสมมติเทพ โดยคติความเชื่อ แต่ในทางปฏิบัติ พระองค์ทรงเป็นธรรมราชา ทำให้ฐานะของพระมหากษัตริย์ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะของความเป็นผู้นำทางการเมืองที่เหมือนคนธรรมดามากขึ้น แต่พระองค์ก็ยังทรงมีพระราชอำนาจสูงสุดเป็นเจ้าชีวิตของปวงชน เป็นพระเจ้าแผ่นดิน เป็นจอมทัพ เป็นต้น และพระบรมราชโองการของพระองค์ ผู้ใดจะฝ่าฝืนไม่ได้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนต้องถูกลงโทษอย่างหนัก
2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร สมัยกรุงสุโขทัยมีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"
 
ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา อ้างอิง http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1494 http://nucha.chs.ac.th/1.4.htm

1.  คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจาก สวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่  ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์และประชาชนจึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้น  

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

กษัตริย์ในสมัยกรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ พ่อปกครองลูกหรือ ปิตาธิปไตย โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่า พ่อขุน ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมี ศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 

รูปภาพของ nss40153

มาเป็นตับเลย

รูปภาพของ nss40153

1.  คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจาก สวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่  ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์และประชาชนจึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้น  

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

กษัตริย์ในสมัยกรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ พ่อปกครองลูกหรือ ปิตาธิปไตย โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่า พ่อขุน ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมี ศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 

 

รูปภาพของ nss40153

1.  คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจาก สวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่  ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์และประชาชนจึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้น  

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

กษัตริย์ในสมัยกรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ พ่อปกครองลูกหรือ ปิตาธิปไตย โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่า พ่อขุน ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมี ศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 

 

รูปภาพของ nss40153

1.  คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไรสมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจาก สวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่  ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์และประชาชนจึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้น  

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไรกษัตริย์ในสมัยกรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ พ่อปกครองลูกหรือ ปิตาธิปไตย โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่า พ่อขุน ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมี ศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 

 

รูปภาพของ nss40153

1.  คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไรสมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจาก สวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่  ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์และประชาชนจึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้น  

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไรกษัตริย์ในสมัยกรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ พ่อปกครองลูกหรือ ปิตาธิปไตย โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่า พ่อขุน ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมี ศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 

 

รูปภาพของ nss40153

1.  คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไรสมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจาก สวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่  ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์และประชาชนจึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้น  2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไรกษัตริย์ในสมัยกรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ พ่อปกครองลูกหรือ ปิตาธิปไตย โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่า พ่อขุน ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมี ศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 

 

รูปภาพของ nss40086

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

         พระมหากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามานานนับ 1,000 ปี แม้จะทรงมีพระราชอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ลักษณะการใช้พระราชอำนาจของแต่ละยุคแต่ละสมัยไม่ได้เป็นไปเพื่อกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนแม้แต่น้อย สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีก็ทรงใช้อำนาจแบบพ่อปกครองลูก ให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้า ให้สิทธิเสรีภาพในการค้าขายและส่งเสริมให้ราษฎรคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนา    สมัยอยุธยาเป็นราชธานี แม้จะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมในลัทธิพราหมณ์ที่หลั่งไหลมาจากเขมร คือ วัฒนธรรมเทวราชา หรือ เทพสมมติ ก็ไม่ปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนกลับนำประชาชนให้มีความเข้มแข็งและขยายพระราชอาณาจักรออกไปและทรงใช้พระราชอำนาจอยู่ในกรอบของธรรมะ ทั้งลัทธิธรรมศาสตร์และ "ราชศาสตร์" อันได้แก่ กฎมณเฑียรบาล จำกัดการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ป้องกันการกดขี่ข่มเหงใช้อำนาจรังแกและลงโทษประชาชนให้รอบคอบ รัดกุม ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนามาเข้มแข็งขึ้นในหมู่คนไทยก็หันมาใช้อำนาจแบบพระธรรมราชาและจักรพรรดิราชา ภายใต้ทศพิธราชธรรม ราชสังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร 12   สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ แม้พระมหากษัตริย์จะยังเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ก็มิได้ทรงใช้อำนาจกดขี่รังแกประชาชนคนไทยแต่อย่างใด กลับนำคนไทย ต่อสู้ข้าศึกศัตรูกอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาจนได้รับการยกย่อง เชื่อถือและถึงกับกราบบังคมทูลให้ทั้ง 2 พระองค์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ในวาระเวลาที่ต่างกัน ได้เกิดวัฒนธรรมอำนาจใหม่ขึ้นมาเป็นอเนกชนนิกรสโมสรสมมติมาถึงปัจจุบัน

 

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

        สมัยกรุงสุโขทัยมีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"  ส่วน ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา

 

 : http://power.manager.co.th/1-10.html

รูปภาพของ nss40160

 

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

ตอบ กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ..1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น “สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าว หรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการ ให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้พระเจ้าอู่ทอง (พระรามาธิบดีที่ 1) ทรงวางระบบการปกครองดังนี้

     ส่วนกลางเป็นแบบจตุสดมภ์ โดยมีเสนาบดี 4 คน คือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง และขุนนา เป็นผู้ดูแลกิจกรรมหลัก 4 ประการของการบริหารราชการแผ่นดิน มีการแบ่งหัวเมือง 3 ระดับ คือ หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก และเมืองประเทศราช 

 

 

  1. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

    ตอบ

พระมหากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามานานนับ 1,000 ปี แม้จะทรงมีพระราชอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ลักษณะการใช้พระราชอำนาจของแต่ละยุคแต่ละสมัยไม่ได้เป็นไปเพื่อกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนแม้แต่น้อย สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีก็ทรงใช้อำนาจแบบพ่อปกครองลูก ให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้า ให้สิทธิเสรีภาพในการค้าขายและส่งเสริมให้ราษฎรคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนา

สมัยอยุธยาเป็นราชธานี แม้จะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมในลัทธิพราหมณ์ที่หลั่งไหลมาจากเขมร คือ วัฒนธรรมเทวราชา หรือ เทพสมมติ ก็ไม่ปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนกลับนำประชาชนให้มีความเข้มแข็งและขยายพระราชอาณาจักรออกไปและทรงใช้พระราชอำนาจอยู่ในกรอบของธรรมะ ทั้งลัทธิธรรมศาสตร์และ "ราชศาสตร์" อันได้แก่ กฎมณเฑียรบาล จำกัดการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ป้องกันการกดขี่ข่มเหงใช้อำนาจรังแกและลงโทษประชาชนให้รอบคอบ รัดกุม ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนามาเข้มแข็งขึ้นในหมู่คนไทยก็หันมาใช้อำนาจแบบพระธรรมราชาและจักรพรรดิราชา ภายใต้ทศพิธราชธรรม ราชสังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร 12

สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ แม้พระมหากษัตริย์จะยังเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ก็มิได้ทรงใช้อำนาจกดขี่รังแกประชาชนคนไทยแต่อย่างใด กลับนำคนไทย ต่อสู้ข้าศึกศัตรูกอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาจนได้รับการยกย่อง เชื่อถือและถึงกับกราบบังคมทูลให้ทั้ง 2 พระองค์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ในวาระเวลาที่ต่างกัน ได้เกิดวัฒนธรรมอำนาจใหม่ขึ้นมาเป็นอเนกชนนิกรสโมสรสมมติมาถึงปัจจุบัน

ด้วยความยึดมั่นในพระพุทธศาสนาและปรัชญาการปกครองต่าง ๆ ที่ มุ่งต่อความมั่นคงของชาติบ้านเมืองและความอยู่ดีมีสุขของราษฎร มิได้มุ่งสั่งสมทรัพย์ศฤงคาร ความร่ำรวย หรือความสุขสบายเหมือนพระมหากษัตริย์ในประเทศอื่น ๆ จึงทำให้คนไทยมีความยึดมั่นจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และแยกจากกันไม่ออก

 

 

 

 

 

 

http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=1194.

 

http://power.manager.co.th/1-10.html

รูปภาพของ nss37587

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

ตอบ ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ เมื่อสิ้นกรุงสุโขทัย พระเจ้าอู่ทองได้สร้างกรุงศรีอยุธยา ศาสนาพราหมณ์เข้ามามีบทบาทอย่างมากโดยอิทธิพลของขอมและละโว้ ซึ่งถือว่ากษัตริย์คือพระผู้เป็นเจ้าอวตารมาเกิด พระเจ้าอู่ทองก็กลายเป็นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ รูปแบบของสถาบันพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยาแตกต่างจากสมัยสุโขทัยอย่างมากระบอบการปกครองของอยุธยาเป็นระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอำนาจเป็นล้นพ้น

สังคมในสมัยอยุธยาขึ้นอยู่กับพระมหากษัตริย์โดยตรง ซึ่งต่างกับสมัยสุโขทัยที่พระมหากษัตริย์ทรงปกครองราษฎรเยี่ยงบิดาปกครองบุตร แต่ในสมัยอยุธยาเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเจ้ากับข้าโดยแท้ ตำแหน่งพระมหากษัตริย์เป็นตำแหน่งที่ช่วงชิงกันด้วยอำนาจทางทหาร แนวความคิดเกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทวราชและทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะที่ทรงเป็นสมมติเทพ กฎเกณฑ์ตลอดจนขนบประเพณีต่างๆ ได้ถูกกำหนดขึ้นเพื่อรักษาฐานะเทวราชของพระมหากษัตริย์ ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอาจเป็นล้นพ้น

 

อ้างอิง

http://power.manager.co.th/1-10.htm

รูปภาพของ nssss40832

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

       ตอบ   พระมหากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามานานนับ 1,000 ปี แม้จะทรงมีพระราชอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ลักษณะการใช้พระราชอำนาจของแต่ละยุคแต่ละสมัยไม่ได้เป็นไปเพื่อกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนแม้แต่น้อย สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีก็ทรงใช้อำนาจแบบพ่อปกครองลูก ให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้า ให้สิทธิเสรีภาพในการค้าขายและส่งเสริมให้ราษฎรคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนา    สมัยอยุธยาเป็นราชธานี แม้จะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมในลัทธิพราหมณ์ที่หลั่งไหลมาจากเขมร คือ วัฒนธรรมเทวราชา หรือ เทพสมมติ ก็ไม่ปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนกลับนำประชาชนให้มีความเข้มแข็งและขยายพระราชอาณาจักรออกไปและทรงใช้พระราชอำนาจอยู่ในกรอบของธรรมะ ทั้งลัทธิธรรมศาสตร์และ "ราชศาสตร์" อันได้แก่ กฎมณเฑียรบาล จำกัดการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ป้องกันการกดขี่ข่มเหงใช้อำนาจรังแกและลงโทษประชาชนให้รอบคอบ รัดกุม ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนามาเข้มแข็งขึ้นในหมู่คนไทยก็หันมาใช้อำนาจแบบพระธรรมราชาและจักรพรรดิราชา ภายใต้ทศพิธราชธรรม ราชสังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร 12   สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ แม้พระมหากษัตริย์จะยังเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ก็มิได้ทรงใช้อำนาจกดขี่รังแกประชาชนคนไทยแต่อย่างใด กลับนำคนไทย ต่อสู้ข้าศึกศัตรูกอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาจนได้รับการยกย่อง เชื่อถือและถึงกับกราบบังคมทูลให้ทั้ง 2 พระองค์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ในวาระเวลาที่ต่างกัน ได้เกิดวัฒนธรรมอำนาจใหม่ขึ้นมาเป็นอเนกชนนิกรสโมสรสมมติมาถึงปัจจุบัน

2.2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ สมัยกรุงสุโขทัยมีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"  ส่วน

 ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา

webcache.googleusercontent.com/

รูปภาพของ nss37850

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร พระมหากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามานานนับ 1,000 ปี แม้จะทรงมีพระราชอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ลักษณะการใช้พระราชอำนาจของแต่ละยุคแต่ละสมัยไม่ได้เป็นไปเพื่อกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนแม้แต่น้อย สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีก็ทรงใช้อำนาจแบบพ่อปกครองลูก ให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้า ให้สิทธิเสรีภาพในการค้าขายและส่งเสริมให้ราษฎรคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนา    สมัยอยุธยาเป็นราชธานี แม้จะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมในลัทธิพราหมณ์ที่หลั่งไหลมาจากเขมร คือ วัฒนธรรมเทวราชา หรือ เทพสมมติ ก็ไม่ปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนกลับนำประชาชนให้มีความเข้มแข็งและขยายพระราชอาณาจักรออกไปและทรงใช้พระราชอำนาจอยู่ในกรอบของธรรมะ ทั้งลัทธิธรรมศาสตร์และ "ราชศาสตร์" อันได้แก่ กฎมณเฑียรบาล จำกัดการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ป้องกันการกดขี่ข่มเหงใช้อำนาจรังแกและลงโทษประชาชนให้รอบคอบ รัดกุม ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนามาเข้มแข็งขึ้นในหมู่คนไทยก็หันมาใช้อำนาจแบบพระธรรมราชาและจักรพรรดิราชา ภายใต้ทศพิธราชธรรม ราชสังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร 12   สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ แม้พระมหากษัตริย์จะยังเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ก็มิได้ทรงใช้อำนาจกดขี่รังแกประชาชนคนไทยแต่อย่างใด กลับนำคนไทย ต่อสู้ข้าศึกศัตรูกอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาจนได้รับการยกย่อง เชื่อถือและถึงกับกราบบังคมทูลให้ทั้ง 2 พระองค์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ในวาระเวลาที่ต่างกัน ได้เกิดวัฒนธรรมอำนาจใหม่ขึ้นมาเป็นอเนกชนนิกรสโมสรสมมติมาถึงปัจจุบัน2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร         กษัตริย์กรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ “พ่อปกครองลูก” หรือ “ปิตาธิปไตย” โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร   ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่า“พ่อขุน” ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง กรุงศรีอยุธยา สถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบคืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียวโดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น “สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า“ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลาจึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 

รูปภาพของ nss37850

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร พระมหากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามานานนับ 1,000 ปี แม้จะทรงมีพระราชอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ลักษณะการใช้พระราชอำนาจของแต่ละยุคแต่ละสมัยไม่ได้เป็นไปเพื่อกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนแม้แต่น้อย สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีก็ทรงใช้อำนาจแบบพ่อปกครองลูก ให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้า ให้สิทธิเสรีภาพในการค้าขายและส่งเสริมให้ราษฎรคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนา    สมัยอยุธยาเป็นราชธานี แม้จะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมในลัทธิพราหมณ์ที่หลั่งไหลมาจากเขมร คือ วัฒนธรรมเทวราชา หรือ เทพสมมติ ก็ไม่ปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนกลับนำประชาชนให้มีความเข้มแข็งและขยายพระราชอาณาจักรออกไปและทรงใช้พระราชอำนาจอยู่ในกรอบของธรรมะ ทั้งลัทธิธรรมศาสตร์และ "ราชศาสตร์" อันได้แก่ กฎมณเฑียรบาล จำกัดการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ป้องกันการกดขี่ข่มเหงใช้อำนาจรังแกและลงโทษประชาชนให้รอบคอบ รัดกุม ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนามาเข้มแข็งขึ้นในหมู่คนไทยก็หันมาใช้อำนาจแบบพระธรรมราชาและจักรพรรดิราชา ภายใต้ทศพิธราชธรรม ราชสังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร 12   สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ แม้พระมหากษัตริย์จะยังเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ก็มิได้ทรงใช้อำนาจกดขี่รังแกประชาชนคนไทยแต่อย่างใด กลับนำคนไทย ต่อสู้ข้าศึกศัตรูกอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาจนได้รับการยกย่อง เชื่อถือและถึงกับกราบบังคมทูลให้ทั้ง 2 พระองค์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ในวาระเวลาที่ต่างกัน ได้เกิดวัฒนธรรมอำนาจใหม่ขึ้นมาเป็นอเนกชนนิกรสโมสรสมมติมาถึงปัจจุบัน2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร         กษัตริย์กรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ “พ่อปกครองลูก” หรือ “ปิตาธิปไตย” โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร   ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่า“พ่อขุน” ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง กรุงศรีอยุธยา สถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบคืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียวโดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น “สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า“ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลาจึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 

รูปภาพของ nss40088

1.คำว่า  สมมติเทพ”  มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร?

ตอบ  การดำรงฐานะของเจ้าชีวิตเจ้าแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ไทยในอดีตมี รูปแบบการใช้อำนาจรัฐาธิปัตย์แตกต่างกันไปบ้างตามกาลสมัย แต่ก็ยังคงรักษาไว้ซึ่งพระราชอำนาจสูงสุดเหนือเกล้าเหนือกระหม่อมของผู้คนตลอดทั่วพระราชอาณาจักร และทรงเป็นผู้นำทางจิตใจของคนไทยโดยไม่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลากว่า 1,000 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน     สมัยกรุงสุโขทัย  มีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็น ผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก" ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา       หลังจากพระนเรศวรมหาราชทรงขับไล่พม่าข้าศึกไปจากกรุงศรีอยุธยาแล้ว พระเจ้าแผ่นดินในรัชกาลต่อ ๆ มา ก็หันไปบำรุงด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม มิได้บำรุงด้านทหารให้เข้มแข็งเหมือนเดิม มินานก็เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 แก่พม่าอีกครั้งหนึ่ง จนอยุธยาต้องล่มสลายลงเมื่อ พ.ศ. 2310      สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ต้องใช้พระราชอำนาจเด็ดขาดกอบกู้บ้านเมือง ขับไล่ศัตรูจนสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี กอบกู้เอกราชได้สำเร็จ ขณะเดียวกันพระองค์ก็ทรงรักษาความเป็นธรรมราชาด้วยแต่พระองค์ก็ทรงครองราชย์อยู่ในช่วงเวลาอันสั้น    สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ความเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน เปลี่ยนแปลงรูปแบบอีกครั้ง จากเทพสมมติ มาเป็น "อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ" คือ เป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ประชาชนทั้งปวงยอมรับ ด้วยการที่ข้าราชการและราษฎรทั้งปวงพร้อมกันกราบทูลวิงวอนเชิญสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกขึ้นครองราชย์สมบัติ  นอกจากประชาชนจะยอมรับในองค์พระมหากษัตริย์แล้ว ประชาชนยังมีความเชื่ออีกว่า พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์จะต้องทรงตั้งมั่นในหลักธรรมะ คือ ทศพิธราชธรรม สังคหวัตถุ และ จักรวรรดิวัตร ที่จะทรงใช้ในการทรงคุ้มครองและทำประโยชน์ให้แก่แผ่นดินและราษฎร

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไ

ตอบ  แตกต่างกัน คือ

1. พระมหากษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยา

เมื่อปลายกรุงสุโขทัย พระเจ้าอู่ทองได้สร้างกรุงศรีอยุธยา ศาสนาพราหมณ์เข้ามามีบทบาทอย่างมากโดยเฉพาะอิทธิพลของขอมและละโว้ ซึ่งถือว่ากษัตริย์คือพระผู้เป็นเจ้าอวตารมาเกิด พระเจ้าอู่ทองก็กลายเป็นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 รูปแบบของสถาบันพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยาแตกต่างจากสมัยสุโขทัยอย่างมาก ระบอบการปกครองของอยุธยาเป็นระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอำนาจเป็นล้นพ้น สังคมในสมัยอยุธยาขึ้นอยู่กับพระมหากษัตริย์โดยตรง ซึ่งต่างกับสมัยสุโขทัยที่พระมหากษัตริย์ทรงปกครองราษฎรเยี่ยงบิดาปกครองบุตร แต่ในสมัยอยุธยาเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเจ้ากับข้าโดยแท้ ตำแหน่งพระมหากษัตริย์เป็นตำแหน่งที่ช่วงชิงกันด้วยอำนาจทางทหาร แนวความคิดเกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทวราชและทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะที่ทรงเป็นสมมติเทพ

2.พระมหากษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัย

สุโขทัยเป็นนครหลวงแห่งแรกของประชาชนเชื้อสายไทย สังคมไทยในยุคนี้มีลักษณะเป็นสังคมเผ่า มีความเกี่ยวพันและผูกพันกันอย่างหนาแน่นในสายโลหิต อาณาเขตของสุโขทัยในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ประกอบด้วยเมืองสุโขทัยและศรีสัชชนาลัยเท่านั้น ต่อมาได้ขยายกว้างขวางขึ้นในสมัย พ่อขุนรามคำแหง ความสัมพันธ์ของประชาชนก็มีลักษณะเป็นความสัมพันธ์ทางใจอันเกิดจากความรู้สึกว่าเป็นคนสายเลือดเดียวกัน และอยู่ภายใต้การปกครองโดย “พ่อขุน” องค์เดียวกัน ตามหลักฐานศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช แนวคิดเกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในสมัยสุโขทัยนี้ทรงเป็นผู้ครองนคร ซึ่งเป็นผู้ทรงสิทธิเหนืออาณาประชาราษฎร์ทั้งปวง สิทธิการเป็นพระมหากษัตริย์สืบทอดโดยการสืบสันตติวงศ์ ประชาชนมีสิทธิเข้าถึงตัวผู้ปกครองแผ่นดิน พระมหากษัตริย์ยังคงเป็นพระมหากษัตริย์ของชาวพุทธแท้ๆ ไม่มีคตินิยมแบบพราหมณ์เข้ามาปะปน พอสิ้นรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงจนถึงรัชกาลกษัตริย์องค์ต่อๆ มา เช่น พระมหาธรรมราชาลิไทย อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์เริ่มเข้ามา กษัตริย์เริ่มเป็นเทพยดา แต่ก็ยังยึดศาสนาพุทธอยู่ จึงเป็นแค่ “ธรรมราชา” ซึ่งเป็นคำในศาสนาพุทธ เหมือนที่ใช้เรียกพระเจ้าอโศก แต่หลังจากนั้นมาเริ่มเป็น “รามาธิบดี”

อ้างอิง

http://power.manager.co.th/1-10.html 

http://www.chaoprayanews.com 

http://www.thaipoliticsgovernment.org

รูปภาพของ gritsana

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร พระมหากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามานานนับ 1,000 ปี แม้จะทรงมีพระราชอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ลักษณะการใช้พระราชอำนาจของแต่ละยุคแต่ละสมัยไม่ได้เป็นไปเพื่อกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนแม้แต่น้อย สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีก็ทรงใช้อำนาจแบบพ่อปกครองลูก ให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้า ให้สิทธิเสรีภาพในการค้าขายและส่งเสริมให้ราษฎรคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนา    สมัยอยุธยาเป็นราชธานี แม้จะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมในลัทธิพราหมณ์ที่หลั่งไหลมาจากเขมร คือ วัฒนธรรมเทวราชา หรือ เทพสมมติ ก็ไม่ปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนกลับนำประชาชนให้มีความเข้มแข็งและขยายพระราชอาณาจักรออกไปและทรงใช้พระราชอำนาจอยู่ในกรอบของธรรมะ ทั้งลัทธิธรรมศาสตร์และ "ราชศาสตร์" อันได้แก่ กฎมณเฑียรบาล จำกัดการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ป้องกันการกดขี่ข่มเหงใช้อำนาจรังแกและลงโทษประชาชนให้รอบคอบ รัดกุม ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนามาเข้มแข็งขึ้นในหมู่คนไทยก็หันมาใช้อำนาจแบบพระธรรมราชาและจักรพรรดิราชา ภายใต้ทศพิธราชธรรม ราชสังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร 12   สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ แม้พระมหากษัตริย์จะยังเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ก็มิได้ทรงใช้อำนาจกดขี่รังแกประชาชนคนไทยแต่อย่างใด กลับนำคนไทย ต่อสู้ข้าศึกศัตรูกอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาจนได้รับการยกย่อง เชื่อถือและถึงกับกราบบังคมทูลให้ทั้ง 2 พระองค์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ในวาระเวลาที่ต่างกัน ได้เกิดวัฒนธรรมอำนาจใหม่ขึ้นมาเป็นอเนกชนนิกรสโมสรสมมติมาถึงปัจจุบัน2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร                 สมัยกรุงสุโขทัย มีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"                              สมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา         

 

รูปภาพของ nss40089

 

คำว่า สมมติเทพ มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

                                                      

 http://www.dhammajak.net/board/files/re_exposure_of_resize_of_resize_of_paragraph_115.jpg

สมัยกรุงสุโขทัย มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระมหากษัตริย์จะมีพระนามขึ้นต้นว่า "พ่อขุน" มีความของใกล้ชิดระหว่างกษัตริย์กับประชาชนมาก หลังจากรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแล้ว พระมหากษัตริย์สุโขทัยมีพระนามขึ้นต้นว่า "พญา" เพื่อยกฐานะกษัตริย์ให้สูงขึ้น ในรัชกาลพญาลิไท พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ เฟื่องฟูมาก จึงมีแนวคิด ธรรมราชา ตามคติพุทธขึ้นมา ทำให้พระนามขึ้นต้นพระมหากษัตริย์ตั้งแต่รัชกาลพญาลิไทเรียกว่า "พระมหาธรรมราชา" ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ได้รับคติพราหมณ์มาจากขอม เรียกว่า เทวราชา หรือ สมมติเทพ
หมายถึงพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทพมาอวตารเพื่อปกครองมวลมนุษย์
ทำให้ชนชั้นกษัตริย์มีสิทธิอำนาจมากที่สุดในอาณาจักรและห่างเหินจากชนชั้น
ประชาชนมากขึ้น คำขึ้นต้นพระนามเรียกว่า "สมเด็จ" หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย
พระราชอำนาจด้านการปกครองถูกโอนมาเป็นของรัฐบาลพลเรือนและทหาร
พระมหากษัตริย์จะทรงใช้พระราชอำนาจผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
เพราะฉะนั้นคำว่า สมมติเทพ กับพระมหากษัตริย์ จึงมีความสัมพันธ์กันดังนี้ เมื่อประเทศไทยใช้สมมติเทพนั้น ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างชนชั้น ของพระมหากษัตริย์และประชาชน มากขึ้น 2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร  สมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1781 - 1981)

การปกครองเป็นแบบพ่อปกครองลูก ผู้ปกครองคือพระมหากษัตริย์ คำนำหน้าของ

พระมหากษัตริย์ไทยในสมัยนั้นจึงใช้คำว่า "พ่อขุน" ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน

ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่ความเชื่อว่า

พระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์

รูปภาพของ nss40094

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

 ในสมัยอยุธยาพระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ(ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่างๆเช่น พระอิศวร พระพรหมพระนารายณ์พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้นเช่นพระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนาคนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ความเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดินเปลี่ยนแปลงรูปแบบอีกครั้ง จากเทพสมมติ มาเป็น "อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ" คือเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ประชาชนทั้งปวงยอมรับด้วยการที่ข้าราชการและราษฎรทั้งปวงพร้อมกันกราบทูลวิงวอนเชิญสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกขึ้นครองราชสมบัตินอกจากประชาชนจะยอมรับในองค์พระมหากษัตริย์แล้วประชาชนยังมีความเชื่ออีกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์จะต้องทรงตั้งมั่นในหลักธรรมะ คือทศพิธราชธรรม สังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตรที่จะทรงใช้ในการทรงคุ้มครองและทำประโยชน์ให้แก่แผ่นดินและราษฎร

2.พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร 

 - แตกต่าง พระมหากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามานานนับ 1,000 ปี แม้จะทรงมีพระราชอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแต่ลักษณะการใช้พระราชอำนาจของแต่ละยุคแต่ละสมัยไม่ได้เป็นไปเพื่อกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนแม้แต่น้อยสมัยสุโขทัยเป็นราชธานีก็ทรงใช้อำนาจแบบพ่อปกครองลูกให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้าให้สิทธิเสรีภาพในการค้าขายและส่งเสริมให้ราษฎรคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนา
 

สมัยอยุธยาเป็นราชธานีแม้จะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมในลัทธิพราหมณ์ที่หลั่งไหลมาจากเขมร คือ วัฒนธรรมเทวราชา หรือ เทพสมมติก็ไม่ปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนกลับนำประชาชนให้มีความเข้มแข็งและขยายพระราชอาณาจักรออกไปและทรงใช้พระราชอำนาจอยู่ในกรอบของธรรมะทั้งลัทธิธรรมศาสตร์และ "ราชศาสตร์" อันได้แก่ กฎมณเฑียรบาลจำกัดการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ป้องกันการกดขี่ข่มเหงใช้อำนาจรังแกและลงโทษประชาชนให้รอบคอบ รัดกุมต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนามาเข้มแข็งขึ้นในหมู่คนไทยก็หันมาใช้อำนาจแบบพระธรรมราชาและจักรพรรดิราชาภายใต้ทศพิธราชธรรม ราชสังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร 12

http://power.manager.co.th/1-10.html 

รูปภาพของ nss40159

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

 - พระมหากษัตริย์ในฐานะองค์สมมติเทพพระมหากษัตริย์ทรงดำรงฐานะเป็นสมมติเทพตามติของศาสนาพราหมณ์ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับองค์พระมหากษัตริย์สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นสมมติเทพเช่น การสร้างที่ประทับ พระที่นั่งพระราชวัง การประกอบพิธีต่างๆ การใช้คำราชาศัพท์เป็นต้น 
พระมหากษัตริย์ในฐานะธรรมราชาตามคติธรรมราชานั้นถือว่า พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งทศพิธราชธรรม 10ประการ และจักรวรรดิวัตร 12 ประการ 
อย่างไรก็ตามโดยขัตติยราชประเพณีแล้วพระมหากษัตริย์ทรงดำรงฐานะประดุจดังสมมติเทพโดยคติความเชื่อ แต่ในทางปฏิบัติ พระองค์ทรงเป็นธรรมราชาทำให้ฐานะของพระมหากษัตริย์ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะของความเป็นผู้นำทางการเมืองที่เหมือนคนธรรมดามากขึ้นแต่พระองค์ก็ยังทรงมีพระราชอำนาจสูงสุดเป็นเจ้าชีวิตของปวงชน เป็นพระเจ้าแผ่นดินเป็นจอมทัพ เป็นต้น และพระบรมราชโองการของพระองค์ ผู้ใดจะฝ่าฝืนไม่ได้ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนต้องถูกลงโทษอย่างหนัก

http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1494

2.พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

สมัยกรุงสุโขทัยมีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัยคอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากันราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขายเป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก" 
 

ในสมัยอยุธยาพระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่างๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่นพระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนาคนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา

http://nucha.chs.ac.th/1.4.htm

รูปภาพของ nss40091

 

 

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

ตอบ ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและ
ได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ
(ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูป
สิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์
พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น
เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา


หลังจากพระนเรศวรมหาราชทรงขับไล่พม่าข้าศึกไปจากกรุงศรีอยุธยาแล้ว
พระเจ้าแผ่นดินในรัชกาลต่อ ๆ มา ก็หันไปบำรุงด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
มิได้บำรุงด้านทหารให้เข้มแข็งเหมือนเดิม
มินานก็เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 แก่พม่าอีกครั้งหนึ่ง
จนอยุธยาต้องล่มสลายลงเมื่อ พ.ศ. 2310


สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริย์
ต้องใช้พระราชอำนาจเด็ดขาดกอบกู้บ้านเมือง
ขับไล่ศัตรูจนสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี กอบกู้เอกราชได้สำเร็จ
ขณะเดียวกันพระองค์ก็ทรงรักษาความเป็นธรรมราชาด้วยแต่พระองค์ก็ทรงครองราชย์อยู่ในช่วงเวลาอันสั้น

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ความเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน เปลี่ยนแปลงรูปแบบอีกครั้ง จากเทพสมมติ มาเป็น "อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ"
คือ เป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ประชาชนทั้งปวงยอมรับ
ด้วยการที่ข้าราชการและราษฎรทั้งปวงพร้อมกันกราบทูลวิงวอนเชิญสมเด็จเจ้า
พระยามหากษัตริย์ศึกขึ้นครองราชสมบัติ
นอกจากประชาชนจะยอมรับในองค์พระมหากษัตริย์แล้ว
ประชาชนยังมีความเชื่ออีกว่า
พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์จะต้องทรงตั้งมั่นในหลักธรรมะ คือ ทศพิธราชธรรม สังคหวัตถุ และ จักรวรรดิวัตร ที่จะทรงใช้ในการทรงคุ้มครองและทำประโยชน์ให้แก่แผ่นดินและราษฎร

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

ตอบ พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย และ สมัยอยุธยามีความแตกต่างกัน ดังนี้ 

พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย

       สุโขทัย
เป็นนครหลวงแห่งแรกของประชาชนเชื้อสายไทย
สังคมไทยในยุคนี้มีลักษณะเป็นสังคมเผ่า
มีความเกี่ยวพันและผูกพันกันอย่างหนาแน่นในสายโลหิต
อาณาเขตของสุโขทัยในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ประกอบด้วย
เมืองสุโขทัยและศรีสัชชนาลัยเท่านั้น
ต่อ
มาได้ขยายกว้างขวางขึ้นในสมัยพ่อขุนรามคำแหง
ความสัมพันธ์ของประชาชนก็มีลักษณะเป็นความสัมพันธ์ทางใจอันเกิดจากความ
รู้สึกว่าเป็นคนสายเลือดเดียวกันและอยู่ภายใต้การปกครองโดย " พ่อขุน "
 องค์เดียวกัน ตามหลักฐานศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช  
แนว
คิดเกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในสมัยสุโขทัยนี้ทรงเป็นผู้ครอง
นคร ซึ่งเป็นผู้ทรงสิทธิเหนืออาณาประชาราษฎร์ทั้งปวง
สิทธิการเป็นพระมหากษัตริย์สืบทอดโดยการสืบสันตติวงศ์
ประชาชนมีสิทธิเข้าถึงตัวผู้ปกครองแผ่นดิน
พระมหากษัตริย์ยังคงเป็นของชาวพุทธแท้ๆ ไม่มีคตินิยมแบบพราหมณ์เข้ามาปะปน
พอสิ้นรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงจนถึงรัชกาลกษัตริย์องค์ต่อๆมา เช่น
พระมหาธรรมราชาลิไท อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์เริ่มเข้ามา
กษัตริย์เริ่มเป็นเทพยดา แต่ก็ยังยึดศาสนาพุทธอยู่ จึงเป็นแค่ " ธรรมราชา "
 ซึ่งเป็นคำในศาสนาพุทธ เหมือนที่ใช้เรียกพระเจ้าอโศก แต่หลังจากนั้นเริ่มเป็น " รามาธิบดี "
ด้วย
ความยึดมั่นในพระพุทธศาสนาและปรัชญาการปกครองต่าง ๆ ที่
มุ่งต่อความมั่นคงของชาติบ้านเมืองและความอยู่ดีมีสุขของราษฎร
มิได้มุ่งสั่งสมทรัพย์ศฤงคาร ความร่ำรวย
หรือความสุขสบายเหมือนพระมหากษัตริย์ในประเทศอื่น ๆ
จึงทำให้คนไทยมีความยึดมั่นจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และแยกจากกัน
ไม่ออก

พระมหากษัตริย์สมัยอยุธยา

       เมื่อปลายกรุงสุโขทัย พระเจ้าอู่ทองได้สร้างกรุงศรีอยุธยา
ศาสนาพราหมณ์เข้ามามีบทบาทอย่างมากโดยเฉพาะอิทธิพลของขอมและละโว้
ซึ่งถือว่ากษัตริย์คือพระผู้เป็นเจ้าอวตารมาเกิด
พระเจ้าอู่ทองก็กลายเป็นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
รูปแบบของสถาบันพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยาแตกต่างจากสมัยสุโขทัยอย่างมาก
ระบอบการปกครองของอยุธยาเป็นระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอำนาจเป็น
ล้นพ้นสังคมในสมัยอยุธยาขึ้นอยู่กับพระมหากษัตริย์โดยตรง
ซึ่งต่างกับสมัยสุโขทัยที่พระมหากษัตริย์ทรงปกครองราษฎรเยี่ยงบิดาปกครอง
บุตร แต่ในสมัยอยุธยาเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเจ้ากับข้าโดยแท้
ตำแหน่งพระมหากษัตริย์เป็นตำแหน่งที่ช่วงชิงกันด้วยอำนาจทางทหาร
แนวความคิดเกี่ยวกับพราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทวราชและทรงใช้พระ
ราชอำนาจในฐานะที่ทรงเป็นสมมติเทพอาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของไทยในอดีต
มีหลักฐานของการเป็นเมืองในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่
16 – 18 โดยมีร่องรอยของที่ตั้งเมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ
และเรื่องราวเหตุการณ์ในลักษณะตำนาน พงศาวดารไปจนถึงศิลาจารึก
ซึ่งถือว่าเป็นหลักฐานร่วมสมัยที่ใกล้เคียงเหตุการณ์มากที่สุด
ว่าก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 1893 นั้น
ได้มีบ้านเมืองตั้งอยู่ก่อนแล้ว มีชื่อเรียกว่า เมืองอโยธยา หรือ
อโยธยาศรีรามเทพนคร หรือ เมืองพระราม
มีที่ตั้งอยู่บริเวณด้านตะวันออกของเกาะ
เมืองอยุธยาเป็นเมืองที่มีความเจริญทางการเมืองการปกครอง
และมีวัฒนธรรมที่รุ่งเรืองแห่งหนึ่ง

       สรุป
, ทั้งสองสมัยนี้ มีความแตกต่างกันคือ สมัยสุโขทัย
ก็จะปกครองแบบพ่อปกครองลูก เพราะว่าสมัยนั้น ผู้คนยังไม่มาก และ
ปกครองในลักษณะนี้ เป็นการปกครองที่พระมหากษัตริย์จะมีความผูกพันธ์ กับ
ประชาชนเป็นอย่างมาก ส่วนสมัยอยุธยา จะปกครองแบบสมมติเทพ !
ซึ่งมีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง

 


ข้อมูลอ้างอิงจาก ; http://www.chaoprayanews.com/2009/03/26
http://power.manager.co.th/1-10.html

 

จัดทำโดย

นายธันย์ศรุต  พิชิตศักดิ์ประภา เลขที่ 17 ม.5/8

รูปภาพของ nss40093

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

พระมหากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามานานนับ 1,000 ปี แม้จะทรงมีพระราชอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ลักษณะการใช้พระราชอำนาจของแต่ละยุคแต่ละสมัยไม่ได้เป็นไปเพื่อกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนแม้แต่น้อย สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีก็ทรงใช้อำนาจแบบพ่อปกครองลูก ให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้า ให้สิทธิเสรีภาพในการค้าขายและส่งเสริมให้ราษฎรคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนา    สมัยอยุธยาเป็นราชธานี แม้จะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมในลัทธิพราหมณ์ที่หลั่งไหลมาจากเขมร คือ วัฒนธรรมเทวราชา หรือ เทพสมมติ ก็ไม่ปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงกดขี่ข่มเหงรังแกประชาชนกลับนำประชาชนให้มีความเข้มแข็งและขยายพระราชอาณาจักรออกไปและทรงใช้พระราชอำนาจอยู่ในกรอบของธรรมะ ทั้งลัทธิธรรมศาสตร์และ "ราชศาสตร์" อันได้แก่ กฎมณเฑียรบาล จำกัดการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ป้องกันการกดขี่ข่มเหงใช้อำนาจรังแกและลงโทษประชาชนให้รอบคอบ รัดกุม ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนามาเข้มแข็งขึ้นในหมู่คนไทยก็หันมาใช้อำนาจแบบพระธรรมราชาและจักรพรรดิราชา ภายใต้ทศพิธราชธรรม ราชสังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร 12   สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ แม้พระมหากษัตริย์จะยังเป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ก็มิได้ทรงใช้อำนาจกดขี่รังแกประชาชนคนไทยแต่อย่างใด กลับนำคนไทย ต่อสู้ข้าศึกศัตรูกอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาจนได้รับการยกย่อง เชื่อถือและถึงกับกราบบังคมทูลให้ทั้ง 2 พระองค์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ในวาระเวลาที่ต่างกัน ได้เกิดวัฒนธรรมอำนาจใหม่ขึ้นมาเป็นอเนกชนนิกรสโมสรสมมติมาถึงปัจจุบัน อ้างอิง
http://power.manager.co.th/1-10.html
2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร  

พระมหากษัตริย์สมัยกรุงสุโขทัย

 สุโขทัยเป็นนครหลวงแห่งแรกของประชาชนเชื้อสายไทย สังคมไทยในยุคนี้มีลักษณะเป็นสังคมเผ่า มีความเกี่ยวพันและผูกพันกันอย่างหนาแน่นในสายโลหิต อาณาเขตของสุโขทัยในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ประกอบด้วยเมืองสุโขทัยและศรีสัชชนาลัยเท่านั้น ต่อมาได้ขยายกว้างขวางขึ้นในสมัยพ่อขุนรามคำแหง ความสัมพันธ์ของประชาชนก็มีลักษณะเป็นความสัมพันธ์ทางใจอันเกิดจากความรู้สึกว่าเป็นคนสายเลือดเดียวกันและอยู่ภายใต้การปกครองโดย พ่อขุน องค์เดียวกัน ตามหลักฐานศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช   แนวคิดเกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในสมัยสุโขทัยนี้ทรงเป็นผู้ครองนคร ซึ่งเป็นผู้ทรงสิทธิเหนืออาณาประชาราษฎร์ทั้งปวง สิทธิการเป็นพระมหากษัตริย์สืบทอดโดยการสืบสันตติวงศ์ ประชาชนมีสิทธิเข้าถึงตัวผู้ปกครองแผ่นดิน พระมหากษัตริย์ยังคงเป็นของชาวพุทธแท้ๆ ไม่มีคตินิยมแบบพราหมณ์เข้ามาปะปน พอสิ้นรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงจนถึงรัชกาลกษัตริย์องค์ต่อๆมา เช่น พระมหาธรรมราชาลิไท อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์เริ่มเข้ามา กษัตริย์เริ่มเป็นเทพยดา แต่ก็ยังยึดศาสนาพุทธอยู่ จึงเป็นแค่ ธรรมราชา ซึ่งเป็นคำในศาสนาพุทธ เหมือนที่ใช้เรียกพระเจ้าอโศก แต่หลังจากนั้นเริ่มเป็น รามาธิบดีด้วยความยึดมั่นในพระพุทธศาสนาและปรัชญาการปกครองต่าง ๆ ที่ มุ่งต่อความมั่นคงของชาติบ้านเมืองและความอยู่ดีมีสุขของราษฎร มิได้มุ่งสั่งสมทรัพย์ศฤงคาร ความร่ำรวย หรือความสุขสบายเหมือนพระมหากษัตริย์ในประเทศอื่น ๆ จึงทำให้คนไทยมีความยึดมั่นจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และแยกจากกันไม่ออก พระมหากษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อปลายกรุงสุโขทัย พระเจ้าอู่ทองได้สร้างกรุงศรีอยุธยา ศาสนาพราหมณ์เข้ามามีบทบาทอย่างมากโดยเฉพาะอิทธิพลของขอมและละโว้ ซึ่งถือว่ากษัตริย์คือพระผู้เป็นเจ้าอวตารมาเกิด พระเจ้าอู่ทองก็กลายเป็นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 รูปแบบของสถาบันพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยาแตกต่างจากสมัยสุโขทัยอย่างมาก ระบอบการปกครองของอยุธยาเป็นระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอำนาจเป็นล้นพ้นสังคมในสมัยอยุธยาขึ้นอยู่กับพระมหากษัตริย์โดยตรง ซึ่งต่างกับสมัยสุโขทัยที่พระมหากษัตริย์ทรงปกครองราษฎรเยี่ยงบิดาปกครองบุตร แต่ในสมัยอยุธยาเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเจ้ากับข้าโดยแท้ ตำแหน่งพระมหากษัตริย์เป็นตำแหน่งที่ช่วงชิงกันด้วยอำนาจทางทหาร แนวความคิดเกี่ยวกับพราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทวราชและทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะที่ทรงเป็นสมมติเทพอาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของไทยในอดีต มีหลักฐานของการเป็นเมืองในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 16 18 โดยมีร่องรอยของที่ตั้งเมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ และเรื่องราวเหตุการณ์ในลักษณะตำนาน พงศาวดารไปจนถึงศิลาจารึก ซึ่งถือว่าเป็นหลักฐานร่วมสมัยที่ใกล้เคียงเหตุการณ์มากที่สุด ว่าก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 1893 นั้น ได้มีบ้านเมืองตั้งอยู่ก่อนแล้ว มีชื่อเรียกว่า เมืองอโยธยา หรือ อโยธยาศรีรามเทพนคร หรือ เมืองพระราม มีที่ตั้งอยู่บริเวณด้านตะวันออกของเกาะ เมืองอยุธยาเป็นเมืองที่มีความเจริญทางการเมืองการปกครอง และมีวัฒนธรรมที่รุ่งเรืองแห่งหนึ่ง อ้างอิง http://www.chaoprayanews.com/2009/03/26   

รูปภาพของ nss37398

1. คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร  สมัยกรุงสุโขทัย มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูกพระมหากษัตริย์จะมีพระนามขึ้นต้นว่า "พ่อขุน" มีความใกล้ชิดระหว่างกษัตริย์กับประชาชนมาก หลังจากรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแล้ว พระมหากษัตริย์สุโขทัยมีพระนามขึ้นต้นว่า "พญา" เพื่อยกฐานะกษัตริย์ให้สูงขึ้น ในรัชกาลพญาลิไท พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ เฟื่องฟูมาก จึงมีแนวคิด ธรรมราชา ตามคติพุทธขึ้นมา ทำให้พระนามขึ้นต้นของพระมหากษัตริย์ตั้งแต่รัชกาลพญาลิไทเรียกว่า "พระมหาธรรมราชา" ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ได้รับคติพราหมณ์มาจากขอม เรียกว่า เทวราชา หรือ สมมติเทพ
หมายถึงพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทพมาอวตารเพื่อปกครองมวลมนุษย์
ทำให้ชนชั้นกษัตริย์มีสิทธิอำนาจมากที่สุดในอาณาจักรและห่างเหินจากชนชั้น
ประชาชนมากขึ้น คำขึ้นต้นพระนามเรียกว่า "สมเด็จ" หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

สมัยสุโขทัย (พ.ศ.
1781 - 1981) การปกครองเป็นแบบพ่อปกครองลูก ผู้ปกครองคือพระมหากษัตริย์
คำนำหน้าของ พระมหากษัตริย์ไทยในสมัยนั้นจึงใช้คำว่า "พ่อขุน" สมัยอยุธยา (พ.ศ.
1893 - 2310) เริ่มต้นเมื่อพระเจ้าอู่ทอง
ทรงตั้งกรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นราชธานีเมื่อราวปี พ.ศ. 1893
คำที่ใช้เรียกพระเจ้าอู่ทองมิได้เรียก
"พ่อขุน"อย่างที่เรียกกันมาครั้งสุโขทัย แต่เรียกว่า "สมเด็จ
พระพุทธเจ้าอยู่หัว"พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะเทวราชหรือสมมติเทพ เป็นองค์รัฐาธิปัตย์ ปกครองแผ่นดิน
   

อ้างอิงhttp://forum.mthai.com/       

 http://th.wikipedia.org/wiki/

รูปภาพของ nss 37669

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร            

กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น “สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าว หรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการ ให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้ 2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร                  สมัยกรุงสุโขทัย มีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"                               สมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา          ที่มา http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=1194.0   http://power.manager.co.th/1-10.html  

รูปภาพของ nss40151

1. สมมติเทพมีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร?

ตอบการ
ดำรงฐานะของเจ้าชีวิตเจ้าแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ไทยในอดีตมีรูปแบบการใช้
อำนาจรัฐาธิปัตย์แตกต่างกันไปบ้างตามกาลสมัยแต่ก็ยังคงรักษาไว้ซึ่งพระราช
อำนาจสูงสุดเหนือเกล้าเหนือกระหม่อมของผู้คนตลอดทั่วพระราชอาณาจักรและทรง
เป็นผู้นำทางจิตใจของคนไทยโดยไม่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลากว่า
1,000 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน

สมัย
กรุงสุโขทัย มีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน"เป็นเจ้าชีวิต -
เจ้าแผ่นดิน
ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุขปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัยคอยปก
ป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากันราษฎรมีสิทธิในการ
ร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์
และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขายเป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ
"พ่อปกครองลูก"

ใน
สมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต -
เจ้าแผ่นดินทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่
มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหา
กษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ
(ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูป
สิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่างๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม
พระนารายณ์พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพ
พรหมเหล่านั้น เช่นพระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน
"พระมหากษัตริย์"
ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนาคนไทยเชื่อว่า
พระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา"
เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระ
พุทธศาสนา

หลัง
จากพระนเรศวรมหาราชทรงขับไล่พม่าข้าศึกไปจากกรุงศรีอยุธยาแล้วพระเจ้าแผ่น
ดินในรัชกาลต่อ ๆ มา ก็หันไปบำรุงด้านศาสนา
ศิลปวัฒนธรรมมิได้บำรุงด้านทหารให้เข้มแข็งเหมือนเดิม
มินานก็เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่
2 แก่พม่าอีกครั้งหนึ่งจนอยุธยาต้องล่มสลายลงเมื่อ พ.ศ. 2310

สมัย
พระเจ้าตากสินมหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริย์ต้องใช้พระราชอำนาจเด็ดขาดกอบกู้
บ้านเมือง
ขับไล่ศัตรูจนสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีกอบกู้เอกราชได้สำเร็จขณะเดียวกัน
พระองค์ก็ทรงรักษาความเป็นธรรมราชาด้วยแต่พระองค์ก็ทรงครองราชย์อยู่ในช่วง
เวลาอันสั้น

สมัย
กรุงรัตนโกสินทร์ ความเป็นเจ้าชีวิต -
เจ้าแผ่นดินเปลี่ยนแปลงรูปแบบอีกครั้ง จากเทพสมมติ มาเป็น
"อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ"
คือเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ประชาชนทั้งปวงยอมรับด้วยการที่ข้าราชการและราษฎร
ทั้งปวงพร้อมกันกราบทูลวิงวอนเชิญสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกขึ้นครอง
ราชย์สมบัตินอกจากประชาชนจะยอมรับในองค์พระมหากษัตริย์แล้ว
ประชาชนยังมีความเชื่ออีกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์จะต้องทรงตั้งมั่นใน
หลักธรรมะ คือ ทศพิธราชธรรมสังคหวัตถุ และ
จักรวรรดิวัตรที่จะทรงใช้ในการทรงคุ้มครองและทำประโยชน์ให้แก่แผ่นดินและ
ราษฎร

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร?

ตอบ แตกต่างกัน คือ

1.พระมหากษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยา

เมื่อ
ปลายกรุงสุโขทัยพระเจ้าอู่ทองได้สร้างกรุงศรีอยุธยาศาสนาพราหมณ์เข้ามามี
บทบาทอย่างมากโดยเฉพาะอิทธิพลของขอมและละโว้ซึ่งถือว่ากษัตริย์คือพระผู้
เป็นเจ้าอวตารมาเกิดพระเจ้าอู่ทองก็กลายเป็นสมเด็จพระรามาธิบดีที่
1 รูป
แบบของสถาบันพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยาแตกต่างจากสมัยสุโขทัยอย่างมากระบอบ
การปกครองของอยุธยาเป็นระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอำนาจเป็นล้นพ้น

สังคม
ในสมัยอยุธยาขึ้นอยู่กับพระมหากษัตริย์โดยตรงซึ่งต่างกับสมัยสุโขทัยที่พระ
มหากษัตริย์ทรงปกครองราษฎรเยี่ยงบิดาปกครองบุตรแต่ในสมัยอยุธยาเป็นความ
สัมพันธ์ระหว่างเจ้ากับข้าโดยแท้ตำแหน่งพระมหากษัตริย์เป็นตำแหน่งที่ช่วง
ชิงกันด้วยอำนาจทางทหารแนวความคิดเกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นเทวราชและทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะที่ทรงเป็นสมมติเทพ

2.พระมหากษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัย

สุโขทัย
เป็นนครหลวงแห่งแรกของประชาชนเชื้อสายไทยสังคมไทยในยุคนี้มีลักษณะเป็นสังคม
เผ่ามีความเกี่ยวพันและผูกพันกันอย่างหนาแน่นในสายโลหิตอาณาเขตของสุโขทัยใน
สมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ประกอบด้วยเมืองสุโขทัยและศรี
สัชชนาลัยเท่านั้นต่อมาได้ขยายกว้างขวางขึ้นในสมัย พ่อขุนรามคำแหง
ความสัมพันธ์ของประชาชนก็มีลักษณะเป็นความสัมพันธ์ทางใจอันเกิดจากความ
รู้สึกว่าเป็นคนสายเลือดเดียวกันและอยู่ภายใต้การปกครองโดย
พ่อขุนองค์เดียวกันตามหลักฐานศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช

แนว
คิดเกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในสมัยสุโขทัยนี้ทรงเป็นผู้ครอง
นครซึ่งเป็นผู้ทรงสิทธิเหนืออาณาประชาราษฎร์ทั้งปวงสิทธิการเป็นพระมหา
กษัตริย์สืบทอดโดยการสืบสันตติวงศ์ประชาชนมีสิทธิเข้าถึงตัวผู้ปกครองแผ่น
ดินพระมหากษัตริย์ยังคงเป็นพระมหากษัตริย์ของชาวพุทธแท้ๆไม่มีคตินิยมแบบ
พราหมณ์เข้ามาปะปน
พอสิ้นรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงจนถึงรัชกาลกษัตริย์องค์ต่อๆมา เช่น
พระมหาธรรมราชาลิไทย
อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์เริ่มเข้ามากษัตริย์เริ่มเป็นเทพยดา
แต่ก็ยังยึดศาสนาพุทธอยู่ จึงเป็นแค่
ธรรมราชาซึ่งเป็นคำในศาสนาพุทธเหมือนที่ใช้เรียกพระเจ้าอโศก แต่หลังจากนั้นมาเริ่มเป็น รามาธิบดี

 

อ้างอิง

http://power.manager.co.th/1-10.htmlhttp://www.chaoprayanews.com

http://www.thaipoliticsgovernment.org

รูปภาพของ nss40090

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร 

           กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าว หรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการ ให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร         

        สมัยกรุงสุโขทัย มีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"                      

        สมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา         

ที่มา

http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=1194.0 

 http://power.manager.co.th/1-10.html  

รูปภาพของ nss40090

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร 

           กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าว หรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการ ให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร         

        สมัยกรุงสุโขทัย มีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"                      

        สมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา         

ที่มา

http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=1194.0 

 http://power.manager.co.th/1-10.html  

รูปภาพของ nss40090

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร 

           กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าว หรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการ ให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร         

        สมัยกรุงสุโขทัย มีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"                      

        สมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา         

ที่มา

http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=1194.0 

 http://power.manager.co.th/1-10.html  

รูปภาพของ nss40090

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร 

           กรุงศรีอยุธยาสถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช โดยสมบูรณ์แบบ คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าว หรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการ ให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร         

        สมัยกรุงสุโขทัย มีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"                      

        สมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา         

ที่มา

http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=1194.0 

 http://power.manager.co.th/1-10.html  

รูปภาพของ nss40096

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

พระมหากษัตริย์ในฐานะองค์สมมติเทพ พระมหากษัตริย์ทรงดำรงฐานะเป็นสมมติเทพตามติของศาสนาพราหมณ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับองค์พระมหากษัตริย์สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นสมมติเทพ เช่น การสร้างที่ประทับ พระที่นั่งพระราชวัง การประกอบพิธีต่างๆ การใช้คำราชาศัพท์ เป็นต้น
        พระมหากษัตริย์ในฐานะธรรมราชา ตามคติธรรมราชานั้นถือว่า พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งทศพิธราชธรรม 10 ประการ และจักรวรรดิวัตร 12 ประการ
อย่างไรก็ตาม โดยขัตติยราชประเพณีแล้วพระมหากษัตริย์ทรงดำรงฐานะประดุจดังสมมติเทพ โดยคติความเชื่อ แต่ในทางปฏิบัติ พระองค์ทรงเป็นธรรมราชา ทำให้ฐานะของพระมหากษัตริย์ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะของความเป็นผู้นำทางการเมืองที่เหมือนคนธรรมดามากขึ้น แต่พระองค์ก็ยังทรงมีพระราชอำนาจสูงสุดเป็นเจ้าชีวิตของปวงชน เป็นพระเจ้าแผ่นดิน เป็นจอมทัพ เป็นต้น และพระบรมราชโองการของพระองค์ ผู้ใดจะฝ่าฝืนไม่ได้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนต้องถูกลงโทษอย่างหนัก

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

สมัยกรุงสุโขทัยมีพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่า "พ่อขุน" เป็นเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นผู้ครองนครที่ดูแลทุกข์สุข ปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างปลอดภัย คอยปกป้องดูแลราษฎรให้มีความสุขได้รับความยุติธรรมเสมอหน้ากัน ราษฎรมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์ และมีเสรีภาพในการทำมาค้าขาย เป็นการปกครองเยี่ยงบิดากับบุตร หรือ "พ่อปกครองลูก"
 

ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ในฐานะเจ้าชีวิต - เจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นสมมติเทพของคนไทยตามอิทธิพลลัทธิมหายานปนลัทธิพราหมณ์ที่มีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นพระจักรพรรดิและได้มีการยกฐานะพระมหากษัตริย์เท่ากับพระอินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในเทวภูมิ (ราชบัลลังก์ของพระมหากษัตริย์เหมือนแท่นบัลลังก์ของพระอินทร์ประดับด้วยรูปสิงห์และครุฑตามความเชื่อในเทพต่าง ๆ เช่น พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระนามของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์จึงทรงพระนามตามชื่อเทพพรหมเหล่านั้น เช่น พระนารายณ์มหาราช พระรามาธิบดี) ขณะเดียวกัน "พระมหากษัตริย์" ในสมัยอยุธยาก็ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา คนไทยเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ของตนคือพระ "ธรรมราชา" เป็นผู้มีพระบรมเดชานุภาพทรงความเข้มแข็งเด็ดขาดควบคู่ไปกับทรงต้องบำรุงพระพุทธศาสนา

อ้างอิง

http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1494

http://nucha.chs.ac.th/1.4.htm

 

รูปภาพของ nss40164

1.คำว่า"สมมติเทพ"มีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพระมหากษัตริย์อย่างไร

สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือ สมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบ
คืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียว
 โดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจาก สวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น “สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่า “ระบบเทวสิทธิ์” ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าว
หรือ
 “เจ้าปกครองไพร่
      ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน
 ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์
และประชาชน
 จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินาขึ้น

 

2. พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยกับสมัยอยุธยามีพระราชอำนาจแตกต่างกันอย่างไร

กษัตริย์กรุงสุโขทัย ปกครองประชาชนแบบ “พ่อปกครองลูกหรือ “ปิตาธิปไตย” โดยถือว่ากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อของราษฎร   ราษฎรจึงเรียกกษัตริย์ว่าพ่อขุน” ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง 

กรุงศรีอยุธยา สถาปนา เมื่อปี พ.ศ.1893 โดยพระเจ้าอู่ทอง(พระรามาธิบดีที่ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยามีการปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชโดยสมบูรณ์แบบคืออำนาจอยู่ที่กษัตริย์เพียงพระองค์เดียวโดยเชื่อถือตามคติพราหมณ์ตามแบบพวกเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น “สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้จึงเรียกระบบการปกครองนี้ว่าระบบเทวสิทธิ์”(Divine Right) ลักษณะการปกครองเป็นแบบนายปกครองบ่าวหรือ “เจ้าปกครองไพร่ ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน จึงเกิดเป็นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาขึ้นระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินาเกิดขึ้นเพราะกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาวะสงครามตลอดเวลาจึงจำเป็นต้องให้พลเมืองทุกคนอยู่ในสังกัดของเจ้าขุนมูลนายเพื่อว่าเมื่อมีศึกสงครามพระมหากษัตริย์จะได้สั่งการให้เจ้าขุนมูลนายเกณฑ์ไพร่พลมาช่วยทำสงครามป้องกันบ้านเมืองได้

 

ที่มา :  http://www.atriumtech.com/cgi -bin/hilightcgi?Home=/home/InterWeb2000&File=/home2/searchdata/Forums/http/www.pantip.com/cafe/library/topic/K1975129/K1975129.html

http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/soc4/so31-4-2.htm

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 807 คน กำลังออนไลน์