• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:39a10005dcf3ed71fe5f2b495603f68f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b>3.4 การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์</b><br />\nสำหรับผู้เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ควรซื้ออุปกรณ์มาประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ควรเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดขายเป็นชุดให้แล้ว และเลือกซื้อจากบริษัทที่เชื่อถือได้ เนื่องจากผู้ผลิตได้เลือกอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/spec-com.jpg\" border=\"0\" width=\"276\" height=\"300\" />\n</div>\n<p>\n<br />\nสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการเลือกซื้อชิ้นส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ต้องการ หรือเพื่อปรับปรุงอุปกรณ์บางอย่าง เช่น ซีพียู เมนบอร์ด และแรม อุปกรณ์เหล่านี้มีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว หลักในการพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณ์แต่ล่ะชนิดมีดังนี้ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/3-9.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"347\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<b>3.4.1 ซีพียู</b> เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญที่สุดและเป็นปัจจัยแรกในการพิจารณาเมื่อคิดที่จะซื้อหรือประกอบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีผลต่อการเลือกซื้ออุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด เป็นต้น และซีพียูยังเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วย <br />\nในการเลือกซื้อซีพียูสามารถพิจารณาได้จากหลายปัจจัย เช่น บริษัทผู้ผลิต ความเร็วซีพียู แคช ความเร็วบัส <br />\n<b>ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อซีพียู<br />\n</b>1)  บริษัทผู้ผลิต ในปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิตซีพียูชั้นนำ 2 บริษัท คือ บริษัทอินเทล (Intel Corporation) และบริษัทเอเอ็มดี (Advanced Micro Devices: AMD) โดยทั้งสองบริษัทได้มีการผลิต ซีพียูที่แบ่งตามจำนวนของแกนประมวลผล (processing core) <br />\n2)  ความเร็วของซีพียู ความเร็วของซีพียูนี้ขึ้นอยู่กับความถี่สัญญาณนาฬิกา ซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่คอยกำหนดจังหวะการทำงานประสานของวงจรภายในให้สอดคล้องกัน สัญญาณดังกล่าวจะมีหน่วยความถี่เป็นเมกะเฮิรตซ์ (megahertz) หรือล้านครั้งต่อวินาที ถึงระดับกิกะเฮิรตซ์ <br />\n(gigahertz) หรือพันล้านครั้งต่อวินาที<br />\n3)  หน่วยความจำแคช (Cache) ในซีพียูมีหน่วยความจำแคช ซึ่งเป็นหน่วยความจำความเร็วสูง เพื่อให้การทำงานเร็วขึ้นเนื่องจากแรมมีความเร็วที่ช้ากว่าซีพียูจึงจำเป็นที่ต้องมีหน่วยความจำแคชเป็นที่เก็บข้อมูลชั่วคราวเพื่อให้ซีพียูทำงานร่วมกันได้ดีขึ้น โดยควรพิจารณาเลือกซื้อ<br />\nซีพียูที่มีความจุของหน่วยความจำแคชมาก<br />\n4)  ความเร็วบัส คือ ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลระหว่างซีพียูและอุปกรณ์อื่น ๆ ควรพิจารณาซีพียูที่มีความเร็วของบัสสูงและสอดคล้องกับความเร็วของอุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด และแรม\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/cpu.jpg\" border=\"0\" width=\"320\" height=\"292\" />\n</div>\n<p>\n<b>3.4.2 เมนบอร์ด (mainboard)</b> หรืออาจเรียกว่า มาเธอร์บอร์ด หรือโมโบ (mother board: mobo) เป็นแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะประกอบด้วยช่องสำหรับติดตั้งซีพียู ไบออส ชิปเซ็ต ช่องสำหรับติดตั้งหน่วยความจำ สายสัญญาณ และบัสต่าง ๆ ขั้วต่อ<br />\nสำหรับเชื่อมต่ออุปกรณืเสริมภายใน เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไดร์ฟ และพอร์ตต่ออุปกรณ์รอบข้าง เช่น เมาส์ และคีย์บอร์ด\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/mainboard.jpg\" border=\"0\" width=\"256\" height=\"197\" />\n</p>\n<p>\n<br />\nโดยทั่วไปการระบุคุณลักษณะของเมนบอร์ดในชุดคอมพิวเตอร์สำเร็จอาจระบุเฉพาะชนิดหรือจำนวนของพอร์ตและสล็อต เช่น พอร์ต USB หรือสล็อต PCI ซึ่งเป็นส่วนประกอบหนึ่งของเมนบอร์ดเท่านั้น ตัวอย่างชนิดของพอร์ตและสล็อตที่ระบุในแผ่นพับชุดคอมพิวเตอร์สำเร็จ ดังรูป\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/mainboard1.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"375\" />\n</div>\n<p>\n<br />\nสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการเปลี่ยนเมนบอร์ด หรือต้องการซื้อเมนบอร์ด เพื่อนำมาประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเลือกซื้อเมนบอร์ด เช่น ซ็อกเก็ตซีพียู ฟรอนต์ไซด์บัส สล็อตหน่วยความจำ ช่องสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ หรือสล็อต พอร์ต <br />\nขั้วต่อและรูปแบบหรือฟอร์มแฟกเตอร์ ตัวอย่างรายละเอียดเมนบอร์ดที่ระบุขายในเว็บไซต์ ดังรูป\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/spec_mainboard.jpg\" border=\"0\" width=\"301\" height=\"500\" />\n</div>\n<p>\n<b>3.4.3 แรม</b>  ในการเลือกซื้อแรมเพื่อนำมาใช้งานกับพีซี มักจะเป็นแรมชนิดดีดีอาร์ เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM: DDR SDRAM) ซึ่งจะต้องพิจารณาประเภทของแรมให้ตรงกับสล็อต หน่วยความจำบนเมนบอร์ด และสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป<br />\nควรให้ความสำคัญในลำดับต่อมา คือ ขนาดความจุและความเร็ว ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องนำมาพิจารณาด้วย ตัวอย่างการระบุคุณลักษณะของแรม ดังรูป\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/ram1.jpg\" border=\"0\" width=\"425\" height=\"298\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<b>ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อแรม</b><br />\n1) ประเภทของแรม ต้องพิจารณาเลือกซื้อให้ตรงกับสล็อตหน่วยความจำบนเมนบอร์ดแรมที่ใช้ในพีซี เช่น DDR , DDR2 และDDR 3 โดยแรมแต่ละชนิดจะมีตำแหน่งรอยบากที่แตกต่างกันดังรูป เพื่อให้สามารถเสียบแรมบนสล็อตได้ถูกต้อง\n</p>\n<p>\n<br />\n2) ความจุ ปัจจุบันแรมมีให้เลือกตั้งแต่ความจุ 256 MB ขึ้นไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานด้านกราฟิกหรือมัลติมีเดียระดับสูง จะใช้แรมที่มีความสูงขึ้นตามไปด้วย สำหรับครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมักจะติดตั้งแรมความจุ 1 GB ขึ้นไป<br />\nบนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์จะมีสล็อตสำหรับติดตั้งแรมมากกว่า 1 ช่อง ผู้ใช้สามารถติดตั้งแรมได้หลายตัว แต่ต้องเป็นชนิดเดียวกัน ตามที่สล็อตติดตั้งจะมีให้ โดยความจุแรมของพีซีจะเท่ากับผลรวมจากความจุของแรมทั้งหมด ตัวอย่างการติดตั้งแรมบนเมนบอร์ด\n</p>\n<p>\n<br />\n3) ความเร็วของแรม หมายถึง จำนวนครั้งที่สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้ภายในหนึ่งวินาที โดยมีหน่วยวัดเป็นเมกะเฮิรตซ์ (MHz) เช่น DDR3 มีความเร็ว 1,333 MHz เป็นต้น ผู้ใช้งานต้องเลือกความเร็วของแรมให้สอดคล้องกับความเร็วบัสของเมนบอร์ดด้วย ตัวอย่างเช่น <br />\nถ้าระบบบัสบนเมนบอร์ด เช่น (FSB) ทำงานด้วยความเร็ว 1,066 MHz แต่นำแรมที่มีความเร็ว 1,333 MHz มาใช้งานจะไม่สามารถทำงานที่ความเร็ว 1,333 MHz ได้ ตัวอย่างของระบบบัสบนเมนบอร์ดกับแรมเปรียบได้กับการที่รถวิ่งบนถนนเพื่อไปให้ถึงจุดหมาย \n</p>\n<p>\nในบางครั้งอาจใช้อัตราการถ่ายโอนข้อมูลในการจำแนกรุ่นของแรม เช่น PC2-5400 คือ แรมชนิด DDR2 -667 ที่มีค่าอัตราการถ่ายโอนข้อมูลประมาณ 5,400 MB/s หมายถึง ปริมาณข้อมูลที่จะรับส่งได้ภายในหนึ่งวินาที (คำนวณจาก 667 MHz x 8 ไบต์)สำหรับการเลือกแรม<br />\nที่ใช้กับพีซีเพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ในการใช้งาน\n</p>\n<p>\n<b>3.4.4 ฮาร์ดดิสก์ (hard disk)</b> เป็นอุปกรณ์ในการเก็บข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้กันในพีซี โดยทั่วไป คือ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว สำหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 และ 1.8 นิ้ว นั้นนิยมใช้กับโน้ตบุ๊ก ดังรูป\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/harddisk.jpg\" border=\"0\" width=\"317\" height=\"301\" />\n</p>\n<p>\n<br />\nการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น การเชื่อมต่อ ความจุของข้อมูล และความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทำให้ฮาร์ดดิสก์มีราคาแตกต่างกัน\n</p>\n<p>\n<br />\nปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์<br />\n1) การเชื่อมต่อ มาตรฐานการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้งานอยู่บนพีซีในปัจจุบันใช้มาตรฐาน EIDE และ SATA ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเมนบอร์ดว่ารับรองการเชื่อมต่อแบบใด ตัวอย่างการเชื่อมต่อแบบ SATA และ EIDE \n</p>\n<p>\n2) ความจุของข้อมูล มีหน่วยเป็นกิกะไบต์ (GB) หรือเทระไบต์ (TB) ซึ่งขนาดความจุข้อมูลของฮาร์ดดิสก์นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้งาน\n</p>\n<p>\n<br />\n3) ความเร็วรอบ เป็นอัตราเร็วในการหมุนของฮาร์ดดิสก์เพื่อให้หัวอ่าน-เขียน เข้าถึงข้อมูลฮาร์ดดิสก์ที่มีความเร็วรอบสูงจะทำให้มีอัตราเร็วในการรับส่งข้อมูลสูง โดยทั่วไปฮาร์ดดิสก์ของพีซีจะมีความเร็วรอบอยู่ที่ 7,200 รอบต่อนาที (rpm)\n</p>\n<p>\n<b>3.4.5 การ์ดแสดงผล (display card , graphics card หรือ video card)</b> ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลมาเป็นสัญญาณที่ส่งไปที่จอภาพ การ์ดแสดงผลอาจอยู่ในรูปแบบการ์ดหรืออาจติดตั้งมาบนเมนบอร์ดแล้ว<br />\nการที่ผู้ใช้ต้องการปรับปรุงการ์ดแสดงผล เนื่องจากต้องการใช้กับงานที่ต้องการแสดงผลภาพสามมิติได้อย่างคมชัด ซึ่งคอมพิวเตอร์ชุดสำเร็จที่ผู้ขายจัดให้อาจไม่สามารถแสดงผลภาพดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อการ์ดแสดงผล เช่น<br />\nชิปประมวลผล กราฟิก การเชื่อมต่อ และความจุของหน่วยความจำบนการ์ด ตัวอย่างการระบุคุณลักษณะของการ์ดแสดงผล\n</p>\n<p>\n<br />\nปัจจัยในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล<br />\n1) ชิปประมวลผลกราฟิก หรือจีพียู (graphic processing unit: GPU) เป็นอุปกรณ์พิเศษที่เพิ่มความเร็วในการแสดงผลโดยลดภาระซีพียูในการคำนวณข้อมูลที่จะส่งไปที่จอภาพ ตัวอย่างการเลือกซื้อจีพียู เช่น ถ้าต้องการประมวลผลภาพ 3 มิติ อาจใช้ชิปของบริษัท nVIDIA<br />\nรุ่น GeForce 9 และ GTX2xx หรือชิปของบริษัท ATi รุ่น Radeon HD 4000<br />\n2) การเชื่อมต่อ มี 2 แบบ คือ แบบใช้กับบัส PCI Express และบัส AGP โดย PCI Express จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดซึ่งสามารถให้ความเร็วสูงสุดได้ถึง 16 GB/s ส่วน AGP มีประสิทธิภาพลองลงมา<br />\n3) ความจุของหน่วยความจำบนการ์ด  หน่วยความจำบนการ์ด (Video RAM) เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลภาพที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ถ้าความจุของหน่วยความจำมาก จะทำให้แสดงภาพมัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ดี การบอกความจุของหน่วยความจำบนตัวการ์ด เช่น DDR3 512 MB\n</p>\n<p>\n<b>3.4.6 ออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ (Optical disk drive)</b> ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ซีดีไดร์ฟและดีวีดีไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทุกเครื่องควรมี เนื่องจากซีดี/ดีวีดีไดร์ฟมีราคาถูกลงมาก นอกจากนี้สื่อที่ใช้เก็บบันทึก เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี มีความจุสูงและมีราคาถูก\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31538/optical_disk_drive.jpg\" border=\"0\" width=\"400\" height=\"299\" />\n</div>\n<p>\n<br />\nการพิจารณาเลือกซื้อออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ จะพิจารณาจากความเร็วในการอ่านและบันทึกข้อมูล ซึ่งแต่ละชนิดจะระบุความเร็วไว้แตกต่างกันตามชนิดของออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ ดังนี้<br />\n1. ซีดีไดร์ฟ (Compact Disc Drive: CD Drive) ใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีได้อย่างเดียว<br />\n2. ดีวีดีไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Drive: DVD Drive) ใช้อ่านข้อมูลได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี แต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีหรือดีวีดีได้<br />\n3. ซีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Compact Disc Rewritable Drive: CD-RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนแผ่นซีดีได้มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x หมายความว่าความเร็วในการเขียน CD-R เท่ากับ 52x ความเร็วในการเขียนซ้ำ CD-RW เท่ากับ 32x<br />\nและความเร็วในการอ่าน CD-ROM เท่ากับ 52x <br />\n4. คอมโบไดร์ฟ (Combo Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดี และอ่านข้อมูลจากแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x/16x <br />\n5. ดีวีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Rewritable Drive: DVD+RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 20x/12x/20x/8x\n</p>\n<p>\n<b>3.4.7 เคส (case)</b> โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ทำหน้าที่เป็นโครงยึดให้กับอุปกรณ์ภายในต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ แหล่งจ่ายไฟ เป็นต้น นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ในการป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในเคส<br />\nหลักในการพิจารณาเลือกซื้อเคส เช่น<br />\n- มีช่องระบายอากาศและระบบระบายความร้อน <br />\n- มีพื้นที่หรือช่องที่จะเพิ่มอุปกรณ์ได้ เช่น การเพิ่มฮาร์ดดิสก์ การเพิ่มซีดี/ดีวีดีไดร์ฟ<br />\n- ลักษณะของเคส เช่น เคสในแนวนอน ที่เรียกว่า เดสก์ท็อปเคส (desktop case) และเคสในแนวตั้งที่เรียกว่า ทาวเวอร์เคส (tower case) ตัวอย่างของเคสแบบต่าง ๆ ดังรูป\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31538/case.jpg\" border=\"0\" width=\"294\" height=\"312\" /><img src=\"/files/u31538/case-destop.jpg\" style=\"width: 252px; height: 375px\" border=\"0\" width=\"362\" height=\"500\" /><br />\n- ในกรณีที่เป็นการใช้งานโดยทั่วไป อาจเลือกใช้เคสที่มีแหล่งจ่ายไฟ (power supply) ติดตั้งมาให้สำเร็จแล้ว แต่ถ้าต้องการติดตั้งอุปกรณ์ภายในหลายชิ้น เช่น ฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผลความเร็วสูง และพอร์ต USB ควรพิจารณาเลือกแหล่งจ่ายไฟที่มีความสามารถสูงขึ้น    \n</p>\n<p>\n<b>3.4.8 จอภาพ (monitor)</b> ที่พบจะมีอยู่ 2 ประเภทคือ จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube: CRT) และจอแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD) ซึ่งในปัจจุบันจอแอลซีดีเป็นที่นิยมมากเนื่องจากมีราคาถูก ถนอมสายตา ประหยัดพลังงาน และใช้พื้นที่ในการจัดวางน้อย<br />\nตัวอย่างคุณลักษณะของจอภาพดังรูป\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31538/flatron_lcd_monitor.jpg\" style=\"width: 371px; height: 310px\" border=\"0\" width=\"450\" height=\"380\" /> <img src=\"/files/u31538/crt_monitor.jpg\" style=\"width: 309px; height: 281px\" border=\"0\" width=\"467\" height=\"438\" />\n</p>\n<p>\nปัจจัยในการเลือกซื้อจอภาพ เช่น<br />\n- ความละเอียดของภาพ (resolution) หมายถึง จำนวนจุดหรือพิกเซลบนจอภาพ ถ้าหากมีความละเอียดสูงจะทำให้ภาพคมชัดมากขึ้น ตัวอย่างเช่น จอภาพที่มีความละเอียด 1680 x 1050 เป็นจอภาพที่มีจุดภาพในแนวนอน 1680 จุด และมีจุดภาพในแนวตั้ง 1050 จุด<br />\n- ขนาด (size) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็นแนวทแยงมุม เช่น จอแบบ 19 นิ้ว และแบบ 21 นิ้ว <br />\nนอกจากนี้จอภาพยังสามารถเลือกความสว่าง (brightness) และความเปรียบต่าง (contrast) ได้อีกด้วย การแสดงผลของจอภาพนั้นจะต้องมีการ์ดแสดงผล เป็นตัวประสานงานระหว่างซีพียูกับจอภาพ โดยสัญญาณภาพจะถูกส่งออกมาจากการ์ดแสดงผลนี้ จอภาพโดย<br />\nทั่วไปจะมีพอร์ตต่อแบบวีจีเอ (Video Graphics Array: VGA) ซึ่งเป็นตัวรับสัญญาณแอนะล็อกมาจากการ์ดแสดงผล จอภาพบางรุ่นจะมีพอร์ตต่อแบบดีวีไอ (Digital Video Interface: DVI) ซึ่งเป็นการรับข้อมูลภาพแบบดิจิทัลซึ่งจะให้ภาพที่คมชัดกว่า\n</p>\n<p><a href=\"/node/82319\"><b><img src=\"/files/u41289/Home-1.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" width=\"74\" height=\"93\" /></b></a> <a href=\"/node/82319?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u41289/data_copy.jpg\" align=\"right\" width=\"120\" height=\"93\" /></a> </p>\n', created = 1716321108, expire = 1716407508, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:39a10005dcf3ed71fe5f2b495603f68f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

3.4 การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
สำหรับผู้เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ควรซื้ออุปกรณ์มาประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ควรเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดขายเป็นชุดให้แล้ว และเลือกซื้อจากบริษัทที่เชื่อถือได้ เนื่องจากผู้ผลิตได้เลือกอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว 


สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการเลือกซื้อชิ้นส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ต้องการ หรือเพื่อปรับปรุงอุปกรณ์บางอย่าง เช่น ซีพียู เมนบอร์ด และแรม อุปกรณ์เหล่านี้มีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว หลักในการพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณ์แต่ล่ะชนิดมีดังนี้ 

 

3.4.1 ซีพียู เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญที่สุดและเป็นปัจจัยแรกในการพิจารณาเมื่อคิดที่จะซื้อหรือประกอบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีผลต่อการเลือกซื้ออุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด เป็นต้น และซีพียูยังเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วย
ในการเลือกซื้อซีพียูสามารถพิจารณาได้จากหลายปัจจัย เช่น บริษัทผู้ผลิต ความเร็วซีพียู แคช ความเร็วบัส
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อซีพียู
1)  บริษัทผู้ผลิต ในปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิตซีพียูชั้นนำ 2 บริษัท คือ บริษัทอินเทล (Intel Corporation) และบริษัทเอเอ็มดี (Advanced Micro Devices: AMD) โดยทั้งสองบริษัทได้มีการผลิต ซีพียูที่แบ่งตามจำนวนของแกนประมวลผล (processing core)
2)  ความเร็วของซีพียู ความเร็วของซีพียูนี้ขึ้นอยู่กับความถี่สัญญาณนาฬิกา ซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่คอยกำหนดจังหวะการทำงานประสานของวงจรภายในให้สอดคล้องกัน สัญญาณดังกล่าวจะมีหน่วยความถี่เป็นเมกะเฮิรตซ์ (megahertz) หรือล้านครั้งต่อวินาที ถึงระดับกิกะเฮิรตซ์
(gigahertz) หรือพันล้านครั้งต่อวินาที
3)  หน่วยความจำแคช (Cache) ในซีพียูมีหน่วยความจำแคช ซึ่งเป็นหน่วยความจำความเร็วสูง เพื่อให้การทำงานเร็วขึ้นเนื่องจากแรมมีความเร็วที่ช้ากว่าซีพียูจึงจำเป็นที่ต้องมีหน่วยความจำแคชเป็นที่เก็บข้อมูลชั่วคราวเพื่อให้ซีพียูทำงานร่วมกันได้ดีขึ้น โดยควรพิจารณาเลือกซื้อ
ซีพียูที่มีความจุของหน่วยความจำแคชมาก
4)  ความเร็วบัส คือ ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลระหว่างซีพียูและอุปกรณ์อื่น ๆ ควรพิจารณาซีพียูที่มีความเร็วของบัสสูงและสอดคล้องกับความเร็วของอุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด และแรม

3.4.2 เมนบอร์ด (mainboard) หรืออาจเรียกว่า มาเธอร์บอร์ด หรือโมโบ (mother board: mobo) เป็นแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะประกอบด้วยช่องสำหรับติดตั้งซีพียู ไบออส ชิปเซ็ต ช่องสำหรับติดตั้งหน่วยความจำ สายสัญญาณ และบัสต่าง ๆ ขั้วต่อ
สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณืเสริมภายใน เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไดร์ฟ และพอร์ตต่ออุปกรณ์รอบข้าง เช่น เมาส์ และคีย์บอร์ด


โดยทั่วไปการระบุคุณลักษณะของเมนบอร์ดในชุดคอมพิวเตอร์สำเร็จอาจระบุเฉพาะชนิดหรือจำนวนของพอร์ตและสล็อต เช่น พอร์ต USB หรือสล็อต PCI ซึ่งเป็นส่วนประกอบหนึ่งของเมนบอร์ดเท่านั้น ตัวอย่างชนิดของพอร์ตและสล็อตที่ระบุในแผ่นพับชุดคอมพิวเตอร์สำเร็จ ดังรูป


สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการเปลี่ยนเมนบอร์ด หรือต้องการซื้อเมนบอร์ด เพื่อนำมาประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเลือกซื้อเมนบอร์ด เช่น ซ็อกเก็ตซีพียู ฟรอนต์ไซด์บัส สล็อตหน่วยความจำ ช่องสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ หรือสล็อต พอร์ต
ขั้วต่อและรูปแบบหรือฟอร์มแฟกเตอร์ ตัวอย่างรายละเอียดเมนบอร์ดที่ระบุขายในเว็บไซต์ ดังรูป

3.4.3 แรม  ในการเลือกซื้อแรมเพื่อนำมาใช้งานกับพีซี มักจะเป็นแรมชนิดดีดีอาร์ เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM: DDR SDRAM) ซึ่งจะต้องพิจารณาประเภทของแรมให้ตรงกับสล็อต หน่วยความจำบนเมนบอร์ด และสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป
ควรให้ความสำคัญในลำดับต่อมา คือ ขนาดความจุและความเร็ว ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องนำมาพิจารณาด้วย ตัวอย่างการระบุคุณลักษณะของแรม ดังรูป


ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อแรม
1) ประเภทของแรม ต้องพิจารณาเลือกซื้อให้ตรงกับสล็อตหน่วยความจำบนเมนบอร์ดแรมที่ใช้ในพีซี เช่น DDR , DDR2 และDDR 3 โดยแรมแต่ละชนิดจะมีตำแหน่งรอยบากที่แตกต่างกันดังรูป เพื่อให้สามารถเสียบแรมบนสล็อตได้ถูกต้อง


2) ความจุ ปัจจุบันแรมมีให้เลือกตั้งแต่ความจุ 256 MB ขึ้นไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานด้านกราฟิกหรือมัลติมีเดียระดับสูง จะใช้แรมที่มีความสูงขึ้นตามไปด้วย สำหรับครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมักจะติดตั้งแรมความจุ 1 GB ขึ้นไป
บนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์จะมีสล็อตสำหรับติดตั้งแรมมากกว่า 1 ช่อง ผู้ใช้สามารถติดตั้งแรมได้หลายตัว แต่ต้องเป็นชนิดเดียวกัน ตามที่สล็อตติดตั้งจะมีให้ โดยความจุแรมของพีซีจะเท่ากับผลรวมจากความจุของแรมทั้งหมด ตัวอย่างการติดตั้งแรมบนเมนบอร์ด


3) ความเร็วของแรม หมายถึง จำนวนครั้งที่สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้ภายในหนึ่งวินาที โดยมีหน่วยวัดเป็นเมกะเฮิรตซ์ (MHz) เช่น DDR3 มีความเร็ว 1,333 MHz เป็นต้น ผู้ใช้งานต้องเลือกความเร็วของแรมให้สอดคล้องกับความเร็วบัสของเมนบอร์ดด้วย ตัวอย่างเช่น
ถ้าระบบบัสบนเมนบอร์ด เช่น (FSB) ทำงานด้วยความเร็ว 1,066 MHz แต่นำแรมที่มีความเร็ว 1,333 MHz มาใช้งานจะไม่สามารถทำงานที่ความเร็ว 1,333 MHz ได้ ตัวอย่างของระบบบัสบนเมนบอร์ดกับแรมเปรียบได้กับการที่รถวิ่งบนถนนเพื่อไปให้ถึงจุดหมาย 

ในบางครั้งอาจใช้อัตราการถ่ายโอนข้อมูลในการจำแนกรุ่นของแรม เช่น PC2-5400 คือ แรมชนิด DDR2 -667 ที่มีค่าอัตราการถ่ายโอนข้อมูลประมาณ 5,400 MB/s หมายถึง ปริมาณข้อมูลที่จะรับส่งได้ภายในหนึ่งวินาที (คำนวณจาก 667 MHz x 8 ไบต์)สำหรับการเลือกแรม
ที่ใช้กับพีซีเพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ในการใช้งาน

3.4.4 ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) เป็นอุปกรณ์ในการเก็บข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้กันในพีซี โดยทั่วไป คือ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว สำหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 และ 1.8 นิ้ว นั้นนิยมใช้กับโน้ตบุ๊ก ดังรูป


การพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น การเชื่อมต่อ ความจุของข้อมูล และความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทำให้ฮาร์ดดิสก์มีราคาแตกต่างกัน


ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์
1) การเชื่อมต่อ มาตรฐานการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้งานอยู่บนพีซีในปัจจุบันใช้มาตรฐาน EIDE และ SATA ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเมนบอร์ดว่ารับรองการเชื่อมต่อแบบใด ตัวอย่างการเชื่อมต่อแบบ SATA และ EIDE 

2) ความจุของข้อมูล มีหน่วยเป็นกิกะไบต์ (GB) หรือเทระไบต์ (TB) ซึ่งขนาดความจุข้อมูลของฮาร์ดดิสก์นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้งาน


3) ความเร็วรอบ เป็นอัตราเร็วในการหมุนของฮาร์ดดิสก์เพื่อให้หัวอ่าน-เขียน เข้าถึงข้อมูลฮาร์ดดิสก์ที่มีความเร็วรอบสูงจะทำให้มีอัตราเร็วในการรับส่งข้อมูลสูง โดยทั่วไปฮาร์ดดิสก์ของพีซีจะมีความเร็วรอบอยู่ที่ 7,200 รอบต่อนาที (rpm)

3.4.5 การ์ดแสดงผล (display card , graphics card หรือ video card) ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลมาเป็นสัญญาณที่ส่งไปที่จอภาพ การ์ดแสดงผลอาจอยู่ในรูปแบบการ์ดหรืออาจติดตั้งมาบนเมนบอร์ดแล้ว
การที่ผู้ใช้ต้องการปรับปรุงการ์ดแสดงผล เนื่องจากต้องการใช้กับงานที่ต้องการแสดงผลภาพสามมิติได้อย่างคมชัด ซึ่งคอมพิวเตอร์ชุดสำเร็จที่ผู้ขายจัดให้อาจไม่สามารถแสดงผลภาพดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อการ์ดแสดงผล เช่น
ชิปประมวลผล กราฟิก การเชื่อมต่อ และความจุของหน่วยความจำบนการ์ด ตัวอย่างการระบุคุณลักษณะของการ์ดแสดงผล


ปัจจัยในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล
1) ชิปประมวลผลกราฟิก หรือจีพียู (graphic processing unit: GPU) เป็นอุปกรณ์พิเศษที่เพิ่มความเร็วในการแสดงผลโดยลดภาระซีพียูในการคำนวณข้อมูลที่จะส่งไปที่จอภาพ ตัวอย่างการเลือกซื้อจีพียู เช่น ถ้าต้องการประมวลผลภาพ 3 มิติ อาจใช้ชิปของบริษัท nVIDIA
รุ่น GeForce 9 และ GTX2xx หรือชิปของบริษัท ATi รุ่น Radeon HD 4000
2) การเชื่อมต่อ มี 2 แบบ คือ แบบใช้กับบัส PCI Express และบัส AGP โดย PCI Express จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดซึ่งสามารถให้ความเร็วสูงสุดได้ถึง 16 GB/s ส่วน AGP มีประสิทธิภาพลองลงมา
3) ความจุของหน่วยความจำบนการ์ด  หน่วยความจำบนการ์ด (Video RAM) เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลภาพที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ถ้าความจุของหน่วยความจำมาก จะทำให้แสดงภาพมัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ดี การบอกความจุของหน่วยความจำบนตัวการ์ด เช่น DDR3 512 MB

3.4.6 ออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ (Optical disk drive) ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ซีดีไดร์ฟและดีวีดีไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทุกเครื่องควรมี เนื่องจากซีดี/ดีวีดีไดร์ฟมีราคาถูกลงมาก นอกจากนี้สื่อที่ใช้เก็บบันทึก เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี มีความจุสูงและมีราคาถูก


การพิจารณาเลือกซื้อออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ จะพิจารณาจากความเร็วในการอ่านและบันทึกข้อมูล ซึ่งแต่ละชนิดจะระบุความเร็วไว้แตกต่างกันตามชนิดของออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ ดังนี้
1. ซีดีไดร์ฟ (Compact Disc Drive: CD Drive) ใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีได้อย่างเดียว
2. ดีวีดีไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Drive: DVD Drive) ใช้อ่านข้อมูลได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี แต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีหรือดีวีดีได้
3. ซีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Compact Disc Rewritable Drive: CD-RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนแผ่นซีดีได้มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x หมายความว่าความเร็วในการเขียน CD-R เท่ากับ 52x ความเร็วในการเขียนซ้ำ CD-RW เท่ากับ 32x
และความเร็วในการอ่าน CD-ROM เท่ากับ 52x
4. คอมโบไดร์ฟ (Combo Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดี และอ่านข้อมูลจากแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x/16x
5. ดีวีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Rewritable Drive: DVD+RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 20x/12x/20x/8x

3.4.7 เคส (case) โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ทำหน้าที่เป็นโครงยึดให้กับอุปกรณ์ภายในต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ แหล่งจ่ายไฟ เป็นต้น นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ในการป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในเคส
หลักในการพิจารณาเลือกซื้อเคส เช่น
- มีช่องระบายอากาศและระบบระบายความร้อน
- มีพื้นที่หรือช่องที่จะเพิ่มอุปกรณ์ได้ เช่น การเพิ่มฮาร์ดดิสก์ การเพิ่มซีดี/ดีวีดีไดร์ฟ
- ลักษณะของเคส เช่น เคสในแนวนอน ที่เรียกว่า เดสก์ท็อปเคส (desktop case) และเคสในแนวตั้งที่เรียกว่า ทาวเวอร์เคส (tower case) ตัวอย่างของเคสแบบต่าง ๆ ดังรูป


- ในกรณีที่เป็นการใช้งานโดยทั่วไป อาจเลือกใช้เคสที่มีแหล่งจ่ายไฟ (power supply) ติดตั้งมาให้สำเร็จแล้ว แต่ถ้าต้องการติดตั้งอุปกรณ์ภายในหลายชิ้น เช่น ฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผลความเร็วสูง และพอร์ต USB ควรพิจารณาเลือกแหล่งจ่ายไฟที่มีความสามารถสูงขึ้น    

3.4.8 จอภาพ (monitor) ที่พบจะมีอยู่ 2 ประเภทคือ จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube: CRT) และจอแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD) ซึ่งในปัจจุบันจอแอลซีดีเป็นที่นิยมมากเนื่องจากมีราคาถูก ถนอมสายตา ประหยัดพลังงาน และใช้พื้นที่ในการจัดวางน้อย
ตัวอย่างคุณลักษณะของจอภาพดังรูป

 

ปัจจัยในการเลือกซื้อจอภาพ เช่น
- ความละเอียดของภาพ (resolution) หมายถึง จำนวนจุดหรือพิกเซลบนจอภาพ ถ้าหากมีความละเอียดสูงจะทำให้ภาพคมชัดมากขึ้น ตัวอย่างเช่น จอภาพที่มีความละเอียด 1680 x 1050 เป็นจอภาพที่มีจุดภาพในแนวนอน 1680 จุด และมีจุดภาพในแนวตั้ง 1050 จุด
- ขนาด (size) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็นแนวทแยงมุม เช่น จอแบบ 19 นิ้ว และแบบ 21 นิ้ว
นอกจากนี้จอภาพยังสามารถเลือกความสว่าง (brightness) และความเปรียบต่าง (contrast) ได้อีกด้วย การแสดงผลของจอภาพนั้นจะต้องมีการ์ดแสดงผล เป็นตัวประสานงานระหว่างซีพียูกับจอภาพ โดยสัญญาณภาพจะถูกส่งออกมาจากการ์ดแสดงผลนี้ จอภาพโดย
ทั่วไปจะมีพอร์ตต่อแบบวีจีเอ (Video Graphics Array: VGA) ซึ่งเป็นตัวรับสัญญาณแอนะล็อกมาจากการ์ดแสดงผล จอภาพบางรุ่นจะมีพอร์ตต่อแบบดีวีไอ (Digital Video Interface: DVI) ซึ่งเป็นการรับข้อมูลภาพแบบดิจิทัลซึ่งจะให้ภาพที่คมชัดกว่า

สร้างโดย: 
วีระวรรณ มิตรณรงค์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 340 คน กำลังออนไลน์