• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:421148d1c1feab65b797c1de23256e84' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>วิเคราะห์ลักษณะนิสัยตัวละคร</p>\n<p>เรื่อง  พระอภัยมณี</p>\n<p>ตอน พระอภัยมณัหนีนางผีเสื้อสมุทร</p>\n<p>ผู้แต่ง</p>\n<p>ลักษณะคำประพันธ์ แต่งด้วยกลอนนิทาน ซึ่งมีลักษณะคล้ายกลอนสุภาพ ผิดกันแต่ขึ้นเรื่องด้วยวรรคที่ ๒ กลอนของสุนทรภู่มีลักษณะพิเศา คือ มีสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรวรรคละสองคู่ ทำให้เกิดความไพเราะรื่นหู เช่น</p>\n<p>ถึงม้วยแล้วแก้วตาอย่าปรารภ  จะขอพบสุดสวาทเหมือนมาดหมาย</p>\n<p>ขอให้พ่อก่อเกิดกับร่างกาย  ได้กินสายกษีรามารดาเดียว</p>\n<p>นิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณี มีเค้าเรื่องแปลกไปจากเรื่องที่นิยมแต่งกันทั่วไปในเวลานั้น หรือที่เรียกกันว่า จีกร ๆ วงศ์ ๆ แทนที่จะให้ตัวเอกของเรื่องคือพระอภัยมณีมีฤทธิ์เดชในการรบอย่างเรื่องทั่วไปสุนทรภู่ เปลี่ยนเป็นให้พระอภัยมณีเชี่ยวชาญดนตรี กำหนดให้ตัวละครเด็ก ๆ มีบทบาทสำคัญ และได้แทรกจินตนาการทางวิทยาศาสตร์ ประการสำคัญที่สุดคือสุนทรภู่ได้แทรกคติธรรมซึ่งได้จากประสบการณ์ของสุนทรภู่เอง </p>\n<p>จุดมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อให้ได้รสชาติของกลอนนิทานที่มีนิทานเรื่องแปลก ตัวเอกของเรื่องไม่ใช่นักรบอย่างที่นิยมกันในสมัยนั้น แต่เป็นนักดนตรี เนื้อเรื่องสนุกสนานเร้าใจ ได้เห็นชีวิตของตัวละครซึ่งถึงแม้จะต่างกันโดยสภาวะความเป็นอยู่ เช่น มนุษย์ เงือก หรือผีเสื้อสมุทร แต่ก็มีสุขทุกข์ดีชั่วเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังได้เห็นแบบอย่างกลอนของสุนทรภู่ซึ่งมีลักษณะพิเศษแตกต่างกับของกวีอื่น</p>\n<p>เนื้อเรื่องย่อ</p>\n<p>ต้นเรื่อง</p>\n<p>พระอภัยมณีกับศรีสุวรรณเป็นโอรสท้าวสุทัศน์แห่งกรุงรัตนา เมื่อเจริญวัยได้ออกไปศึกษาวิชา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ พระอภัยมณีเลือกเรียนวิชาปี่ ศรีสุวรรณเลือกเรียนวิชากระบี่กระบอง พระบิดาไม่พอพระทัยวิชาที่เรียนจึงขับไล่โอรสทั้งสองไปจากเมือง พระอภัยมณีกับศรีสุวรรณได้เพื่อนพราหมณ์สามคน โมรารู้วิชาผูกสำเภายนต์ สานนรู้วิชาเรียกลมงน วิเชียรรู้วิชาธนูยิงได้คราวละ ๗ คน พราหมณ์ทั้งสามขอฟังเสียงปี่ของพระอภัยมณี พอพระอภัยมณีเป่าปี่ขึ้น พราหมณ์ทั้งสามและศรีสุวรรณเคลิ้มหลับไป นางผีเสื้อได้ยินเสียงปี่ก็ตามมาพบพระอภัยมณี เกิดความรัก อุ้มพระอภัยมณีไปไว้ในถ้ำ พระอภัยมณีจำใจอยู่กับนางผีเสื้อจนเกิดโอรสชื่อสินสมุทร ซึ่งมีฤทธิ์และกำลังกายมาก </p>\n<p>เมื่อฟื้นขึ้นศรีสุวรรณกับสหายพราหมณ์พากันออกตามหาพระอภัยมณี หลงเข้าเมืองรมจักร ศรีสุวรรณได้นางเกศราธิดาเจ้าเมืองเป็นชายา เกิดธิดาชื่ออรุณรัศมี</p>\n<p>วันหนึ่งพระอภัยมณีกับสินสมุทรได้โอกาสอาศัยเงือกน้ำพ่อแม่กับลูกสาวพาว่ายนำ้ำหนีนางผีเสื้อ เงือกพ่อแม่ถูกนางผีเสื้อฆ่าตาย เงือกลูกสาวพาพระอภัยมณีกับสินสมุทรไปถึงเกาะแก้วพิสดารที่พำนักของโยคีซึ่งมีตบะกล้า ทำให้นางผีเสื้อหวาดกลัวไม่อาจเข้ามาที่เกาะ ซุ่มเฝ้าอยู่ใกล้ ๆ พระอภัยมณีได้นางเงือกเป็นภรรยา ต่อมาเกิดโอรสชื่อสุดสาคร</p>\n<p>ท้าวสิลราชเจ้ากรุงผลึกกับนางสุวรรณมาลีพระธิดาแล่นเรือออกเที่ยวทะเลมาถึงเกาะแก้วพิสดาร พระอภัยมณีกับสินสมุทรของโดยสารเรือไปด้วย พระอภัยมณีกับนางสุวรรณมาลีเกิดความรักต่อพระอภัยมณีให้ธำมรงค์และนางสุวรรณมาลีให้สังวาลไว้เป็นพยานรักแก่กัน นางผีเืสื้อตามสำแดงเดชให้เรือแตก ท้าวสิลราชจมนำ้หายไป สินสมุทรพานางสุวรรณมาลีขึ้นเกาะแห่งหนึ่ง ทั้งสองรักใคร่ผูกสมัครเป็นแม่ลูกกัน พระอภัยมณีกับไพร่พลหนีนางผีเสื้อไปขึ้นเกาะอีกแห่งหนึ่งได้ จำใจเป่าปี่ขึ้น ทำให้นางผีเสื้อสิ้นใจตาย </p>\n<p>คุณค่าที่ได้รับ</p>\n<p>วิเคราะห์ลักษณะนิสัยตัวละคร</p>\n<p>พระอภัยมณี เป็นคนสุภาพอ่อนโยน เช่น พูดจากับสินสมุทรและอุศเรนอย่างนิ่มนวล บัวไม่ให้ช้ำน้ำไม่ให้ขุ่น เป็นคนใจอ่อน เช่น เมื่อพบสินสมุทรถึงแก่สลบด้วยความสะเทือนใจ มีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีคุณยิ่งนัก เช่น ขอร้องมิให้สินสมุทรขัดขวางอุศเรนที่จะรับนางสุวรรณมาลีไป และวางตัวเป็นกลางถ้าสินสมุทรรบสู้อุศเรนไม่ได้</p>\n<p>สินสมุทร ลักษณะนิสัย กล้าหาญบึกบึน รักบิดาและมารดาเลี้ยง ทำอะไรโดยไม่ยั้งคิด</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1714189498, expire = 1714275898, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:421148d1c1feab65b797c1de23256e84' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิเคราะห์ลักษณะนิสัยตัวละคร เรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ

วิเคราะห์ลักษณะนิสัยตัวละคร

เรื่อง  พระอภัยมณี

ตอน พระอภัยมณัหนีนางผีเสื้อสมุทร

ผู้แต่ง

ลักษณะคำประพันธ์ แต่งด้วยกลอนนิทาน ซึ่งมีลักษณะคล้ายกลอนสุภาพ ผิดกันแต่ขึ้นเรื่องด้วยวรรคที่ ๒ กลอนของสุนทรภู่มีลักษณะพิเศา คือ มีสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรวรรคละสองคู่ ทำให้เกิดความไพเราะรื่นหู เช่น

ถึงม้วยแล้วแก้วตาอย่าปรารภ  จะขอพบสุดสวาทเหมือนมาดหมาย

ขอให้พ่อก่อเกิดกับร่างกาย  ได้กินสายกษีรามารดาเดียว

นิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณี มีเค้าเรื่องแปลกไปจากเรื่องที่นิยมแต่งกันทั่วไปในเวลานั้น หรือที่เรียกกันว่า จีกร ๆ วงศ์ ๆ แทนที่จะให้ตัวเอกของเรื่องคือพระอภัยมณีมีฤทธิ์เดชในการรบอย่างเรื่องทั่วไปสุนทรภู่ เปลี่ยนเป็นให้พระอภัยมณีเชี่ยวชาญดนตรี กำหนดให้ตัวละครเด็ก ๆ มีบทบาทสำคัญ และได้แทรกจินตนาการทางวิทยาศาสตร์ ประการสำคัญที่สุดคือสุนทรภู่ได้แทรกคติธรรมซึ่งได้จากประสบการณ์ของสุนทรภู่เอง 

จุดมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อให้ได้รสชาติของกลอนนิทานที่มีนิทานเรื่องแปลก ตัวเอกของเรื่องไม่ใช่นักรบอย่างที่นิยมกันในสมัยนั้น แต่เป็นนักดนตรี เนื้อเรื่องสนุกสนานเร้าใจ ได้เห็นชีวิตของตัวละครซึ่งถึงแม้จะต่างกันโดยสภาวะความเป็นอยู่ เช่น มนุษย์ เงือก หรือผีเสื้อสมุทร แต่ก็มีสุขทุกข์ดีชั่วเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังได้เห็นแบบอย่างกลอนของสุนทรภู่ซึ่งมีลักษณะพิเศษแตกต่างกับของกวีอื่น

เนื้อเรื่องย่อ

ต้นเรื่อง

พระอภัยมณีกับศรีสุวรรณเป็นโอรสท้าวสุทัศน์แห่งกรุงรัตนา เมื่อเจริญวัยได้ออกไปศึกษาวิชา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ พระอภัยมณีเลือกเรียนวิชาปี่ ศรีสุวรรณเลือกเรียนวิชากระบี่กระบอง พระบิดาไม่พอพระทัยวิชาที่เรียนจึงขับไล่โอรสทั้งสองไปจากเมือง พระอภัยมณีกับศรีสุวรรณได้เพื่อนพราหมณ์สามคน โมรารู้วิชาผูกสำเภายนต์ สานนรู้วิชาเรียกลมงน วิเชียรรู้วิชาธนูยิงได้คราวละ ๗ คน พราหมณ์ทั้งสามขอฟังเสียงปี่ของพระอภัยมณี พอพระอภัยมณีเป่าปี่ขึ้น พราหมณ์ทั้งสามและศรีสุวรรณเคลิ้มหลับไป นางผีเสื้อได้ยินเสียงปี่ก็ตามมาพบพระอภัยมณี เกิดความรัก อุ้มพระอภัยมณีไปไว้ในถ้ำ พระอภัยมณีจำใจอยู่กับนางผีเสื้อจนเกิดโอรสชื่อสินสมุทร ซึ่งมีฤทธิ์และกำลังกายมาก 

เมื่อฟื้นขึ้นศรีสุวรรณกับสหายพราหมณ์พากันออกตามหาพระอภัยมณี หลงเข้าเมืองรมจักร ศรีสุวรรณได้นางเกศราธิดาเจ้าเมืองเป็นชายา เกิดธิดาชื่ออรุณรัศมี

วันหนึ่งพระอภัยมณีกับสินสมุทรได้โอกาสอาศัยเงือกน้ำพ่อแม่กับลูกสาวพาว่ายนำ้ำหนีนางผีเสื้อ เงือกพ่อแม่ถูกนางผีเสื้อฆ่าตาย เงือกลูกสาวพาพระอภัยมณีกับสินสมุทรไปถึงเกาะแก้วพิสดารที่พำนักของโยคีซึ่งมีตบะกล้า ทำให้นางผีเสื้อหวาดกลัวไม่อาจเข้ามาที่เกาะ ซุ่มเฝ้าอยู่ใกล้ ๆ พระอภัยมณีได้นางเงือกเป็นภรรยา ต่อมาเกิดโอรสชื่อสุดสาคร

ท้าวสิลราชเจ้ากรุงผลึกกับนางสุวรรณมาลีพระธิดาแล่นเรือออกเที่ยวทะเลมาถึงเกาะแก้วพิสดาร พระอภัยมณีกับสินสมุทรของโดยสารเรือไปด้วย พระอภัยมณีกับนางสุวรรณมาลีเกิดความรักต่อพระอภัยมณีให้ธำมรงค์และนางสุวรรณมาลีให้สังวาลไว้เป็นพยานรักแก่กัน นางผีเืสื้อตามสำแดงเดชให้เรือแตก ท้าวสิลราชจมนำ้หายไป สินสมุทรพานางสุวรรณมาลีขึ้นเกาะแห่งหนึ่ง ทั้งสองรักใคร่ผูกสมัครเป็นแม่ลูกกัน พระอภัยมณีกับไพร่พลหนีนางผีเสื้อไปขึ้นเกาะอีกแห่งหนึ่งได้ จำใจเป่าปี่ขึ้น ทำให้นางผีเสื้อสิ้นใจตาย 

คุณค่าที่ได้รับ

วิเคราะห์ลักษณะนิสัยตัวละคร

พระอภัยมณี เป็นคนสุภาพอ่อนโยน เช่น พูดจากับสินสมุทรและอุศเรนอย่างนิ่มนวล บัวไม่ให้ช้ำน้ำไม่ให้ขุ่น เป็นคนใจอ่อน เช่น เมื่อพบสินสมุทรถึงแก่สลบด้วยความสะเทือนใจ มีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีคุณยิ่งนัก เช่น ขอร้องมิให้สินสมุทรขัดขวางอุศเรนที่จะรับนางสุวรรณมาลีไป และวางตัวเป็นกลางถ้าสินสมุทรรบสู้อุศเรนไม่ได้

สินสมุทร ลักษณะนิสัย กล้าหาญบึกบึน รักบิดาและมารดาเลี้ยง ทำอะไรโดยไม่ยั้งคิด

 

 

สร้างโดย: 
ครูกัญญาสิริ ศรีแก้วพันธุ์ และนางสาวจิตรกัญญา จันทร์สำเริง

อยากให้วิเคราะห์ ตัวละคร อีกค่ะ

 

เช่น นางเงือก

สุดสาคร พระโยคี ชีเปลือย เสาวคนธ์  นางละเวง  หัสไชย  นางสุลาลีวัน  นางเกษรา  นางเงือก  เป้นต้น ค่ะส่งผ่านเมลมาหน่อยนะค่ะ ได้ภายในคืนเน้ยิ่งดีค่ะ  E-mail shizuka_za@hotmail.co.th

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 517 คน กำลังออนไลน์