• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4da5e01ef42a7d223a415ad66ddde2dc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"100\" width=\"600\" src=\"/files/u31546/thai_1.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<img height=\"80\" width=\"400\" src=\"/files/u31546/t_7ra.gif\" border=\"0\" style=\"width: 378px; height: 70px\" />\n</p>\n<p>\n             <strong>ด้านประติมากรรม</strong> ยังคงสืบทอดแบบแผนจากอยุธยาหรือมีการนำเอารูปแบบสุโขทัยมาเป็นแบบอย่างบ้าง<br />\nและนิยมสร้างพระพุทธรูปมีเครื่องทรงมากขึ้น นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ยังมีการนำรูปสลักตุ๊กตาหินยืนกลางแจ้ง<br />\nมาประดับไว้ตามประตูหรือลานพระราชวัง ศาสนสถาน ซึ่งเป็นรูปคน รูปสิงโต โดยเป็นฝีมือสลักช่างชาวจีน<br />\n            <strong> ด้านจิตรกรรม</strong> ยังคงเน้นการวาดภาพประดับฝาผนังโบสถ์และวิหาร โดยใช้เทคนิคและรูปแบบการวาด<br />\nแบบอยุธยา แต่มีการพัฒนาในเรื่องของการวางโครงสร้างของภาพ โดยเน้นการมองจากที่สูง และใช้สีหลากหลายขึ้นมีทั้ง<br />\nสีแท้และสีผสมและปิดทองคำเปลวเพื่อให้เกิดความแพรวพราวและดูเด่นตา<br />\n            <strong> ๒.ศิลปะแบบรัตนโกสินทร์ตั้งแต่รัชกาลที่ ๔ จนถึงปัจจุบัน</strong> หรือตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๒๕ เป็นต้นมา<br />\nเป็นศิลปะกรรมสมัยใหม่ได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมโลกตะวันตก เนื่องจากการแผร่ขยายอำนาจเข้ามายังดินแดนเอเชีย<br />\nตะวันออกเฉียงใต้ ส่งผลกระทบให้ศิลปกรรมแบบประเพณีนิยมมีการปรับเปลี่ยนไปจากเดิม ซึ่งไม่ใช่มีเพียงความเชื่อ<br />\nทางศาสนาเท่านั้นที่นำมาเป็นแบบแผนในการสร้างสรรค์ผลงาน แต่จะมีความเชื่อในความสำคัญของมนุษย์มาเป็น<br />\nพื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานร่วมอยู่ด้วย ผลงานที่แสดงออกมาจึงเป็นไปเพื่อประโยชน์ใช้สอยและแสดงอารมณ์<br />\nความรู้สึกของมนุษย์อย่างแท้จริง กล่าวคือ<br />\n            <strong>ด้านสถาปัตยกรรม</strong> รูปแบบการก่อสร้างนิยมเลียนแบบศิลปะตะวันตกแทนศิลปะจีน ซึ่งเห็นได้จากการ<br />\nสร้างพระราชวัง เช่น พระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี ในสมัยรัชกาลที่ ๔ พระราชวังรามราชนิเวศน์ จังหวัดเพขรบุรี<br />\nพระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่งวิมานเมฆ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้น ซึ่งมุ่งเน้นเรื่องของการ<br />\nใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมร่วมกันในสังคม นอกจากนี้ยังมีการผสมผสานศิลปะแบบประเพณีนิยมกับศิลปะตะวันตก<br />\nเช่น พระที่นั่งจักรีมหาราปราสาท พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน พระราชวังสนามจันทน์ เป็นต้น ในส่วนของที่อยู่อาศัย<br />\nของชนชั้นเจ้านายและชนชั้นกลางก็นิยมสร้างบ้านเรือนด้วยคอนกรีตเป็นตึกรูปทรงแบบตะวันตกแทนการปลูกเรือนไม้\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"544\" width=\"361\" src=\"/files/u31546/20.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 359px; height: 478px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n^ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div>\n                <strong> ด้านประติมากรรม</strong> ตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา งานประติมากรรมส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลศิลปะ<br />\nตะวันตกเป็นอย่างมาก เช่น การปั้นพระพุทธรูปให้มีลักษณะเหมือนมนุษย์มากยิ่งขึ้น โดยเพิ่มรายละเอียดของกล้ามเนื้อ<br />\nครองจีวรเป็นริ้วอย่างธรรมชาติ แต่ยังคงพุทธลักษณะที่สำคัญไว้ เช่น พระรัศมีเป็นเปลว พระเกตุมาลา พระเกศาขมวดเป็นปม<br />\nเป็นต้น  ตัวอย่างของงานประติมากรรมที่สำคัญ เช่น พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์<br />\nจังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นพระพุทธรูปปางลีลาแบบสุโขทัย ออกแบบและปั้นโดยศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี<br />\nเมื่อครั้งฉลองกรุง ๒๕ พุทธศตวรรษ ในปีพ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้น\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"400\" width=\"300\" src=\"/files/u31546/021.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n^ พระศรีศากยะทศพลณาน ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ จังหวัดนครปฐม\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<strong></strong>\n</div>\n<div>\n<strong> <a href=\"/node/78284\"><img height=\"176\" width=\"219\" src=\"/files/u31546/aa2.gif\" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 159px\" /></a><strong><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ffcc00\">_____________________________________<a href=\"/node/79973\"><img height=\"346\" width=\"350\" src=\"/files/u31546/aa11.gif\" border=\"0\" style=\"width: 210px; height: 209px\" /></a></span></span></strong></strong>\n</div>\n<div>\n<strong></strong>\n</div>\n<div>\n<strong></strong>\n</div>\n<div>\n<strong></strong>\n</div>\n<div>\n<strong></strong>\n</div>\n<div>\n<strong>*ขอขอบคุณรูปภาพจาก<br />\n</strong><a href=\"http://web.debsirin.ac.th/40036/dsc_9056%5B1%5D.jpg\">http://web.debsirin.ac.th/40036/dsc_9056%5B1%5D.jpg</a><br />\n<a href=\"http://www.bloggang.com/data/a/addsiripun/picture/1264921448.jpg\">http://www.bloggang.com/data/a/addsiripun/picture/1264921448.jpg</a>\n</div>\n</div>\n<div>\n</div>\n', created = 1727055177, expire = 1727141577, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4da5e01ef42a7d223a415ad66ddde2dc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศิลปะแบบรัตนโกสินทร์

รูปภาพของ sss27707

             ด้านประติมากรรม ยังคงสืบทอดแบบแผนจากอยุธยาหรือมีการนำเอารูปแบบสุโขทัยมาเป็นแบบอย่างบ้าง
และนิยมสร้างพระพุทธรูปมีเครื่องทรงมากขึ้น นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ยังมีการนำรูปสลักตุ๊กตาหินยืนกลางแจ้ง
มาประดับไว้ตามประตูหรือลานพระราชวัง ศาสนสถาน ซึ่งเป็นรูปคน รูปสิงโต โดยเป็นฝีมือสลักช่างชาวจีน
             ด้านจิตรกรรม ยังคงเน้นการวาดภาพประดับฝาผนังโบสถ์และวิหาร โดยใช้เทคนิคและรูปแบบการวาด
แบบอยุธยา แต่มีการพัฒนาในเรื่องของการวางโครงสร้างของภาพ โดยเน้นการมองจากที่สูง และใช้สีหลากหลายขึ้นมีทั้ง
สีแท้และสีผสมและปิดทองคำเปลวเพื่อให้เกิดความแพรวพราวและดูเด่นตา
             ๒.ศิลปะแบบรัตนโกสินทร์ตั้งแต่รัชกาลที่ ๔ จนถึงปัจจุบัน หรือตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๒๕ เป็นต้นมา
เป็นศิลปะกรรมสมัยใหม่ได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมโลกตะวันตก เนื่องจากการแผร่ขยายอำนาจเข้ามายังดินแดนเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ส่งผลกระทบให้ศิลปกรรมแบบประเพณีนิยมมีการปรับเปลี่ยนไปจากเดิม ซึ่งไม่ใช่มีเพียงความเชื่อ
ทางศาสนาเท่านั้นที่นำมาเป็นแบบแผนในการสร้างสรรค์ผลงาน แต่จะมีความเชื่อในความสำคัญของมนุษย์มาเป็น
พื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานร่วมอยู่ด้วย ผลงานที่แสดงออกมาจึงเป็นไปเพื่อประโยชน์ใช้สอยและแสดงอารมณ์
ความรู้สึกของมนุษย์อย่างแท้จริง กล่าวคือ
            ด้านสถาปัตยกรรม รูปแบบการก่อสร้างนิยมเลียนแบบศิลปะตะวันตกแทนศิลปะจีน ซึ่งเห็นได้จากการ
สร้างพระราชวัง เช่น พระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี ในสมัยรัชกาลที่ ๔ พระราชวังรามราชนิเวศน์ จังหวัดเพขรบุรี
พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่งวิมานเมฆ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้น ซึ่งมุ่งเน้นเรื่องของการ
ใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมร่วมกันในสังคม นอกจากนี้ยังมีการผสมผสานศิลปะแบบประเพณีนิยมกับศิลปะตะวันตก
เช่น พระที่นั่งจักรีมหาราปราสาท พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน พระราชวังสนามจันทน์ เป็นต้น ในส่วนของที่อยู่อาศัย
ของชนชั้นเจ้านายและชนชั้นกลางก็นิยมสร้างบ้านเรือนด้วยคอนกรีตเป็นตึกรูปทรงแบบตะวันตกแทนการปลูกเรือนไม้

^ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง
                 ด้านประติมากรรม ตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา งานประติมากรรมส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลศิลปะ
ตะวันตกเป็นอย่างมาก เช่น การปั้นพระพุทธรูปให้มีลักษณะเหมือนมนุษย์มากยิ่งขึ้น โดยเพิ่มรายละเอียดของกล้ามเนื้อ
ครองจีวรเป็นริ้วอย่างธรรมชาติ แต่ยังคงพุทธลักษณะที่สำคัญไว้ เช่น พระรัศมีเป็นเปลว พระเกตุมาลา พระเกศาขมวดเป็นปม
เป็นต้น  ตัวอย่างของงานประติมากรรมที่สำคัญ เช่น พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์
จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นพระพุทธรูปปางลีลาแบบสุโขทัย ออกแบบและปั้นโดยศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี
เมื่อครั้งฉลองกรุง ๒๕ พุทธศตวรรษ ในปีพ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้น
^ พระศรีศากยะทศพลณาน ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ จังหวัดนครปฐม
 _____________________________________

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 284 คน กำลังออนไลน์