• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8827b15370a4cfeb667ab27333964501' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nทักทายอิอิ.........<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" />  สวัสดีจร้าผู้เยี่ยมชมที่น่ารักทุกท่าน..ตอนนี้ท่านได้อยู่ในบล็อกของเราเรียบร้อย อย่าพึ่งเบื่อล่ะมาหาความรู้เกี่ยวกับ<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" />ไดนาโม<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" />ดีกว่า บางท่านอาจจะเคยได้เรียนหรือศึกษากันมาแล้วบ้างก็ถือว่าหาประสบการณ์เพิ่มไปในตัวนะค่ะ\n</p>\n<p>\n ช่วยเม้นให้หน่อยนะค่ะ ถือซะว่าป็นกำลังใจในการเผยแพร่ความรู้ต่างๆให้กับท่านผู้ที่ชอบอ่านความรู้ต่างๆมากมาย คอมเม้นของทานจะเป็นการสานตาอกำลังใจที่ดีต่อไปค่ะ <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" />\n</p>\n<p>\n  ต่อไปนี้คุณพร้อมแล้วหรือยังที่จะไปพบกับ  <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" />ไดนาโม<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" />\n</p>\n<p>\nไฟฟ้าที่เราใช้กันทั่วไปตามบ้านเรือน หรือสถานที่ต่างๆ หรือกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการประกอบกิจการต่าง ๆนั้น ทั้งหมดเป็นกระแสไฟฟ้าที่ผลิตด้วย<span style=\"color: #990000\">ไดนาโม</span> ดังนั้นเราควรรู้สักนิดครับว่า เจ้าไดนาโม ( หรือบางคนอาจเรียกว่า<span style=\"color: #993300\">เครื่องกำเนิดไฟฟ้า</span>ก็ได้) มันทำประกอบด้วยสิ่งใดบ้างและมันทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้อย่างไร.......ส่วนประกอบหลักๆ หรือส่วนที่สำคัญของเจ้าไดนาโมนี้ไม่มีอะไรมากหรือไม่ซับซ้อนเลยครับ มันประกอบด้วย.......\n</p>\n<p>\n1.<span style=\"color: #3300ff\">แม่เหล็ก</span> ไว้สำหรับทำให้เกิดสนามแม่เหล็กครับ\n</p>\n<p>\n2..<span style=\"color: #003399\">ขดลวด<span style=\"color: #333333\"> ซึ่งต้องเป็นขดลวดที่มีฉนวนหุ้มหรือเคลือบด้วยฉนวน ค่ะ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">3.พวกส่วนประกอบย่อยๆ คือ แปรง , แหวน เป็นต้น  ดูภาพได้เลยค่ะ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">การเกิดกระแสไฟฟ้านั้นก็คือ</span><span style=\"color: #3333ff\">เกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ</span><span style=\"color: #333333\">นั่นเอง ........โดยเมือ่</span><span style=\"color: #0033ff\">ออกแรงหมุน</span><span style=\"color: #333333\">ที่แกนเพื่อให้ขดลวดหมุน ขดลวดก็จะเคลื่อน ที่ตัดกับสนามหรือเส้นแรงแม่เหล็ก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">    เมื่อขดลวดหมุนตัดกับเส้นแรงหรือสนามแม่เหล็ก ก็จะเป็นการทำให้<span style=\"color: #0033ff\">เพิ่มและลดความเข้มของสนามแม่เหล็กให้แก่ขดลวด</span> ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวด ตามหลักของการเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ที่กล่าวแล้วในเรื่องกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำค่ะ .....</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">    ปลายเส้นลวดทั้งสองข้างของขดลวด ถูกส่งมาตามแกนหมุนไปที่<span style=\"color: #993333\">แหวน</span> และไปสัมผัสกับ<span style=\"color: #990000\">แปรง</span> กระแสไฟฟ้าที่ได้จะถูกส่งมาทางอุปกรณ์พวกนี้  และการที่ไดนาโมจะผลิตไฟฟ้ากระแสตรง หรือกระแสสลับก็ขึ้นอยู่กับการออกแบบแหวนนี่แหละค่ะ (ซึ่งรายละเอียดผู้สนใจหาศึกษาได้ค่ะ ) ..................</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">    ในทางปฏิบัติจริงๆ จะสลับซับซ้อนกว่านี้เยอะครับ เช่นบางครั้งไม่ได้ขดลวดหมุน แต่ให้แม่เหล็กหมุน ขดลวดอยู่กับที่ ...หรือมีขดลวดหลายชุดทำมุมกันหมุนในสนามแม่เหล็กค่ะ .......แต่ถึงอย่างไรก็ตามทำให้เราก็ได้หลักการของไดนาโมอย่างหนึ่งคือ</span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<center>\n<table border=\"0\" bgColor=\"#ffcc33\" width=\"60%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" height=\"22\" borderColor=\"#111111\" style=\"border-collapse: collapse\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n ไดนาโม ทำหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงาน ไฟฟ้า\n </div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p></center>\n</div>\n<p>\n<br />\n    คือเราต้องใส่<span style=\"color: #cc0000\">พลังงานกล</span>หรือแรงหมุนให้แก่ไดนาโมก่อน แล้วไดนาโมจะเปลี่ยนแรงนั้นเป็น<span style=\"color: #ff0000\">พลังงานไฟฟ้า</span> ค่ะ ซึ่งไดนาโมจะทำงานตรงกันข้ามกับ<span style=\"color: #0033ff\">มอร์เตอร์ </span>ค่ะ คือมอร์เตอร์\n</p>\n<div align=\"center\">\n<center>\n<table border=\"0\" bgColor=\"#ffcc33\" width=\"60%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" height=\"22\" borderColor=\"#111111\" style=\"border-collapse: collapse\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n มอเตอร์ ทำหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล\n </div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p></center>\n</div>\n<p>\n<br />\n    โดยที่มอเตอร์ทำงานโดยเราต้องใส่พลังงานไฟฟ้าเข้าในมอเตอร์ก่อน แล้วมันจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้านั้นเป็นพลังงานกล คืิอ เกิดแรงหมุนเพื่อนำไปทำงานต่างๆ ค่ะ\n</p>\n', created = 1726922154, expire = 1727008554, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8827b15370a4cfeb667ab27333964501' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เชิญมาทางนี้ครับ ไดนาโม รอคุยอยู่ อิอิ

 

ทักทายอิอิ.........  สวัสดีจร้าผู้เยี่ยมชมที่น่ารักทุกท่าน..ตอนนี้ท่านได้อยู่ในบล็อกของเราเรียบร้อย อย่าพึ่งเบื่อล่ะมาหาความรู้เกี่ยวกับLaughingไดนาโมWinkดีกว่า บางท่านอาจจะเคยได้เรียนหรือศึกษากันมาแล้วบ้างก็ถือว่าหาประสบการณ์เพิ่มไปในตัวนะค่ะ

 ช่วยเม้นให้หน่อยนะค่ะ ถือซะว่าป็นกำลังใจในการเผยแพร่ความรู้ต่างๆให้กับท่านผู้ที่ชอบอ่านความรู้ต่างๆมากมาย คอมเม้นของทานจะเป็นการสานตาอกำลังใจที่ดีต่อไปค่ะ

  ต่อไปนี้คุณพร้อมแล้วหรือยังที่จะไปพบกับ  KissไดนาโมKiss

ไฟฟ้าที่เราใช้กันทั่วไปตามบ้านเรือน หรือสถานที่ต่างๆ หรือกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการประกอบกิจการต่าง ๆนั้น ทั้งหมดเป็นกระแสไฟฟ้าที่ผลิตด้วยไดนาโม ดังนั้นเราควรรู้สักนิดครับว่า เจ้าไดนาโม ( หรือบางคนอาจเรียกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าก็ได้) มันทำประกอบด้วยสิ่งใดบ้างและมันทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้อย่างไร.......ส่วนประกอบหลักๆ หรือส่วนที่สำคัญของเจ้าไดนาโมนี้ไม่มีอะไรมากหรือไม่ซับซ้อนเลยครับ มันประกอบด้วย.......

1.แม่เหล็ก ไว้สำหรับทำให้เกิดสนามแม่เหล็กครับ

2..ขดลวด ซึ่งต้องเป็นขดลวดที่มีฉนวนหุ้มหรือเคลือบด้วยฉนวน ค่ะ

3.พวกส่วนประกอบย่อยๆ คือ แปรง , แหวน เป็นต้น  ดูภาพได้เลยค่ะ

การเกิดกระแสไฟฟ้านั้นก็คือเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำนั่นเอง ........โดยเมือ่ออกแรงหมุนที่แกนเพื่อให้ขดลวดหมุน ขดลวดก็จะเคลื่อน ที่ตัดกับสนามหรือเส้นแรงแม่เหล็ก

    เมื่อขดลวดหมุนตัดกับเส้นแรงหรือสนามแม่เหล็ก ก็จะเป็นการทำให้เพิ่มและลดความเข้มของสนามแม่เหล็กให้แก่ขดลวด ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวด ตามหลักของการเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ที่กล่าวแล้วในเรื่องกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำค่ะ .....

    ปลายเส้นลวดทั้งสองข้างของขดลวด ถูกส่งมาตามแกนหมุนไปที่แหวน และไปสัมผัสกับแปรง กระแสไฟฟ้าที่ได้จะถูกส่งมาทางอุปกรณ์พวกนี้  และการที่ไดนาโมจะผลิตไฟฟ้ากระแสตรง หรือกระแสสลับก็ขึ้นอยู่กับการออกแบบแหวนนี่แหละค่ะ (ซึ่งรายละเอียดผู้สนใจหาศึกษาได้ค่ะ ) ..................

    ในทางปฏิบัติจริงๆ จะสลับซับซ้อนกว่านี้เยอะครับ เช่นบางครั้งไม่ได้ขดลวดหมุน แต่ให้แม่เหล็กหมุน ขดลวดอยู่กับที่ ...หรือมีขดลวดหลายชุดทำมุมกันหมุนในสนามแม่เหล็กค่ะ .......แต่ถึงอย่างไรก็ตามทำให้เราก็ได้หลักการของไดนาโมอย่างหนึ่งคือ

ไดนาโม ทำหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงาน ไฟฟ้า


    คือเราต้องใส่พลังงานกลหรือแรงหมุนให้แก่ไดนาโมก่อน แล้วไดนาโมจะเปลี่ยนแรงนั้นเป็นพลังงานไฟฟ้า ค่ะ ซึ่งไดนาโมจะทำงานตรงกันข้ามกับมอร์เตอร์ ค่ะ คือมอร์เตอร์

มอเตอร์ ทำหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล


    โดยที่มอเตอร์ทำงานโดยเราต้องใส่พลังงานไฟฟ้าเข้าในมอเตอร์ก่อน แล้วมันจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้านั้นเป็นพลังงานกล คืิอ เกิดแรงหมุนเพื่อนำไปทำงานต่างๆ ค่ะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 490 คน กำลังออนไลน์