• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7331f30fef31ef6b50ae5e58029a8982' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>3.</strong><strong> วิธีรมด้วยควันไอโอดีน (Iodine Fuming)<br />\n    การใช้ประโยชน์ของสารไอโอดีนเพื่อตรวจรอยลายแฝง  เหมาะกับการตรวจของกลางได้หลายอย่าง  รวมทั้งกระดาษ ผนัง และพื้นผิวที่มีความเหนียวเหนอะหนะด้วย <br />\n    หลักการ  คือ  เรานำเกล็ดไอโอดีน  ซึ่งเป็นสสารแข็งที่มีคุณสมบัติที่จะระเหิดเป็นก๊าสได้เมื่อได้รับความร้อนในระดับหนึ่ง  และเราสามารถใช้รูปแบบบของการตรวจในห้องทดลองปฎิบัติการได้โดยใช้ตู้ไอโอดีน (Iodine Fuming Cabinet)  ส่วนถ้าจะนำไปใช้ตรวจ ณ สถานที่เกิดเหตุก็เหมาะสมที่จะใช้แบบที่บรรจุอยู่ในกระบอกแก้วเล็กๆ  ซึ่งมีความสะดวกในการพกพาและตรวจหาบนบริเวณพื้นผิวที่ไม่กว้างขวางเกินไปนัก  กระบอกเช่นนี้เรียกว่า Iodine Fuming Gun <br />\nความร้อนของตู้ในอุณหภูมิที่ประมาณ  80 - 90 celcius\'s degree  จะสามารถทำให้เกร็ดไอโอดีนในตู้ระเหิดเป็นควันขึ้นได้  ซึ่งถ้าเราไม่ใช้ตะเกียงวิทยาศาสตร์วางไว้ใต้ตู้ตรงภาชนะบรรจุเกล็ดไอโอดีน  ก็อาจใช้หลอดไฟฟ้าขนาด 60 -100 แรงเทียนไส่ไว้ที่ด้านล่างในตู้ได้  การใช้ความร้อยช่วย  จะทำให้ปรากฎภาพรอยได้รวดเร็วขึ้นสำหรับการใช้กระบอกไอโอดีน (Iodine Fuming Gun)  ซึ่งเหมาะกับการพกพาไปในการตรวจหารอยลายแฝง ณ สถานที่เกิดเหตุนั้น  เป็นหลอดหรือกระบอกแก้วที่ภายในบรรจุใยแก้ว (Glass Wool) เกล็ดไอโอดีน (Iodine Crystals) และแคลเซียม คลอไรด์ (Calcium Chroride)  ภายในหลอดแก้วมีท่อยางโปร่งอยู่ตรงกลางสำหรับใช้เป่าได้   เมื่อนำมาใช้ในการตรวจหารอยแฝง  ก็ใช้การเป่าท่อยาง  ลมร้อนจากปากจะผ่านแคลเซียม คลอไรด์สู่ไอโอดีน  ทำให้เกิดการระเหิดของไอโอดีนขึ้น  ไอระเหยหรือควันของไอโอดีนก็จะถูกปล่อยออกมายังปลายท่อยางอีกข้างหนึ่ง  ซึ่งเราต้องจ่อไว้ใกล้ที่สุด (แต่ไม่ใช่ชิดหรือสัมผัสถึง กับพื้นผิวของวัตถุที่ต้องการตรวจหารอยลายแฝง  ซึ่งถ้าเคยมีการใช้มือหรือเท้าเปลือยสัมผัสมาก่อนแล้ว  ก็จะปรากฎรอยลายเส้นให้เห็นขึ้นได้อย่างชัดเจนเช่นเดียวกับการใช้ตู้ไอโอดีนตรวจหา<br />\n      ในทางปฎิบัติปรกติ เมื่อเราใช้เทคนิคนี้ในการตรวจหาตัวอย่างของลายแฝง  เราจำเป็นต้องใช้วิธีการหยิบจับด้วยปากคีบหรือสวมถุงมือโดยเสมอ  และพยายามไม่สัมผัสเลยไปกว่าบริเวณขอบวัตถุโดยไม่จำเป็นเพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสซ้ำทับลงไปบนบริเวณที่อาจมีรอยลายแฝงปรากฎอยู่ได้  เมื่อนำไปใส่หนีบจับไว้ในตู้ไอโอดีนแล้วใช้ความร้อนช่วย  หรือการใช้ลมปากเป่าท่อยางไอโอดีน ลมร้อนอุ่นๆ เช่นนี้จะเป็นปัจจัยให้เกล็ดไอโอดีนระเหิดเป็นไอและควันสีม่วง ซึ่งถ้ามีไขมันหรือน้ำมัน (ของเหงื่อ) ปรากฎอยู่ มันจะดูดซึมไอควันเหล่านี้ไว้ปรากฎเห็นเป็นรอยเส้นสีน้ำตายหรือออกสีเหลืองๆ ขึ้นตัดกับสีพื้นวัตถุนั้น เมื่อภาพรอยปรากฎชัด จะต้องถ่ายภาพไว้โดยทันที เนื่องจากรอยเส้นเหล่านี้จางหายอย่างรวดเร็วเมื่อกระบวนการนี้สิ้นสุดลง ส่วนวัตถุที่ปรากฎของลายแฝงเหล่านี้ จะต้องทำเครื่องหมายกำกับกำหนดตำแหน่งอย่างถูกต้องเพื่อการนำไปพิสูจน์เอกลักษณ์ต่อไป </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/78764\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u7268/10setadd.gif\" height=\"72\" /></a>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n', created = 1719626653, expire = 1719713053, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7331f30fef31ef6b50ae5e58029a8982' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิธีรมด้วยควันไอโอดีน (Iodine Fuming)

รูปภาพของ sss27287

3. วิธีรมด้วยควันไอโอดีน (Iodine Fuming)
    การใช้ประโยชน์ของสารไอโอดีนเพื่อตรวจรอยลายแฝง  เหมาะกับการตรวจของกลางได้หลายอย่าง  รวมทั้งกระดาษ ผนัง และพื้นผิวที่มีความเหนียวเหนอะหนะด้วย
    หลักการ  คือ  เรานำเกล็ดไอโอดีน  ซึ่งเป็นสสารแข็งที่มีคุณสมบัติที่จะระเหิดเป็นก๊าสได้เมื่อได้รับความร้อนในระดับหนึ่ง  และเราสามารถใช้รูปแบบบของการตรวจในห้องทดลองปฎิบัติการได้โดยใช้ตู้ไอโอดีน (Iodine Fuming Cabinet)  ส่วนถ้าจะนำไปใช้ตรวจ ณ สถานที่เกิดเหตุก็เหมาะสมที่จะใช้แบบที่บรรจุอยู่ในกระบอกแก้วเล็กๆ  ซึ่งมีความสะดวกในการพกพาและตรวจหาบนบริเวณพื้นผิวที่ไม่กว้างขวางเกินไปนัก  กระบอกเช่นนี้เรียกว่า Iodine Fuming Gun
ความร้อนของตู้ในอุณหภูมิที่ประมาณ  80 - 90 celcius's degree  จะสามารถทำให้เกร็ดไอโอดีนในตู้ระเหิดเป็นควันขึ้นได้  ซึ่งถ้าเราไม่ใช้ตะเกียงวิทยาศาสตร์วางไว้ใต้ตู้ตรงภาชนะบรรจุเกล็ดไอโอดีน  ก็อาจใช้หลอดไฟฟ้าขนาด 60 -100 แรงเทียนไส่ไว้ที่ด้านล่างในตู้ได้  การใช้ความร้อยช่วย  จะทำให้ปรากฎภาพรอยได้รวดเร็วขึ้นสำหรับการใช้กระบอกไอโอดีน (Iodine Fuming Gun)  ซึ่งเหมาะกับการพกพาไปในการตรวจหารอยลายแฝง ณ สถานที่เกิดเหตุนั้น  เป็นหลอดหรือกระบอกแก้วที่ภายในบรรจุใยแก้ว (Glass Wool) เกล็ดไอโอดีน (Iodine Crystals) และแคลเซียม คลอไรด์ (Calcium Chroride)  ภายในหลอดแก้วมีท่อยางโปร่งอยู่ตรงกลางสำหรับใช้เป่าได้   เมื่อนำมาใช้ในการตรวจหารอยแฝง  ก็ใช้การเป่าท่อยาง  ลมร้อนจากปากจะผ่านแคลเซียม คลอไรด์สู่ไอโอดีน  ทำให้เกิดการระเหิดของไอโอดีนขึ้น  ไอระเหยหรือควันของไอโอดีนก็จะถูกปล่อยออกมายังปลายท่อยางอีกข้างหนึ่ง  ซึ่งเราต้องจ่อไว้ใกล้ที่สุด (แต่ไม่ใช่ชิดหรือสัมผัสถึง กับพื้นผิวของวัตถุที่ต้องการตรวจหารอยลายแฝง  ซึ่งถ้าเคยมีการใช้มือหรือเท้าเปลือยสัมผัสมาก่อนแล้ว  ก็จะปรากฎรอยลายเส้นให้เห็นขึ้นได้อย่างชัดเจนเช่นเดียวกับการใช้ตู้ไอโอดีนตรวจหา
      ในทางปฎิบัติปรกติ เมื่อเราใช้เทคนิคนี้ในการตรวจหาตัวอย่างของลายแฝง  เราจำเป็นต้องใช้วิธีการหยิบจับด้วยปากคีบหรือสวมถุงมือโดยเสมอ  และพยายามไม่สัมผัสเลยไปกว่าบริเวณขอบวัตถุโดยไม่จำเป็นเพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสซ้ำทับลงไปบนบริเวณที่อาจมีรอยลายแฝงปรากฎอยู่ได้  เมื่อนำไปใส่หนีบจับไว้ในตู้ไอโอดีนแล้วใช้ความร้อนช่วย  หรือการใช้ลมปากเป่าท่อยางไอโอดีน ลมร้อนอุ่นๆ เช่นนี้จะเป็นปัจจัยให้เกล็ดไอโอดีนระเหิดเป็นไอและควันสีม่วง ซึ่งถ้ามีไขมันหรือน้ำมัน (ของเหงื่อ) ปรากฎอยู่ มันจะดูดซึมไอควันเหล่านี้ไว้ปรากฎเห็นเป็นรอยเส้นสีน้ำตายหรือออกสีเหลืองๆ ขึ้นตัดกับสีพื้นวัตถุนั้น เมื่อภาพรอยปรากฎชัด จะต้องถ่ายภาพไว้โดยทันที เนื่องจากรอยเส้นเหล่านี้จางหายอย่างรวดเร็วเมื่อกระบวนการนี้สิ้นสุดลง ส่วนวัตถุที่ปรากฎของลายแฝงเหล่านี้ จะต้องทำเครื่องหมายกำกับกำหนดตำแหน่งอย่างถูกต้องเพื่อการนำไปพิสูจน์เอกลักษณ์ต่อไป

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 261 คน กำลังออนไลน์