• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0fb84787a6b446be241a4cc107156e79' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                  <img height=\"330\" width=\"442\" src=\"/files/u7414/bn.png\" align=\"middle\" border=\"0\" style=\"width: 373px; height: 236px\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/78211\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/home.png\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/78205\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/tanon.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/78212\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/klong.png\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/78206\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/sapan_0.png\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/78207\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/trok_0.png\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/78208\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/wad.png\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/78209\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/otherplace.png\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/78210\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/aboutme.png\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/80596\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u7414/source_0.png\" /></a> \n</div>\n</div>\n</div>\n</div>\n<p>\n<strong><u>สะพานเสี้ยว สะพานเหล็ก สะพานโค้ง<br />\n</u></strong>\n</p>\n<p>\n               สะพานทั้งสามสะพานนี้ ปัจจุบันไม่ปรากฎทั้งชื่อและตัวสะพานหรือแม้แต่ความทรงจำเกี่ยวกับเรื่องราวของสะพานนี้ก็กำลังจะสูญสลายหายไปในไม่ช้า จึงจะขอบันทึกประวัติความเป็นมาของสะพานทั้งสามเท่าที่จะค้นคว้าได้ไว้ ณ ที่นี้ </p>\n<p>               <strong>สะพานเสี้ยว</strong> เป็นสะพานข้ามคลองคูเมือง บริเวณสะพานผ่านพิภพลีลาในปัจจุบัน ชื่อสะพานเรียกตามลักษณะของสะพานซึ่งมีรูปเสี้ยวเหมือนขนมเปียกปูนสมัยโบราณ แม้ต่อมาจะได้มีการซ่อมแซมเปลี่ยนแปลงรูปร่างของสะพานเสียใหม่หลายครั้งหลายหนแต่ก้ยังคงชื่อสะพานไว้เช่นเดิม<br />\n               จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมกล้าเจ้าอยู่หัว ประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๔ ครั้งโปรดให้สร้างสะพานผ่านพิภพลีลาขึ้นบริเวณที่เป็นสะพานเสี้ยว จึงโปรดให้ย้ายสะพานเสี้ยวไปอยู่ด้านเหนือ ตรงกับถนนจักรพงษ์ ใกล้ๆ สะพานผ่านพิภพลีลานั่นเอง<br />\n               ในสมัยที่กรุงเพฯ ยังมีรถรางอยู่นั้น สะพานเสี้ยวได้กลายเป็นเส้นทางสำหรับรถรางวิ่งข้ามคลองคูเมืองเดิม จนกิจการรถรางเลิก สะพานเสี้ยวจึงกลับมาเป็นสะพานคนเดิมข้ามอีกครั้ง และได้รื้อออกเมื่อครั้งสร้างสะพานพระปิ่นเกล้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ในครั้งนั้นเองที่ทั้งชื่อสะพานและตัวสะพานได้สูญสลายหายไปจากสายตาและกำลังจะหายไปจากความทรงจำของคนกรุงเทพฯ ในไม่ช้า</p>\n<p>               <strong>สะพานเหล็ก</strong> ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการพัฒนาการสร้างสะพานทั้งวัสดุที่ใช้สร้างและรูปทรงของสะพาน สะพานที่นับว่าแปลกใหม่ที่สุดในสมัยนั้นทั้งวัสดุและรูปทรงก็คือ สะพานที่สร้างด้วยแหล็ก ลักษณะพิเศษคือเป็นสะพานที่มีโครงทำด้วยแหล็ก ส่วนเสาคานและพื้นยังคงเป็นเครื่องไม้อยู่ ใต้พื้นสะพานมีล้ออยู่บนรางเหล็ก สำหรับแยกสะพานออกจากกันให้เรือแล่นผ่าน เมื่อสะพานเหล็กสร้างเสร็จใหม่ๆ นั้น เป็นที่โจษขานกันถึงความแปลกใหม่ มีผู้คนจากที่ต่างๆ พากันเดินทางมาชมความแปลกใหม่ของสะพานนี้เป็นจำนวนมากทุกวัน<br />\n               เท่าที่มีหลักฐานปรากฏ สะพานเหล็กรุ่นแรกมี ๒ สะพานคือ สะพานเหล็กข้ามคลองรอบกรุงเทพฯ บริเวณคลองโอ่งอ่างสะพานหนึ่ง เรียกกันทั่วไปว่า “สะพานเหล็กบน” ภายหลังโปรดพระราชทานนามว่า “สะพานดำรงสถิตย์” สะพานเหล็กอีกสะพานหนึ่งเป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม บริเวณป้อมปิดปัจจนึก ชาวบ้านเรียกกันว่า “สะพานเหล็กล่าง” ซึ่งต่อมาโปรดพระราชทานนามว่า “สะพานพิทยเสถียร” <br />\n               ครั้นเวลาผ่านไป สะพานเหล็กชำรุดทรุดโทรมลง สะพานที่สร้างขึ้นแบบสะพานเหล็กได้กลายเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก และเหล็กก็มิใช่วัสดุที่แปลกใหม่อีกต่อไป ชื่อสะพานเหล็กจึงค่อยๆ ห่างหายไปจากความทรงจำของคนทั่วไป</p>\n<p>               <strong>สะพานโค้ง</strong> สะพานโค้งเป็นชื่อของสะพานที่คนทั่วไปเรียกตามลักษณะรูปทรงของสะพาน ซึ่งแตกต่างจากสะพานอื่นๆ คือมีโครงเหล็กสูงโปร่งเป็นรูปโค้งอยู่เหนือตัวสะพาน ซึ่งก็มีรูปร่างโค้งสูงตามโครงเหล็กด้านบน ทั้งนี้เพื่อให้เรือสามารถลอดผ่านได้<br />\n               สะพานชนิดที่เรียกกันว่าสะพานโค้งนี้ เท่าที่ปรากฏหลักฐานมีอยู่ ๒ สะพานคือ สะพานข้ามคลองที่บางลำพู มืชื่อทางราชการว่า “สะพานนรรัตนสถาน” และสะพานโค้งข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่หัวลำโพง มีชื่อว่า “สะพานสุประดิษฐ” ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น “สะพานเจริญสวัสดิ์”<br />\n               ปัจจุบันสะพานที่มีรูปทรงอย่างที่เรียกกันว่าสะพานโค้งนี้ ไม่มีเหลืออยู่ในกรุงเทพฯมหานครแม้แต่เพียงแห่งเดียว เพราะเมื่อสะพานชำรุดทรุดโทรม  ได้รับการซ่อมแซมใหม่ ก็จะกลายเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กรูปร่างคล้ายคลึงกันเป็นส่วนมาก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726788632, expire = 1726875032, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0fb84787a6b446be241a4cc107156e79' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มาย้อนประวัติศาสตร์ และเรียนรู้ที่มาของชื่อ "สะพานเสี้ยว สะพานเหล้ก และสะพานโค้ง" กันเถอะค่ะ"!

รูปภาพของ sss27446

 

                                                  

      
     
 

สะพานเสี้ยว สะพานเหล็ก สะพานโค้ง

               สะพานทั้งสามสะพานนี้ ปัจจุบันไม่ปรากฎทั้งชื่อและตัวสะพานหรือแม้แต่ความทรงจำเกี่ยวกับเรื่องราวของสะพานนี้ก็กำลังจะสูญสลายหายไปในไม่ช้า จึงจะขอบันทึกประวัติความเป็นมาของสะพานทั้งสามเท่าที่จะค้นคว้าได้ไว้ ณ ที่นี้

               สะพานเสี้ยว เป็นสะพานข้ามคลองคูเมือง บริเวณสะพานผ่านพิภพลีลาในปัจจุบัน ชื่อสะพานเรียกตามลักษณะของสะพานซึ่งมีรูปเสี้ยวเหมือนขนมเปียกปูนสมัยโบราณ แม้ต่อมาจะได้มีการซ่อมแซมเปลี่ยนแปลงรูปร่างของสะพานเสียใหม่หลายครั้งหลายหนแต่ก้ยังคงชื่อสะพานไว้เช่นเดิม
               จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมกล้าเจ้าอยู่หัว ประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๔ ครั้งโปรดให้สร้างสะพานผ่านพิภพลีลาขึ้นบริเวณที่เป็นสะพานเสี้ยว จึงโปรดให้ย้ายสะพานเสี้ยวไปอยู่ด้านเหนือ ตรงกับถนนจักรพงษ์ ใกล้ๆ สะพานผ่านพิภพลีลานั่นเอง
               ในสมัยที่กรุงเพฯ ยังมีรถรางอยู่นั้น สะพานเสี้ยวได้กลายเป็นเส้นทางสำหรับรถรางวิ่งข้ามคลองคูเมืองเดิม จนกิจการรถรางเลิก สะพานเสี้ยวจึงกลับมาเป็นสะพานคนเดิมข้ามอีกครั้ง และได้รื้อออกเมื่อครั้งสร้างสะพานพระปิ่นเกล้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ในครั้งนั้นเองที่ทั้งชื่อสะพานและตัวสะพานได้สูญสลายหายไปจากสายตาและกำลังจะหายไปจากความทรงจำของคนกรุงเทพฯ ในไม่ช้า

               สะพานเหล็ก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการพัฒนาการสร้างสะพานทั้งวัสดุที่ใช้สร้างและรูปทรงของสะพาน สะพานที่นับว่าแปลกใหม่ที่สุดในสมัยนั้นทั้งวัสดุและรูปทรงก็คือ สะพานที่สร้างด้วยแหล็ก ลักษณะพิเศษคือเป็นสะพานที่มีโครงทำด้วยแหล็ก ส่วนเสาคานและพื้นยังคงเป็นเครื่องไม้อยู่ ใต้พื้นสะพานมีล้ออยู่บนรางเหล็ก สำหรับแยกสะพานออกจากกันให้เรือแล่นผ่าน เมื่อสะพานเหล็กสร้างเสร็จใหม่ๆ นั้น เป็นที่โจษขานกันถึงความแปลกใหม่ มีผู้คนจากที่ต่างๆ พากันเดินทางมาชมความแปลกใหม่ของสะพานนี้เป็นจำนวนมากทุกวัน
               เท่าที่มีหลักฐานปรากฏ สะพานเหล็กรุ่นแรกมี ๒ สะพานคือ สะพานเหล็กข้ามคลองรอบกรุงเทพฯ บริเวณคลองโอ่งอ่างสะพานหนึ่ง เรียกกันทั่วไปว่า “สะพานเหล็กบน” ภายหลังโปรดพระราชทานนามว่า “สะพานดำรงสถิตย์” สะพานเหล็กอีกสะพานหนึ่งเป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม บริเวณป้อมปิดปัจจนึก ชาวบ้านเรียกกันว่า “สะพานเหล็กล่าง” ซึ่งต่อมาโปรดพระราชทานนามว่า “สะพานพิทยเสถียร”
               ครั้นเวลาผ่านไป สะพานเหล็กชำรุดทรุดโทรมลง สะพานที่สร้างขึ้นแบบสะพานเหล็กได้กลายเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก และเหล็กก็มิใช่วัสดุที่แปลกใหม่อีกต่อไป ชื่อสะพานเหล็กจึงค่อยๆ ห่างหายไปจากความทรงจำของคนทั่วไป

               สะพานโค้ง สะพานโค้งเป็นชื่อของสะพานที่คนทั่วไปเรียกตามลักษณะรูปทรงของสะพาน ซึ่งแตกต่างจากสะพานอื่นๆ คือมีโครงเหล็กสูงโปร่งเป็นรูปโค้งอยู่เหนือตัวสะพาน ซึ่งก็มีรูปร่างโค้งสูงตามโครงเหล็กด้านบน ทั้งนี้เพื่อให้เรือสามารถลอดผ่านได้
               สะพานชนิดที่เรียกกันว่าสะพานโค้งนี้ เท่าที่ปรากฏหลักฐานมีอยู่ ๒ สะพานคือ สะพานข้ามคลองที่บางลำพู มืชื่อทางราชการว่า “สะพานนรรัตนสถาน” และสะพานโค้งข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่หัวลำโพง มีชื่อว่า “สะพานสุประดิษฐ” ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น “สะพานเจริญสวัสดิ์”
               ปัจจุบันสะพานที่มีรูปทรงอย่างที่เรียกกันว่าสะพานโค้งนี้ ไม่มีเหลืออยู่ในกรุงเทพฯมหานครแม้แต่เพียงแห่งเดียว เพราะเมื่อสะพานชำรุดทรุดโทรม  ได้รับการซ่อมแซมใหม่ ก็จะกลายเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กรูปร่างคล้ายคลึงกันเป็นส่วนมาก

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 423 คน กำลังออนไลน์