• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6908193007fb5ee7c80e2f61117c8496' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"235\" width=\"600\" src=\"/files/u30440/888.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff3366\"><span style=\"color: #ff00ff\">เราแบ่งกลไกการถ่ายเทความร้อนออกเป็น 3 ชนิดคือ การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสี แต่ทว่าในความเป็นจริง การถ่ายเทความร้อนทั้งสามชนิดอาจเกิดขึ้นพร้อมๆ กันอย่างแยกไม่ออก<br />\n          <span style=\"background-color: #999999\"> การนำความร้อน (Conduction)</span> เป็นการถ่ายเทความร้อนจากโมเลกุลไปสู่อีกโมเลกุลหนึ่งซึ่งอยู่ติดกันไปเรื่อยๆ จากอุณหภูมิสูงไปสู่อุณหภูมิต่ำ ยกตัวอย่างเช่น หากเราจับทัพพีในหม้อหุงข้าว ความร้อนจะเคลื่อนที่ผ่านทัพพีมายังมือของเรา ทำให้เรารู้สึกร้อน โลหะเป็นตัวนำความร้อนที่ดี อโลหะและอากาศเป็นตัวนำความร้อนที่เลว <br />\n           <span style=\"background-color: #999999\">การพาความร้อน (Convection)</span> เป็นการถ่ายเทความร้อนด้วยการเคลื่อนที่ของอะตอมและโมเลกุลของสสารซึ่งมีสถานะเป็นของเหลวและก๊าซ ส่วนของแข็งนั้นจะมีการถ่ายเทความร้อนด้วยการนำความร้อน และการแผ่รังสีเท่านั้น การพาความร้อนจึงมากมักเกิดขึ้นในบรรยากาศ และมหาสมุทร รวมทั้งภายในโลก และดวงอาทิตย์ </span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff3366\"><span style=\"color: #ff00ff\">          <span style=\"background-color: #999999\">การแผ่รังสี (Radiation)</span> เป็นการถ่ายเทความร้อนออกรอบตัวทุกทิศทุกทาง โดยมิต้องอาศัยตัวกลางในการส่งถ่ายพลังงาน ดังเช่น การนำความร้อน และการพาความร้อน การแผ่รังสีสามารถถ่ายเทความร้อนผ่านอวกาศได้ วัตถุทุกชนิดที่มีอุณหภูมิสูงกว่า -273?C หรือ 0 K (เคลวิน) ย่อมมีการแผ่รังสี วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงแผ่รังสีคลื่นสั้น วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำแผ่รังสีคลื่นยาว<br />\n</span><span style=\"color: #008080\">เครื่องยนต์เสตอร์ลิง  เครื่องยนต์เสตอร์ลิง ประดิษฐ์โดย โรเบิร์ต เสตอร์ลิง (Robert Stirling)(1790-1878)ในปี 1816 และได้รับสิทธิบัตร ในปี 1817</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff3366\"><span style=\"color: #008080\">เครื่องยนต์เสตอร์ลิงทำงานโดยอาศัยหลักการ อากาศร้อนขยายตัว อากาศเย็นหดตัว ดังนั้นถ้าเราทำให้อากาศภายในกระบอกสูบร้อนแล้วเย็น สลับกัน ลูกสูบก็จะเคลื่อนที่ไปมา สามารถแปลงเป็นพลังงานกลได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff3366\"><span style=\"color: #008080\">เครื่องยนต์เสตอร์ลิงมี 2 แบบ คือ แบบมีสองลูกสูบ กับ แบบสูบเดียวและใช้ฉนวนกั้นอากาศ(displacer piston)แทนลูกสูบอันที่สอง แบบที่แสดงข้างบนเป็นแบบลูกสูบเดียว</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff3366\">                                                                       </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff3366\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff3366\"><strong><u><span style=\"background-color: #99cc00\">ส่วนต่างๆของเครื่องยนต์เสตอร์ลิง<br />\n</span></u></strong>  <br />\n          </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff3366\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff3366\">                                                                        </span><a href=\"/node/76030\"><span style=\"color: #ff3366\">   </span></a></span><span style=\"background-color: #999999; color: #3366ff\"><a href=\"/node/76030\"><span style=\"color: #ff3366\">     กลับไปหน้าหลัก</span></a>   </span>\n</p>\n', created = 1727670925, expire = 1727757325, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6908193007fb5ee7c80e2f61117c8496' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กลไกการถ่ายเทความร้อน

รูปภาพของ sss27863

 

เราแบ่งกลไกการถ่ายเทความร้อนออกเป็น 3 ชนิดคือ การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสี แต่ทว่าในความเป็นจริง การถ่ายเทความร้อนทั้งสามชนิดอาจเกิดขึ้นพร้อมๆ กันอย่างแยกไม่ออก
           การนำความร้อน (Conduction) เป็นการถ่ายเทความร้อนจากโมเลกุลไปสู่อีกโมเลกุลหนึ่งซึ่งอยู่ติดกันไปเรื่อยๆ จากอุณหภูมิสูงไปสู่อุณหภูมิต่ำ ยกตัวอย่างเช่น หากเราจับทัพพีในหม้อหุงข้าว ความร้อนจะเคลื่อนที่ผ่านทัพพีมายังมือของเรา ทำให้เรารู้สึกร้อน โลหะเป็นตัวนำความร้อนที่ดี อโลหะและอากาศเป็นตัวนำความร้อนที่เลว
           การพาความร้อน (Convection) เป็นการถ่ายเทความร้อนด้วยการเคลื่อนที่ของอะตอมและโมเลกุลของสสารซึ่งมีสถานะเป็นของเหลวและก๊าซ ส่วนของแข็งนั้นจะมีการถ่ายเทความร้อนด้วยการนำความร้อน และการแผ่รังสีเท่านั้น การพาความร้อนจึงมากมักเกิดขึ้นในบรรยากาศ และมหาสมุทร รวมทั้งภายในโลก และดวงอาทิตย์ 

          การแผ่รังสี (Radiation) เป็นการถ่ายเทความร้อนออกรอบตัวทุกทิศทุกทาง โดยมิต้องอาศัยตัวกลางในการส่งถ่ายพลังงาน ดังเช่น การนำความร้อน และการพาความร้อน การแผ่รังสีสามารถถ่ายเทความร้อนผ่านอวกาศได้ วัตถุทุกชนิดที่มีอุณหภูมิสูงกว่า -273?C หรือ 0 K (เคลวิน) ย่อมมีการแผ่รังสี วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงแผ่รังสีคลื่นสั้น วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำแผ่รังสีคลื่นยาว
เครื่องยนต์เสตอร์ลิง  เครื่องยนต์เสตอร์ลิง ประดิษฐ์โดย โรเบิร์ต เสตอร์ลิง (Robert Stirling)(1790-1878)ในปี 1816 และได้รับสิทธิบัตร ในปี 1817

เครื่องยนต์เสตอร์ลิงทำงานโดยอาศัยหลักการ อากาศร้อนขยายตัว อากาศเย็นหดตัว ดังนั้นถ้าเราทำให้อากาศภายในกระบอกสูบร้อนแล้วเย็น สลับกัน ลูกสูบก็จะเคลื่อนที่ไปมา สามารถแปลงเป็นพลังงานกลได้

เครื่องยนต์เสตอร์ลิงมี 2 แบบ คือ แบบมีสองลูกสูบ กับ แบบสูบเดียวและใช้ฉนวนกั้นอากาศ(displacer piston)แทนลูกสูบอันที่สอง แบบที่แสดงข้างบนเป็นแบบลูกสูบเดียว

                                                                       

ส่วนต่างๆของเครื่องยนต์เสตอร์ลิง
  
         

                                                                                กลับไปหน้าหลัก  

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 406 คน กำลังออนไลน์