• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:415a54d4beb7071f153a3b4c6ba12146' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">ศีลอภัยบาป (Penance)<br />\n <br />\n            ศีลอภัยบาป (Penance) หรือศีลสารภาพบาป (Confession) เป็นการคืนดีกับพระและเพื่อนพี่น้อง มีความเสียใจและตั้งใจที่จะกลับคืนดี เริ่มต้นชีวิตใหม่ในพระหรรษทานของพระเจ้า </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800080\">       พิธีกรรม<br />\n <br />\n             ศีลในข้อนี้เป็นการยกบาปที่ได้กระทำแล้ว หลังจากที่ทำการรับศีลล้างบาปมาแล้วผู้ที่มีอำนาจยกบาปให้ได้ต้องเป็นผู้ที่มีีตำแหน่งระดับบิชอป ( Bishop )หรือบาทหลวงที่ได้รับมอบอำนาจจากบิชอป ถ้ายังชำระหรือชดใช้ไม่หมดก็ต้องไปใช้ในโลกหน้าในแดนชำระ ผู้ที่จะเข้ารับศีลมหาสนิทหากมีบาปอยู่ต้องแก้บาปก่อน จึงจะเข้ารับศีลมหาสนิทได้ โดยการบอกบาปของตนแก่บาทหลวงเพื่อว่าท่านจะได้ยกบาปให้ ในการสารภาพบาปนี้นิยมกระทำในห้องเล็ก ๆ ซึ่งจัดไว้ด้านข้างของโบสถ์ ภายในห้องเล็กมีม่านหรือฉากกั้นกลาง บางแห่งทำเป็นฝาปรุไว้เพื่อให้ได้ยินเสียงโดยไม่จำเป็นต้องเห็นหน้าผู้สารภาพบาป ผู้สารภาพบาปและบาทหลวงจะเข้ามาคนละด้านของห้อง เมื่อสารภาพแล้วบาทหลวงคาทอลิค จะกล่าวว่า  &quot;พระจิตได้รับบาปของท่านแล้ว บาปที่ท่านทำให้แก่ผู้อื่นก็ได้ยกโทษให้แล้ว&quot; หลังจากนั้นผู้สารภาพแล้วจะต้องพยายามไม่ทำบาปที่ตนทำไว้  และจะต้องตั้งใจมั่นที่จะไม่กระทำผิดต่อพระเจ้าอีกต่อไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">        ความสำคัญ<br />\n <br />\n               การชดใช้บาปนั้น อาจารย์กีรติ บุญเจือ (2530 : 97) ได้กล่าวว่า เป็นการเสริมแต่งคุณภาพชีวิตเพื่อให้ชีวิตพระเจ้าพัฒนายิ่งขึ้นตามลำดับทั้งในตนเองและผู้อื่น กิจการชดใช้บาปที่บาทหลวง กำหนดนั้น อาจเป็นการสวดบทบางบท หรือให้ทำดีอะไรบางอย่างตามแต่สะดวกและใจรัก  แต่ถ้าเป็นการชดใช้ความเสียหายแก่เพื่อนมนุษย์จะต้องชดใช้ให้อย่างยุติธรรม มิฉะนั้นจะไม่พ้นบาปได้ การชดใช้บาป จึงเป็นการเปิดประตูเข้าสู่ชีวิตใหม่ที่ตนเองจะต้องวางแผนชีวิตโดยอาศัยคำแนะนำจากผู้รู้เพื่อให้ชีวิตของตนนั้น สามารถพัฒนาก้าวหน้าต่อไปไม่หยุดยั้ง<br />\nในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินไม่อาจสารภาพบาปเป็นส่วนตัวได้ เช่น คนไข้ พูดไม่ได้ เครื่องบินกำลังตก เรือกำลังล่ม หรือกำลังติดอยู่ในตึกที่ไฟไหม้ บาทหลวงจะอภัยบาปให้ ทันที คนที่อยู่ในสภาพจำเป็นนี้หากมีบาปแม้แต่นิดเดียวก็ได้รับการอภัยบาปทันทีโดยไม่ต้องมีพิธีอะไรเพิ่ม<br />\nแต่ถ้ารอดชีวิตไปได้และมีโอกาสสารภาพบาปได้เมื่อใด จะต้องสารภาพทันทีกับบาทหลวงรูปใดก็ได้ทั้งนั้น  ผลของศีลอภัยบาปคือ ทำให้ผู้รับได้กลับคืนดีกับพระ และอยู่ในชีวิตพระหรรษทาน สำนึกถึงความรักของพระ และตั้งใจที่จะปรับปรุงแก้ไข เริ่มต้นใหม่ให้สมกับความเป็นลูกของพระในความครบครัน เป็นอิสระจากบาป  มีความบริสุทธิ์ และมีสันติในจิต </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">        ประวัติความเป็นมา<br />\n <br />\n                 พิธีสารภาพบาปนี้ ได้แบบอย่างมาจากพระจริยวัตรของพระเยซูเมื่อครั้งไปรักษาโรคให้แก่คนเป็นโรคเรื้อนและคนตาบอด คนเหล่านี้เมื่อได้รับการอภัยโทษจากพระเยซูแล้วก็หายจากโรคร้ายและคนตาบอดได้กลายเป็นคนตาดี การรักษาโรคของพระเยซู ก็คือ การใช้อำนาจจิตที่เต็มไปด้วยความรักและความเมตตาอันยิ่งใหญ่แก่คนทุกข์ยากเหล่านั้น เพราะพวกเขาเป็นผู้ที่มีบาปอันกระทำไว้แล้ว จึงถูกพระเจ้าลงโทษและพระเยซูซึ่งเป็นพระเจ้าตามความเชื่อของชาวคริสต์สามารถยกบาปให้ได้เพียงกล่าวแก่คนบาปเหล่านั้นว่า บาปของเจ้า เราได้ยกโทษให้แล้ว นับแต่นั้นมาการสารภาพบาปเป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ที่มีความสำคัญยิ่ง  ศีลอภัยบาป เป็นศีลที่อภัยบาปของมนุษย์ เมื่อได้ทำผิดพลาดไป ไม่ว่าจะหนักหนาแค่ไหน  เพื่อจะได้เริ่มต้นชีวิตใหม่ ตามที่สัญญาไว้ในตอนรับศีลล้างบาป พระศาสนจักรได้รับอำนาจยกบาปจากพระเยซูเจ้า เมื่อพระองค์ตรัสกับนักบุญเปโตรว่า &quot;เปโตร ท่านคือศิลา  บนศิลานี้เราจะสร้างศาสนจักรของเราไว้ แม้แต่ความตายก็ไม่อาจจะเอาชนะศาสนจักรของเราได้เราจะมอบกุญแจเข้าอาณาของพระเจ้าให้ท่านไว้ สิ่งใดที่ท่านห้ามในโลกนี้ก็จะถูกห้ามในสวรรค์  และสิ่งใดที่ท่านอนุญาตในโลกนี้ก็จะได้รับอนุญาตบนสวรรค์ด้วย&quot; (มธ.16:16-20 , ยน.20:19-23) </span>\n</p>\n<p>\n                                                               <img height=\"30\" width=\"220\" src=\"/files/u30555/2_20_73_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 295px; height: 49px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">ศีลเจิมคนไข้ (Anointing of the Sick) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">           ศีลเจิมคนไข้เป็นศีลที่โปรดให้สำหรับผู้ป่วยที่อ่อนกำลัง ในสภาพที่น่าเป็นห่วง หรือกำลังจะสิ้นใจเพื่อเขาจะได้รับพระหรรษทานในยามเจ็บป่วย และเป็นการเตรียมจิตใจให้ยึดมั่นใน ความเชื่อและเพื่อการฟื้นฟูสภาพทั้งกายและจิตใจ </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800000\">        พิธีกรรม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">            พิธีกรรมมีเครื่องหมายสำคัญคือ การเจิมน้ำมันที่หน้าผาก และฝ่ามือทั้งสองข้างคนไข้ที่จะรับศีลเจิมนี้ส่วนมากเป็นพวกอยู่ในขั้นร้ายแรง บาทหลวงจะเป็นผู้ทำพิธีกรรมโดยเริ่มตั้งแต่อ่านบทอ่านจากพระคัมภีร์เทศน์เตือนใจ ปกมือศีรษะคนไข้แล้วเสกน้ำมันเจิมน้ำมันที่หน้าผากและมือ หรืออาจเพิ่มเติมในที่อื่น ๆ แล้วแต่ความเหมาะสม แต่ถ้าคนไข้ตายแล้วบาทหลวงจะไม่ประกอบพิธีนอกจากสวดภาวนาขอพระเจ้าอภัยบาปให้ ผู้ที่รับศีลนี้มีความเชื่อว่าจะได้รับพระหรรษทาน และเข้มแข็งมั่นคงในความเชื่อ พร้อมที่จะยอมรับความเจ็บปวด และเห็นถึงพระพรในยามเจ็บป่วย มีส่วนร่วมในพระทรมาน และการกลับคืนชีพของพระคริสตเจ้า ดังนั้น ควรจะให้ผู้ป่วยได้รับในขณะที่รู้ตัว เพื่อการเตรียมจิตใจได้อย่างดี ทั้งนี้ผู้รับก็จะสามารถรับศีลอภัย และศีลมหาสนิท ซึ่งถือว่าเป็นศีลเสบียงที่ให้สำหรับผู้ป่วยเพื่อเป็นการเตรียมกลับไปหาพระเป็นเจ้าในสภาพของชีวิตพระหรรษ ทานและในความพร้อมของผู้ป่วย </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800000\">      ความสำคัญ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">             ศีลเจิมคนไข้เป็นศีลที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับสุขภาพดีคืนมา หรือรับการยกบาป ตามที่นักบุญยากอบเขียนไว้ว่า &quot;มีใครในพวกท่านป่วยหรือ ? เขาควรจะเชิญผู้อาวุโสในศาสนจักรมาอธิษฐานเพื่อเขาแล้วให้ผู้อาวุโสนั้นชโลมน้ำมันให้ในนามพระเจ้า คำอธิฐานที่กล่าวมาด้วยความเชื่อจะช่วยคนป่วยได้ พระเจ้าจะให้เขากลับมีสุขภาพดีดังเดิม  และจะทรงอภัยบาปที่ได้กระทำไปแล้ว ฉะนั้น จงสารภาพบาปต่อกันและอธิฐานเพื่อกัน เพื่อท่านจะได้หายโรค  คำอธิฐานของคนดีมีพลังยิ่งนัก&quot; </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800000\">       ประวัติความเป็นมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">             แต่เดิมมาสาวกของพระเยซูได้รักษาคนไข้โดยใช้น้ำมันชโลมเพื่อให้หายจากไข้ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  พิธีชโลมน้ำมันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Unction) ซึ่งคุณพ่อบาทหลวงผู้ทำพิธี  อย่างไรก็ตามคนไข้ที่จะทำศีลเจิมนี้ ส่วนมากเป็นพวกที่กำลังจะตายหรือเจ็บหนัก  การทำพิธีนี้จะช่วยฟื้นฟูจิตใจของพวกเขาให้ระลึกถึงพระเยซูคริสต์ที่สามารถชนะความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมาน </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                                  <img height=\"29\" width=\"323\" src=\"/files/u30555/2_20_105_.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">ศีลสมรส (Martrimony) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">             ศีลศักดิ์สิทธิ์ในข้อนี้อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า&quot;พิธีรับศีลกล่าว&quot;เป็นศีลที่ใช้ในการประกาศความรักที่ ชายและหญิงมีต่อกัน ต่อหน้าพระพักตร์ของพระเจ้า และพร้อมที่จะกล่าวประกาศว่าเขาทั้งสองรักกัน ด้วยความสมัครใจ มีอิสระอย่างเต็มที่ โดยไม่ได้ถูกบังคับ และพร้อมที่จะร่วมชีวิตคู่ เพื่อเป็นของกันและกัน เป็นหนึ่งเดียวในความรักที่หย่าร้างไม่ได้ ที่จะซื่อสัตย์ต่อกันจนตลอดชีวิต เพื่อเป็นเครื่องหมาย เป็นพยานถึงความรักของพระ และพร้อมที่จะมอบครอบครัวใหม่ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของพระ และอนาคตของลูกหลานซึ่งพระเจ้าให้มา และเด็กที่เกิดมาเหล่านี้จะต้องถูกนำมาประกาศความเป็น สัตบุรุษโดยการรับศีลล้างบาป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">       พิธีกรรม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">               พิธีกรรมมีเครื่องหมายสำคัญคือ คำกล่าวของคู่บ่าวสาว ต่อหน้าพระสงฆ์ผู้แทนของพระศาสนจักรรวมทั้งบรรดาสักขีพยาน ว่าเขาทั้งสองรักกันและจะซื่อสัตย์ต่อกันจนกว่าชีวิตจะหาไม่พิธีส่วนใหญ่ประกอบกันในโบสถ์ พร้อมกับทำพิธีมิซซาด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">       ความสำคัญ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">               ศีลกล่าวจัดเป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ที่รวมชาย หญิง สองคนเป็นหนึ่งเดียวกันและเป็นการสัญญาต่อกันว่าจะมีความรัก ความซื่อสัตย์ต่อกัน ช่วยกันสร้างครอบครัวของชาวคริสต์ให้สมบูรณ์ และการหย่าร้างเป็นเรื่องร้ายแรง เป็นสิ่งต้องห้ามอย่างเด็ดขาดนอกเสียจากมีเหตุจำเป็นดังนั้นการแต่งงานจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อคู่สมรสทั้งสองมีความสมัครใจที่จะแต่งงานกัน ไม่มีอุปสรรคมาขัดขวางทำให้การแต่งงานเป็นโมฆะและจะต้องกระทำพิธีต่อหน้าคุณพ่ออธิการหรือผู้แทนและต่อหน้าสักขีพยานอีก 2 คน ในการทำพิธีนี้ต้องสาบานว่าจะสัตย์ซื่อต่อกัน และช่วยเหลือกันตลอดชีวิต   ศีลสมรส เป็นศีลที่คู่บ่าวสาวได้แสดงความรักและสมัครใจ ต่อหน้าพระศาสนจักรว่า จะรัก ยกย่องให้เกียรติแก่กันและกัน และใช้ชีวิตร่วมกันฉันสามีภรรยาจนกว่าชีวิตจะหาไม่  โดยไม่ถูกบังคับหรือมีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น  ผลของศีลสมรส ทำให้คู่บ่าวสาวเป็นสามีภรรยาอย่างถูกต้องต่อหน้าพระ และต่อพระศาสนจักร  อยู่ในชีวิตพระหรรษทาน และเป็นครอบครัวคริสตชนใหม่ที่พร้อมจะให้กำเนิดบุตร อบรมเลี้ยงดู ในชีวิตคริสตชน เป็นพยานประกาศความรักของพระในความสมบูรณ์ครบครันของชีวิตครอบครัวของเขาเพื่อช่วยกันและกันในความบกพร่อง  หรือที่ขาดไปให้แก่กันและกัน  ทั้งนี้คู่บ่าวสาวจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของพระศาสนจักรเพื่อความดีและความรอดของวิญญาน </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">        ประวัติความเป็นมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">                  พระเยซูเจ้าได้ตรัสสอนเกี่ยวกับการสมรสว่า... &quot;แรกเริ่มเดิมทีนั้นพระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ขึ้น เป็นชายและหญิง เพราะเหตุนี้ชายจะละบิดามารดาของเขาไปผูกพันอยู่กับภรรยา และทั้งสองจะเป็นดุจคน ๆ เดียวกัน  ดังนั้น...มนุษย์ต้องไม่แยกสิ่งที่พระเจ้าทรงผูกพันเข้าด้วยกัน...ถ้าชายใดหย่าภรรยาของตน...ชายนั้นไปแต่งงานใหม่ เขาก็ผิดประเวณี&quot; (มธ.19:1-9) ดังนั้น เมื่อรับศีลนี้แล้วจะหย่าแล้วแต่งงานใหม่ไม่ได้<br />\nจนกว่าฝ่ายหนึ่งจะตายจากไป </span>\n</p>\n<p>\n                  <img height=\"56\" width=\"600\" src=\"/files/u30555/2_20_173_.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">ศีลบวชเป็นพระสงฆ์ (Ordination) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">             ศีลบวชเป็นพระสงฆ์นี้ ผู้ที่จะสมัครบวช หรือถวายตัวแด่พระ เป็นพระพรแห่งกระแสเรียกที่พระทรงเรียกและเลือกบุคคลหนึ่งให้ดำเนินชีวิต และมีภารกิจในการเป็นศาสนบริการ ผู้แทนสงฆ์ของพระคริสตเจ้าในการประกาศสอนคำสอน การประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ และการปกครองดูแลคริสตชน </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #003366\">      พิธีกรรม<br />\n              </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">               พิธีกรรมมีเครื่องหมายที่สำคัญคือ การปกมือของพระสังฆราชเหนือผู้รับศีลบวช ตลอดจนการเจิมน้ำมันคริสมาเพื่อเป็นเครื่องหมายถึงการประทานองค์พระจิตเจ้า เป็นการอภิเษก และมอบอำนาจของการเป็นสงฆ์แห่งศาสนบริกรเพื่อสานต่องานของพระคริสตเจ้า และการถูกส่งไปเพื่อรับใช้เป็นผู้ประกาศข่าวดีแห่งความรอด ศีลบวช มีลำดับ3 ขั้น คือ พระสังฆราช พระสงฆ์ และสังฆานุกร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">        ความสำคัญ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">               ศีลบวชนี้จะเกี่ยวข้องกับการบวชเป็นพิธีใหญ่ที่คุณพ่ออธิการจะต้องกระทำให้แก่ผู้ประสงค์เข้ามาบวชอันเป็นการมอบอำนาจให้<br />\nทำหน้าที่นักบวชต่อไป พิธีนี้เข้าใจว่าน่าจะกระทำขึ้นมาในภายหลังเพื่อให้เป็นระบบมากขึ้น แต่เดิมมาการบวชจึงเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์และยิ่งใหญ่สำหรับสัตบุรุษคาทอลิคซึ่งบวชได้เพียงครั้งเดียวในชีวิตต้องตัดสินใจให้รอบคอบก่อน เพราะจะไม่มีการบวชเป็นครั้งที่สองผู้บวชเมื่อบวชแล้วจะมีหน้าที่พิเศษที่แตกต่างจากคนทั่วไปเพราะเชื่อกันว่าเป็นผู้ได้รับพระหรรษทานพิเศษที่แตกต่างจากคนทั่วไป คือ ได้รับพระหรรษทานพิเศษจากพระจิตเจ้าดังนั้นพวกท่านเหล่านี้จึงสามารถประกอบพิธีกรรมในศาสนา การโปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ คำสอนและการสวดบทสวดประจำวัน   พระสงฆ์หรือบาทหลวง มีหน้าที่ปกครองสัตบุรุษในเขตวัดที่ได้รับมอบหมายจากพระสังฆราชมีหน้าที่ให้การอภิบาลสัตบุรุษโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านศีลศักดิ์สิทธิ์สอนคำสอนของพระศาสนจักรและถวายบูชามิสซา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">            ประวัติความเป็นมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">                พระเยซูทรงเลือกสาวก 12 คน เท่ากับจำนวนตระกูลอิสราเอล 12 ตระกูล จึงเท่ากับว่าสาวกทั้ง 12คนนี้เป็นต้นกำเนิดของ ประชากรใหม่ของพระเจ้าเพื่อช่วยพระเยซูคริสต์ในการประกาศอาณาจักรแต่ก่อนมาในสมัยของพระเยซูคริสต์ยังไม่มีการบวชถ้าจะเลือกใครเป็นสาวกก็กระทำขึ้นมาโดยไม่มีพิธีรีตองแต่การบวชที่ปรากฏในปัจจุบันนั้นเป็นสิ่งที่เริ่มกันขึ้นมาเองในภายหลังเพื่อความเป็นระบบและเพื่อเป็นเครื่องเตือนย้ำผู้บวชให้ตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องนำพาชีวิตจำนวนมากให้ถึงซึ่งความรอดศีลบวชเป็นพระสงฆ์ เป็นศีลที่พระศาสนาจักรเจิมให้ผู้ที่ได้รับการอบรมมาดีแล้วเป็นพระสงฆ์เพื่อรับใช้พระศาสนจักรตามที่พระเยซูเจ้าได้สั่งสอนไว้ &quot;กษัตริย์ในโลกนี้มีอำนาจเหนือประชากรของเขาแต่พวกท่านต้องไม่เป็นเช่นนั้น ผู้นำตัองรับใช้ปวงชนเหมือนอย่างที่เรามาอยู่ท่ามกลางพวกท่านดังผู้รับใช้&quot; (ลก.22:24-27; เทียบ ยน.13:13-14) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\"></span>\n</p>\n<p>\n                <img height=\"138\" width=\"600\" src=\"/files/u30555/11_20_177_.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n', created = 1727540355, expire = 1727626755, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:415a54d4beb7071f153a3b4c6ba12146' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศีลทั้ง 7 ประการ

รูปภาพของ sss28808

ศีลอภัยบาป (Penance)
 
            ศีลอภัยบาป (Penance) หรือศีลสารภาพบาป (Confession) เป็นการคืนดีกับพระและเพื่อนพี่น้อง มีความเสียใจและตั้งใจที่จะกลับคืนดี เริ่มต้นชีวิตใหม่ในพระหรรษทานของพระเจ้า


       พิธีกรรม
 
             ศีลในข้อนี้เป็นการยกบาปที่ได้กระทำแล้ว หลังจากที่ทำการรับศีลล้างบาปมาแล้วผู้ที่มีอำนาจยกบาปให้ได้ต้องเป็นผู้ที่มีีตำแหน่งระดับบิชอป ( Bishop )หรือบาทหลวงที่ได้รับมอบอำนาจจากบิชอป ถ้ายังชำระหรือชดใช้ไม่หมดก็ต้องไปใช้ในโลกหน้าในแดนชำระ ผู้ที่จะเข้ารับศีลมหาสนิทหากมีบาปอยู่ต้องแก้บาปก่อน จึงจะเข้ารับศีลมหาสนิทได้ โดยการบอกบาปของตนแก่บาทหลวงเพื่อว่าท่านจะได้ยกบาปให้ ในการสารภาพบาปนี้นิยมกระทำในห้องเล็ก ๆ ซึ่งจัดไว้ด้านข้างของโบสถ์ ภายในห้องเล็กมีม่านหรือฉากกั้นกลาง บางแห่งทำเป็นฝาปรุไว้เพื่อให้ได้ยินเสียงโดยไม่จำเป็นต้องเห็นหน้าผู้สารภาพบาป ผู้สารภาพบาปและบาทหลวงจะเข้ามาคนละด้านของห้อง เมื่อสารภาพแล้วบาทหลวงคาทอลิค จะกล่าวว่า  "พระจิตได้รับบาปของท่านแล้ว บาปที่ท่านทำให้แก่ผู้อื่นก็ได้ยกโทษให้แล้ว" หลังจากนั้นผู้สารภาพแล้วจะต้องพยายามไม่ทำบาปที่ตนทำไว้  และจะต้องตั้งใจมั่นที่จะไม่กระทำผิดต่อพระเจ้าอีกต่อไป

        ความสำคัญ
 
               การชดใช้บาปนั้น อาจารย์กีรติ บุญเจือ (2530 : 97) ได้กล่าวว่า เป็นการเสริมแต่งคุณภาพชีวิตเพื่อให้ชีวิตพระเจ้าพัฒนายิ่งขึ้นตามลำดับทั้งในตนเองและผู้อื่น กิจการชดใช้บาปที่บาทหลวง กำหนดนั้น อาจเป็นการสวดบทบางบท หรือให้ทำดีอะไรบางอย่างตามแต่สะดวกและใจรัก  แต่ถ้าเป็นการชดใช้ความเสียหายแก่เพื่อนมนุษย์จะต้องชดใช้ให้อย่างยุติธรรม มิฉะนั้นจะไม่พ้นบาปได้ การชดใช้บาป จึงเป็นการเปิดประตูเข้าสู่ชีวิตใหม่ที่ตนเองจะต้องวางแผนชีวิตโดยอาศัยคำแนะนำจากผู้รู้เพื่อให้ชีวิตของตนนั้น สามารถพัฒนาก้าวหน้าต่อไปไม่หยุดยั้ง
ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินไม่อาจสารภาพบาปเป็นส่วนตัวได้ เช่น คนไข้ พูดไม่ได้ เครื่องบินกำลังตก เรือกำลังล่ม หรือกำลังติดอยู่ในตึกที่ไฟไหม้ บาทหลวงจะอภัยบาปให้ ทันที คนที่อยู่ในสภาพจำเป็นนี้หากมีบาปแม้แต่นิดเดียวก็ได้รับการอภัยบาปทันทีโดยไม่ต้องมีพิธีอะไรเพิ่ม
แต่ถ้ารอดชีวิตไปได้และมีโอกาสสารภาพบาปได้เมื่อใด จะต้องสารภาพทันทีกับบาทหลวงรูปใดก็ได้ทั้งนั้น  ผลของศีลอภัยบาปคือ ทำให้ผู้รับได้กลับคืนดีกับพระ และอยู่ในชีวิตพระหรรษทาน สำนึกถึงความรักของพระ และตั้งใจที่จะปรับปรุงแก้ไข เริ่มต้นใหม่ให้สมกับความเป็นลูกของพระในความครบครัน เป็นอิสระจากบาป  มีความบริสุทธิ์ และมีสันติในจิต

        ประวัติความเป็นมา
 
                 พิธีสารภาพบาปนี้ ได้แบบอย่างมาจากพระจริยวัตรของพระเยซูเมื่อครั้งไปรักษาโรคให้แก่คนเป็นโรคเรื้อนและคนตาบอด คนเหล่านี้เมื่อได้รับการอภัยโทษจากพระเยซูแล้วก็หายจากโรคร้ายและคนตาบอดได้กลายเป็นคนตาดี การรักษาโรคของพระเยซู ก็คือ การใช้อำนาจจิตที่เต็มไปด้วยความรักและความเมตตาอันยิ่งใหญ่แก่คนทุกข์ยากเหล่านั้น เพราะพวกเขาเป็นผู้ที่มีบาปอันกระทำไว้แล้ว จึงถูกพระเจ้าลงโทษและพระเยซูซึ่งเป็นพระเจ้าตามความเชื่อของชาวคริสต์สามารถยกบาปให้ได้เพียงกล่าวแก่คนบาปเหล่านั้นว่า บาปของเจ้า เราได้ยกโทษให้แล้ว นับแต่นั้นมาการสารภาพบาปเป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ที่มีความสำคัญยิ่ง  ศีลอภัยบาป เป็นศีลที่อภัยบาปของมนุษย์ เมื่อได้ทำผิดพลาดไป ไม่ว่าจะหนักหนาแค่ไหน  เพื่อจะได้เริ่มต้นชีวิตใหม่ ตามที่สัญญาไว้ในตอนรับศีลล้างบาป พระศาสนจักรได้รับอำนาจยกบาปจากพระเยซูเจ้า เมื่อพระองค์ตรัสกับนักบุญเปโตรว่า "เปโตร ท่านคือศิลา  บนศิลานี้เราจะสร้างศาสนจักรของเราไว้ แม้แต่ความตายก็ไม่อาจจะเอาชนะศาสนจักรของเราได้เราจะมอบกุญแจเข้าอาณาของพระเจ้าให้ท่านไว้ สิ่งใดที่ท่านห้ามในโลกนี้ก็จะถูกห้ามในสวรรค์  และสิ่งใดที่ท่านอนุญาตในโลกนี้ก็จะได้รับอนุญาตบนสวรรค์ด้วย" (มธ.16:16-20 , ยน.20:19-23)

                                                              

ศีลเจิมคนไข้ (Anointing of the Sick)

           ศีลเจิมคนไข้เป็นศีลที่โปรดให้สำหรับผู้ป่วยที่อ่อนกำลัง ในสภาพที่น่าเป็นห่วง หรือกำลังจะสิ้นใจเพื่อเขาจะได้รับพระหรรษทานในยามเจ็บป่วย และเป็นการเตรียมจิตใจให้ยึดมั่นใน ความเชื่อและเพื่อการฟื้นฟูสภาพทั้งกายและจิตใจ


        พิธีกรรม

            พิธีกรรมมีเครื่องหมายสำคัญคือ การเจิมน้ำมันที่หน้าผาก และฝ่ามือทั้งสองข้างคนไข้ที่จะรับศีลเจิมนี้ส่วนมากเป็นพวกอยู่ในขั้นร้ายแรง บาทหลวงจะเป็นผู้ทำพิธีกรรมโดยเริ่มตั้งแต่อ่านบทอ่านจากพระคัมภีร์เทศน์เตือนใจ ปกมือศีรษะคนไข้แล้วเสกน้ำมันเจิมน้ำมันที่หน้าผากและมือ หรืออาจเพิ่มเติมในที่อื่น ๆ แล้วแต่ความเหมาะสม แต่ถ้าคนไข้ตายแล้วบาทหลวงจะไม่ประกอบพิธีนอกจากสวดภาวนาขอพระเจ้าอภัยบาปให้ ผู้ที่รับศีลนี้มีความเชื่อว่าจะได้รับพระหรรษทาน และเข้มแข็งมั่นคงในความเชื่อ พร้อมที่จะยอมรับความเจ็บปวด และเห็นถึงพระพรในยามเจ็บป่วย มีส่วนร่วมในพระทรมาน และการกลับคืนชีพของพระคริสตเจ้า ดังนั้น ควรจะให้ผู้ป่วยได้รับในขณะที่รู้ตัว เพื่อการเตรียมจิตใจได้อย่างดี ทั้งนี้ผู้รับก็จะสามารถรับศีลอภัย และศีลมหาสนิท ซึ่งถือว่าเป็นศีลเสบียงที่ให้สำหรับผู้ป่วยเพื่อเป็นการเตรียมกลับไปหาพระเป็นเจ้าในสภาพของชีวิตพระหรรษ ทานและในความพร้อมของผู้ป่วย


      ความสำคัญ

             ศีลเจิมคนไข้เป็นศีลที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับสุขภาพดีคืนมา หรือรับการยกบาป ตามที่นักบุญยากอบเขียนไว้ว่า "มีใครในพวกท่านป่วยหรือ ? เขาควรจะเชิญผู้อาวุโสในศาสนจักรมาอธิษฐานเพื่อเขาแล้วให้ผู้อาวุโสนั้นชโลมน้ำมันให้ในนามพระเจ้า คำอธิฐานที่กล่าวมาด้วยความเชื่อจะช่วยคนป่วยได้ พระเจ้าจะให้เขากลับมีสุขภาพดีดังเดิม  และจะทรงอภัยบาปที่ได้กระทำไปแล้ว ฉะนั้น จงสารภาพบาปต่อกันและอธิฐานเพื่อกัน เพื่อท่านจะได้หายโรค  คำอธิฐานของคนดีมีพลังยิ่งนัก"


       ประวัติความเป็นมา

             แต่เดิมมาสาวกของพระเยซูได้รักษาคนไข้โดยใช้น้ำมันชโลมเพื่อให้หายจากไข้ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  พิธีชโลมน้ำมันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Unction) ซึ่งคุณพ่อบาทหลวงผู้ทำพิธี  อย่างไรก็ตามคนไข้ที่จะทำศีลเจิมนี้ ส่วนมากเป็นพวกที่กำลังจะตายหรือเจ็บหนัก  การทำพิธีนี้จะช่วยฟื้นฟูจิตใจของพวกเขาให้ระลึกถึงพระเยซูคริสต์ที่สามารถชนะความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมาน

 

                                                                  


ศีลสมรส (Martrimony)

             ศีลศักดิ์สิทธิ์ในข้อนี้อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า"พิธีรับศีลกล่าว"เป็นศีลที่ใช้ในการประกาศความรักที่ ชายและหญิงมีต่อกัน ต่อหน้าพระพักตร์ของพระเจ้า และพร้อมที่จะกล่าวประกาศว่าเขาทั้งสองรักกัน ด้วยความสมัครใจ มีอิสระอย่างเต็มที่ โดยไม่ได้ถูกบังคับ และพร้อมที่จะร่วมชีวิตคู่ เพื่อเป็นของกันและกัน เป็นหนึ่งเดียวในความรักที่หย่าร้างไม่ได้ ที่จะซื่อสัตย์ต่อกันจนตลอดชีวิต เพื่อเป็นเครื่องหมาย เป็นพยานถึงความรักของพระ และพร้อมที่จะมอบครอบครัวใหม่ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของพระ และอนาคตของลูกหลานซึ่งพระเจ้าให้มา และเด็กที่เกิดมาเหล่านี้จะต้องถูกนำมาประกาศความเป็น สัตบุรุษโดยการรับศีลล้างบาป

       พิธีกรรม

               พิธีกรรมมีเครื่องหมายสำคัญคือ คำกล่าวของคู่บ่าวสาว ต่อหน้าพระสงฆ์ผู้แทนของพระศาสนจักรรวมทั้งบรรดาสักขีพยาน ว่าเขาทั้งสองรักกันและจะซื่อสัตย์ต่อกันจนกว่าชีวิตจะหาไม่พิธีส่วนใหญ่ประกอบกันในโบสถ์ พร้อมกับทำพิธีมิซซาด้วย


       ความสำคัญ

               ศีลกล่าวจัดเป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ที่รวมชาย หญิง สองคนเป็นหนึ่งเดียวกันและเป็นการสัญญาต่อกันว่าจะมีความรัก ความซื่อสัตย์ต่อกัน ช่วยกันสร้างครอบครัวของชาวคริสต์ให้สมบูรณ์ และการหย่าร้างเป็นเรื่องร้ายแรง เป็นสิ่งต้องห้ามอย่างเด็ดขาดนอกเสียจากมีเหตุจำเป็นดังนั้นการแต่งงานจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อคู่สมรสทั้งสองมีความสมัครใจที่จะแต่งงานกัน ไม่มีอุปสรรคมาขัดขวางทำให้การแต่งงานเป็นโมฆะและจะต้องกระทำพิธีต่อหน้าคุณพ่ออธิการหรือผู้แทนและต่อหน้าสักขีพยานอีก 2 คน ในการทำพิธีนี้ต้องสาบานว่าจะสัตย์ซื่อต่อกัน และช่วยเหลือกันตลอดชีวิต   ศีลสมรส เป็นศีลที่คู่บ่าวสาวได้แสดงความรักและสมัครใจ ต่อหน้าพระศาสนจักรว่า จะรัก ยกย่องให้เกียรติแก่กันและกัน และใช้ชีวิตร่วมกันฉันสามีภรรยาจนกว่าชีวิตจะหาไม่  โดยไม่ถูกบังคับหรือมีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น  ผลของศีลสมรส ทำให้คู่บ่าวสาวเป็นสามีภรรยาอย่างถูกต้องต่อหน้าพระ และต่อพระศาสนจักร  อยู่ในชีวิตพระหรรษทาน และเป็นครอบครัวคริสตชนใหม่ที่พร้อมจะให้กำเนิดบุตร อบรมเลี้ยงดู ในชีวิตคริสตชน เป็นพยานประกาศความรักของพระในความสมบูรณ์ครบครันของชีวิตครอบครัวของเขาเพื่อช่วยกันและกันในความบกพร่อง  หรือที่ขาดไปให้แก่กันและกัน  ทั้งนี้คู่บ่าวสาวจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของพระศาสนจักรเพื่อความดีและความรอดของวิญญาน


        ประวัติความเป็นมา

                  พระเยซูเจ้าได้ตรัสสอนเกี่ยวกับการสมรสว่า... "แรกเริ่มเดิมทีนั้นพระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ขึ้น เป็นชายและหญิง เพราะเหตุนี้ชายจะละบิดามารดาของเขาไปผูกพันอยู่กับภรรยา และทั้งสองจะเป็นดุจคน ๆ เดียวกัน  ดังนั้น...มนุษย์ต้องไม่แยกสิ่งที่พระเจ้าทรงผูกพันเข้าด้วยกัน...ถ้าชายใดหย่าภรรยาของตน...ชายนั้นไปแต่งงานใหม่ เขาก็ผิดประเวณี" (มธ.19:1-9) ดังนั้น เมื่อรับศีลนี้แล้วจะหย่าแล้วแต่งงานใหม่ไม่ได้
จนกว่าฝ่ายหนึ่งจะตายจากไป

                 

 

ศีลบวชเป็นพระสงฆ์ (Ordination)

             ศีลบวชเป็นพระสงฆ์นี้ ผู้ที่จะสมัครบวช หรือถวายตัวแด่พระ เป็นพระพรแห่งกระแสเรียกที่พระทรงเรียกและเลือกบุคคลหนึ่งให้ดำเนินชีวิต และมีภารกิจในการเป็นศาสนบริการ ผู้แทนสงฆ์ของพระคริสตเจ้าในการประกาศสอนคำสอน การประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ และการปกครองดูแลคริสตชน


      พิธีกรรม
             

               พิธีกรรมมีเครื่องหมายที่สำคัญคือ การปกมือของพระสังฆราชเหนือผู้รับศีลบวช ตลอดจนการเจิมน้ำมันคริสมาเพื่อเป็นเครื่องหมายถึงการประทานองค์พระจิตเจ้า เป็นการอภิเษก และมอบอำนาจของการเป็นสงฆ์แห่งศาสนบริกรเพื่อสานต่องานของพระคริสตเจ้า และการถูกส่งไปเพื่อรับใช้เป็นผู้ประกาศข่าวดีแห่งความรอด ศีลบวช มีลำดับ3 ขั้น คือ พระสังฆราช พระสงฆ์ และสังฆานุกร

        ความสำคัญ

               ศีลบวชนี้จะเกี่ยวข้องกับการบวชเป็นพิธีใหญ่ที่คุณพ่ออธิการจะต้องกระทำให้แก่ผู้ประสงค์เข้ามาบวชอันเป็นการมอบอำนาจให้
ทำหน้าที่นักบวชต่อไป พิธีนี้เข้าใจว่าน่าจะกระทำขึ้นมาในภายหลังเพื่อให้เป็นระบบมากขึ้น แต่เดิมมาการบวชจึงเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์และยิ่งใหญ่สำหรับสัตบุรุษคาทอลิคซึ่งบวชได้เพียงครั้งเดียวในชีวิตต้องตัดสินใจให้รอบคอบก่อน เพราะจะไม่มีการบวชเป็นครั้งที่สองผู้บวชเมื่อบวชแล้วจะมีหน้าที่พิเศษที่แตกต่างจากคนทั่วไปเพราะเชื่อกันว่าเป็นผู้ได้รับพระหรรษทานพิเศษที่แตกต่างจากคนทั่วไป คือ ได้รับพระหรรษทานพิเศษจากพระจิตเจ้าดังนั้นพวกท่านเหล่านี้จึงสามารถประกอบพิธีกรรมในศาสนา การโปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ คำสอนและการสวดบทสวดประจำวัน   พระสงฆ์หรือบาทหลวง มีหน้าที่ปกครองสัตบุรุษในเขตวัดที่ได้รับมอบหมายจากพระสังฆราชมีหน้าที่ให้การอภิบาลสัตบุรุษโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านศีลศักดิ์สิทธิ์สอนคำสอนของพระศาสนจักรและถวายบูชามิสซา

            ประวัติความเป็นมา

                พระเยซูทรงเลือกสาวก 12 คน เท่ากับจำนวนตระกูลอิสราเอล 12 ตระกูล จึงเท่ากับว่าสาวกทั้ง 12คนนี้เป็นต้นกำเนิดของ ประชากรใหม่ของพระเจ้าเพื่อช่วยพระเยซูคริสต์ในการประกาศอาณาจักรแต่ก่อนมาในสมัยของพระเยซูคริสต์ยังไม่มีการบวชถ้าจะเลือกใครเป็นสาวกก็กระทำขึ้นมาโดยไม่มีพิธีรีตองแต่การบวชที่ปรากฏในปัจจุบันนั้นเป็นสิ่งที่เริ่มกันขึ้นมาเองในภายหลังเพื่อความเป็นระบบและเพื่อเป็นเครื่องเตือนย้ำผู้บวชให้ตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องนำพาชีวิตจำนวนมากให้ถึงซึ่งความรอดศีลบวชเป็นพระสงฆ์ เป็นศีลที่พระศาสนาจักรเจิมให้ผู้ที่ได้รับการอบรมมาดีแล้วเป็นพระสงฆ์เพื่อรับใช้พระศาสนจักรตามที่พระเยซูเจ้าได้สั่งสอนไว้ "กษัตริย์ในโลกนี้มีอำนาจเหนือประชากรของเขาแต่พวกท่านต้องไม่เป็นเช่นนั้น ผู้นำตัองรับใช้ปวงชนเหมือนอย่างที่เรามาอยู่ท่ามกลางพวกท่านดังผู้รับใช้" (ลก.22:24-27; เทียบ ยน.13:13-14)

               

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 244 คน กำลังออนไลน์