• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d5654254f3b7c116466e014a4b12c874' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n      \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"150\" src=\"http://www.bloggang.com/data/kirahimawari/picture/1136227144.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 293px; height: 231px\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การเสียกรุงครั้งที่ 2</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'Microsoft Sans Serif\',\'sans-serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'Microsoft Sans Serif\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">            </span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                 เมื่อเกิดเหตุการณ์คราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ครั้งนั้นกองทัพพม่ายกเข้ามาอย่างมีระเบียบและมีการเตรียมการวางแผนมาแล้วล่วงหน้า หาได้ใช่ที่ว่าพม่ามาอย่างกองโจร ฝ่ายกองทัพไทยก็มีการเตรียมกำลังตั้งรับพม่าอย่างรัดกุม และมุ่งหวังที่จะให้พม่าพ่ายแพ้อย่างรัดกุม และมุ่งหวังที่จะให้พม่าพ่ายแพ้ไปด้วยยุทธวิธีแบบเดิม คือ ให้น้ำไล่ข้าศึกไปจากพระนคร แต่ทว่า เหตุการณ์กลับตาลปัตร พม่าได้วางแผนรับมือยุทธวิธีแบบนี้ได้สำเร็จ ฝ่ายไทยเองกลับถูกเล่นงานกลับ ชนิดที่ว่าถูกพม่าล้อมกรอบเอาไว้นานกว่า </span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">1 <span lang=\"TH\">ปี </span>2 <span lang=\"TH\">เดือน </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\">             <span> </span>วาระสุดท้ายของมหานครริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยานามว่ากรุงศรีอยุธยาก็มาถึง ดังเช่นที่พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาระบุไว้ว่า &quot;พม่าได้เผารากกำแพง จนกำแพงพระนครทรุดพังทลายลง พม่าสามารถเข้าพระนครได้เมื่อวันอังคาร เดือน </span>5 <span lang=\"TH\">ขึ้น </span>9 <span lang=\"TH\">ค่ำ ปีกุน ตรงกับวันที่ </span>7 <span lang=\"TH\">เมษายน พ.ศ. </span>2310&quot; <span lang=\"TH\">ส่วนหลักฐานฝ่ายพม่าระบุไว้ว่า</span> &quot;<span lang=\"TH\">กองทัพพม่าเองต้องล้อมพระนครศรีอยุธยาไว้ นับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. </span>2309 <span lang=\"TH\">ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. </span>2310&quot;<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เมื่อพม่าเข้ากรุงได้ก็ทำการเผาพระราชวังบวรสถานมงคล พระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีสรรเพชญ์ พระมงคลบพิตร และเก็บกวาดทรัพย์สินตามวัดวาอาราม กวาดต้อนคนไทย ไม่ว่าจะเป็นเชื้อพระวงศ์ไปจนถึงชาวบ้าน เป็นเชลยศึก<span>   </span>สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศอัมรินทร์ หรือพระเจ้าเอกทัศ ผู้มองเห็นเพียงข้างเดียวต้องสิ้นพระชนม์ลงในพระบรมมหาราชวัง หาได้ไปสิ้นพระชนม์ที่วัดสังฆวาสไม่ และพระเจ้าเอกทัศน์เองก็มิได้เป็นกษัตริย์ที่อ่อนแอหรือลุ่มหลงในอิสตรี ดังเช่นที่เรารับรู้มาแต่เดิม หากแต่พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ชาตินักรบ และได้ทรงบัญชาการรบด้วยพระองค์เองจนถึงที่สุด<span>  </span>เพียงแต่สิ่งที่เราได้รับรู้และได้ศึกษากันในปัจจุบันเกี่ยวกับสาเหตุการเสียกรุงศรีอยุธยาก็ดี หรือเกี่ยวกับพระเจ้าเอกทัศน์ก็ดี ล้วนแล้วตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขทางการเมืองของชนชั้นผู้ปกครองสมัยหลังทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้ การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในอดีตจึงมีข้อจำกัดทางข้อมูลและความคิดอยู่มาก จวบจนปัจจุบันนักประวัติศาสตร์รุ่นเก่า ตลอดจนสถาบันการศึกษาบางแห่งยังมิอาจกล้าท้าพิสูจน์ประเด็นนี้อย่างจริงจัง</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span><span>               </span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>             </span><span> </span>การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ </span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2 <span lang=\"TH\">เมื่อ พ.ศ. </span>2310 <span lang=\"TH\">จึงเป็นทั้งบทเรียนและแบบเรียนของนักประวัติศาสตร์ในรุ่นปัจจุบันที่ต้องจำใส่ใจตลอดเวลาว่า การนำเสนอข้อมูลทางประวัติศาสตร์จะต้องนำข้อจริงที่เกิดขึ้นและไม่ควรนำเอาข้อเท็จมาปะปนภายใต้เงื่อนไขทางการเมืองหรืออิทธิพลใดๆ โดยหวังประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สาเหตุที่ไทยเราต้องพ่ายแพ้ศึกพม่าในสงครามคราวเสียกรุงอยุธยาครั้งที่ </span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2 <span lang=\"TH\">นั้น ก็เนื่องมาจากฝ่ายพม่าเองได้ตระเตรียมแผนการและมุ่งหวังที่จะตีกรุงศรีอยุธยาอย่างจริงจัง ฝ่ายไทยเองก็บอบช้ำมามากกับสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้น ไม่ว่าจะเป็นสงครามที่เจ้าฟ้าปรเมศร์ เจ้าฟ้าอภัยกระทำกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคลความขัดแย้งทางการเมืองของเหลาพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ตลอดจนความขัดแย้งระหว่าง สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรกับสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ นอกจากนี้ยังเกิดจากการที่กรุงศรีอยุธยามีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้าพาณิชย์นาวี ทางการทูต เป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครองและการศาสนา จนทำให้ฝ่ายพม่าเองเล็งเห็นประโยชน์ที่จะได้หากตีกรุงศรีอยุธยาได้สำเร็จ<span>  </span></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สำหรับฝ่ายไทยเองเราต้องยอมรับว่าได้เว้นจากการทำศึกสงครามมาเป็นเวลานาน ประกอบกับผู้นำอยุธยาอันได้แก่พระเจ้าเอกทัศน์ คาดคะเนสถานการณ์และยุทธวิธีผิดไป ไม่ว่าจะเป็น การสร้างแนวปะทะกันกองทัพพม่าเข้ามาถึงคูพระนคร หรือระบบการส่งกำลังบำรุงให้การสนับสนุนก็ดูจะล่าช้ากว่าฝ่ายพม่ามาก และที่สำคัญที่สุดก็คือ ฝ่ายพม่าเองสามารถเอาชนะยุทธวิธีน้ำหลากที่ฝ่ายไทยมักใช้ได้ผลมาแล้วได้เป็นผลสำเร็จ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ด้วยเหตุนี้พม่าจึงเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด จนทำให้มหานครอันยิ่งใหญ่ของคนไทยที่มีอายุยืนยาวนานกว่า </span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">417 <span lang=\"TH\">ปี ต้องถึงกาลอวสาน เมื่อวันอังคารที่ </span>7 <span lang=\"TH\">เมษายน พ.ศ. </span>2310 <span lang=\"TH\">นั่นเอง</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: Symbol\"><span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: Symbol\"><span>·<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ข้อความที่ค้นคว้ามาแสดงถึงช่วงเวลา</span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ </span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2 <span lang=\"TH\">เมื่อ พ.ศ. </span>2310</span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #262626; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></b><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: Symbol\"><span>·<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ลักษณะเด่นของเหตุการณ์นี้</span></b></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #262626; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">แผนปฏิบัติการของกองทัพพม่าเริ่มจากการเข้าตีหัวเมืองทางเหนือ ทางตะวันตกและทางใต้ของอาณาจักรอยุธยา ก่อนจะเข้าปิดล้อมพระนครในขั้นสุดท้าย ส่วนผู้ปกครองอยุธยาเลือกที่จะใช้ยุทธวิธีตั้งรับอยู่ในกรุงใน<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A4%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%9D%E0%B8%99\" title=\"ฤดูฝน\"><span style=\"color: #262626; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"font-family: Angsana New\">ฤดูน้ำหลาก</span></span></a> แต่เนื่องจากกองทัพพม่าได้เปลี่ยนยุทธวิธีของตนใหม่ จึงทำให้ยุทธวิธีของอยุธยาไม่ได้ผลอย่างในอดีต จนกระทั่งนำไปสู่การเสียกรุงศรีอยุธยาในที่สุด ภายหลัง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2_(2309-2310)\" title=\"การปิดล้อมอยุธยา (2309-2310)\"><span style=\"color: #262626; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"font-family: Angsana New\">การปิดล้อมนาน 14 เดือน</span></span></a> ซึ่งเป็นสาเหตุซึ่งนำไปสู่การเสียกรุง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87#.E0.B8.82.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.99.E0.B8.B4.E0.B8.A9.E0.B8.90.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.95.E0.B8.B8.E0.B8.AD.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.99.E0.B8.B3.E0.B9.84.E0.B8.9B.E0.B8.AA.E0.B8.B9.E0.B9.88.E0\"><span style=\"color: #262626; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"font-family: Angsana New\">ด้วยเหตุผลทางด้านยุทธวิธี</span></span></a></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span>  </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: Symbol\"><span>·<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การแบ่งเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์มีประโยชน์ คือ</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">1.ทำให้ง่ายต่อการศึกษาประวัติศาสต</span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ร์</span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2.<span lang=\"TH\">ทำให้จดจำเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในแต่ละช่วงเวลาได้</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nแหล่งอ้างอิง   <a href=\"http://shalawan.www2.50megs.com/fire-ayudhaya.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://shalawan.www2.50megs.com/fire-ayudhaya.htm</span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: #262626; font-family: Symbol\"><span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">คณะผู้จัดทำ </span></span></span>\n</p>\n<p>\nนายสิริศักดิ์   พรหมดวง   ม.4/4  เลขที่ 8\n</p>\n<p>\nนายกุลชาติ   จัดกระบวนพล   ม.4/4  เลขที่ 20\n</p>\n<p>\nนายธนฤกษ์    อัมพุนันท์   ม.4/4   เลขที่ 21\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715429970, expire = 1715516370, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d5654254f3b7c116466e014a4b12c874' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

      

 

การเสียกรุงครั้งที่ 2             

                 เมื่อเกิดเหตุการณ์คราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ครั้งนั้นกองทัพพม่ายกเข้ามาอย่างมีระเบียบและมีการเตรียมการวางแผนมาแล้วล่วงหน้า หาได้ใช่ที่ว่าพม่ามาอย่างกองโจร ฝ่ายกองทัพไทยก็มีการเตรียมกำลังตั้งรับพม่าอย่างรัดกุม และมุ่งหวังที่จะให้พม่าพ่ายแพ้อย่างรัดกุม และมุ่งหวังที่จะให้พม่าพ่ายแพ้ไปด้วยยุทธวิธีแบบเดิม คือ ให้น้ำไล่ข้าศึกไปจากพระนคร แต่ทว่า เหตุการณ์กลับตาลปัตร พม่าได้วางแผนรับมือยุทธวิธีแบบนี้ได้สำเร็จ ฝ่ายไทยเองกลับถูกเล่นงานกลับ ชนิดที่ว่าถูกพม่าล้อมกรอบเอาไว้นานกว่า 1 ปี 2 เดือน 

              วาระสุดท้ายของมหานครริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยานามว่ากรุงศรีอยุธยาก็มาถึง ดังเช่นที่พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาระบุไว้ว่า "พม่าได้เผารากกำแพง จนกำแพงพระนครทรุดพังทลายลง พม่าสามารถเข้าพระนครได้เมื่อวันอังคาร เดือน 5 ขึ้น 9 ค่ำ ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310" ส่วนหลักฐานฝ่ายพม่าระบุไว้ว่า "กองทัพพม่าเองต้องล้อมพระนครศรีอยุธยาไว้ นับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2309 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2310"เมื่อพม่าเข้ากรุงได้ก็ทำการเผาพระราชวังบวรสถานมงคล พระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีสรรเพชญ์ พระมงคลบพิตร และเก็บกวาดทรัพย์สินตามวัดวาอาราม กวาดต้อนคนไทย ไม่ว่าจะเป็นเชื้อพระวงศ์ไปจนถึงชาวบ้าน เป็นเชลยศึก   สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศอัมรินทร์ หรือพระเจ้าเอกทัศ ผู้มองเห็นเพียงข้างเดียวต้องสิ้นพระชนม์ลงในพระบรมมหาราชวัง หาได้ไปสิ้นพระชนม์ที่วัดสังฆวาสไม่ และพระเจ้าเอกทัศน์เองก็มิได้เป็นกษัตริย์ที่อ่อนแอหรือลุ่มหลงในอิสตรี ดังเช่นที่เรารับรู้มาแต่เดิม หากแต่พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ชาตินักรบ และได้ทรงบัญชาการรบด้วยพระองค์เองจนถึงที่สุด  เพียงแต่สิ่งที่เราได้รับรู้และได้ศึกษากันในปัจจุบันเกี่ยวกับสาเหตุการเสียกรุงศรีอยุธยาก็ดี หรือเกี่ยวกับพระเจ้าเอกทัศน์ก็ดี ล้วนแล้วตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขทางการเมืองของชนชั้นผู้ปกครองสมัยหลังทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้ การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในอดีตจึงมีข้อจำกัดทางข้อมูลและความคิดอยู่มาก จวบจนปัจจุบันนักประวัติศาสตร์รุ่นเก่า ตลอดจนสถาบันการศึกษาบางแห่งยังมิอาจกล้าท้าพิสูจน์ประเด็นนี้อย่างจริงจัง                

              การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310 จึงเป็นทั้งบทเรียนและแบบเรียนของนักประวัติศาสตร์ในรุ่นปัจจุบันที่ต้องจำใส่ใจตลอดเวลาว่า การนำเสนอข้อมูลทางประวัติศาสตร์จะต้องนำข้อจริงที่เกิดขึ้นและไม่ควรนำเอาข้อเท็จมาปะปนภายใต้เงื่อนไขทางการเมืองหรืออิทธิพลใดๆ โดยหวังประโยชน์ส่วนตนเป็นหลักสาเหตุที่ไทยเราต้องพ่ายแพ้ศึกพม่าในสงครามคราวเสียกรุงอยุธยาครั้งที่ 2 นั้น ก็เนื่องมาจากฝ่ายพม่าเองได้ตระเตรียมแผนการและมุ่งหวังที่จะตีกรุงศรีอยุธยาอย่างจริงจัง ฝ่ายไทยเองก็บอบช้ำมามากกับสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้น ไม่ว่าจะเป็นสงครามที่เจ้าฟ้าปรเมศร์ เจ้าฟ้าอภัยกระทำกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคลความขัดแย้งทางการเมืองของเหลาพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ตลอดจนความขัดแย้งระหว่าง สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรกับสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ นอกจากนี้ยังเกิดจากการที่กรุงศรีอยุธยามีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้าพาณิชย์นาวี ทางการทูต เป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครองและการศาสนา จนทำให้ฝ่ายพม่าเองเล็งเห็นประโยชน์ที่จะได้หากตีกรุงศรีอยุธยาได้สำเร็จ  สำหรับฝ่ายไทยเองเราต้องยอมรับว่าได้เว้นจากการทำศึกสงครามมาเป็นเวลานาน ประกอบกับผู้นำอยุธยาอันได้แก่พระเจ้าเอกทัศน์ คาดคะเนสถานการณ์และยุทธวิธีผิดไป ไม่ว่าจะเป็น การสร้างแนวปะทะกันกองทัพพม่าเข้ามาถึงคูพระนคร หรือระบบการส่งกำลังบำรุงให้การสนับสนุนก็ดูจะล่าช้ากว่าฝ่ายพม่ามาก และที่สำคัญที่สุดก็คือ ฝ่ายพม่าเองสามารถเอาชนะยุทธวิธีน้ำหลากที่ฝ่ายไทยมักใช้ได้ผลมาแล้วได้เป็นผลสำเร็จด้วยเหตุนี้พม่าจึงเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด จนทำให้มหานครอันยิ่งใหญ่ของคนไทยที่มีอายุยืนยาวนานกว่า 417 ปี ต้องถึงกาลอวสาน เมื่อวันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 นั่นเอง

·       ข้อความที่ค้นคว้ามาแสดงถึงช่วงเวลา

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310

 ·       ลักษณะเด่นของเหตุการณ์นี้

แผนปฏิบัติการของกองทัพพม่าเริ่มจากการเข้าตีหัวเมืองทางเหนือ ทางตะวันตกและทางใต้ของอาณาจักรอยุธยา ก่อนจะเข้าปิดล้อมพระนครในขั้นสุดท้าย ส่วนผู้ปกครองอยุธยาเลือกที่จะใช้ยุทธวิธีตั้งรับอยู่ในกรุงในฤดูน้ำหลาก แต่เนื่องจากกองทัพพม่าได้เปลี่ยนยุทธวิธีของตนใหม่ จึงทำให้ยุทธวิธีของอยุธยาไม่ได้ผลอย่างในอดีต จนกระทั่งนำไปสู่การเสียกรุงศรีอยุธยาในที่สุด ภายหลังการปิดล้อมนาน 14 เดือน ซึ่งเป็นสาเหตุซึ่งนำไปสู่การเสียกรุงด้วยเหตุผลทางด้านยุทธวิธี  

·       การแบ่งเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์มีประโยชน์ คือ

1.ทำให้ง่ายต่อการศึกษาประวัติศาสตร์

2.ทำให้จดจำเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในแต่ละช่วงเวลาได้  

 

 

แหล่งอ้างอิง   http://shalawan.www2.50megs.com/fire-ayudhaya.htm

คณะผู้จัดทำ 

นายสิริศักดิ์   พรหมดวง   ม.4/4  เลขที่ 8

นายกุลชาติ   จัดกระบวนพล   ม.4/4  เลขที่ 20

นายธนฤกษ์    อัมพุนันท์   ม.4/4   เลขที่ 21

 

 

รูปภาพของ silavacharee

Kiss

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 319 คน กำลังออนไลน์