• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f0013ca4ab1d314c1cb30384a1c55afa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"220\" src=\"/files/u31565/rghthhhhh.jpg\" height=\"158\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #c0c0c0\"></span><img border=\"0\" width=\"420\" src=\"/files/u31565/n5.jpg\" height=\"600\" />\n</div>\n<p>\n                         <a href=\"http://www.thaipr.net/dsppic/dsppic.aspx?filesid=3F72C730C8155AC443C2605025D46BDB\">http://www.thaipr.net/dsppic/dsppic.aspx?filesid=3F72C730C8155AC443C2605025D46BDB</a>\n</p>\n<p>\nกล้องภาพยนตร์<br />\nความจริงประการหนึ่งในความหมายของคำว่า &quot;ภาพยนตร์&quot; คือ &quot;ภาพนิ่ง&quot; หลายๆ ภาพเรียงติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อนำเอาภาพนิ่งเหล่านั้นมาฉายดูทีละภาพด้วยอัตราความเร็วในการฉายต่อภาพเท่าๆ กัน ภาพนิ่งเหล่านั้นจะกลายเป็นภาพเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องกันเป็นธรรมชาติ ดังนั้นการสร้างกล้องภาพยนตร์จึงใช้หลักการเบื้องต้นอันเดียวกันกับการสร้างกล้องถ่ายภาพ<br />\nอย่างไรก็ตามก็มีส่วนที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด คือ กล้องถ่ายภาพออกแบบสร้างขึ้นเพื่อบันทึกภาพที่ละภาพลงบนฟิล์ม เมื่อบันทึกภาพหนึ่งเรียบร้อยแล้วจะต้องเคลื่อนฟิล์มที่บันทึกแล้วให้ผ่านหน้ากล้องไปโดยใช้มือหมุนหรือเคลื่อนฟิล์มอัตโนมัติ (Motor drive) ในขณะที่กล้องภาพยนตร์จะมีกลไกลภายในกล้องบังคับควบคุมให้ฟิล์มเคลื่อนที่เพื่อบันทึกภาพที่ละภาพอย่างต่อเนื่อง การทำงานของกล้องภาพยนตร์ขณะบันทึกภาพนั้นมีระบบการทำงานสัมพันธ์กันอย่างกลมกลืนเหมือนกลไกการทำงานของนาฬิกา ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ ได้แก่<br />\nกล้องภาพยนตร์\n</p>\n<p>\n<br />\n1. โครงสร้างของกล้องถ่ายภาพยนตร์\n</p>\n<p>\n1. กล้องถ่ายภาพสามารถบันทึกภาพที่ละภาพโดยผู้ถ่ายเป็นผู้เลื่อนฟิล์มภาพต่อไปด้วยตนเอง ส่วนกล้องภาพยนตร์แม้จะบันทึกภาพทีละภาพเช่นเดียวกันแต่ทำงานได้อย่างต่อเนื่องและรวดเร็วโดยมีกลไกขับเคลื่อนฟิล์มที่ทำงานสัมพันธ์กับชัตเตอร์\n</p>\n<p>\n2. กล้องภาพยนตร์ประกอบด้วยโครงสร้างหลัก 5 ระบบ คือ\n</p>\n<p>\n2.1 กลไกการเคลื่อนที่ของฟิล์มและการบันทึกภาพ มีตัวหนามเตย ตัวกวักหมุนยึดฟิล์ม แผ่นกดฟิล์ม ประตูฟิล์มและชัตเตอร์ทำงานเข้ากันและสัมพันธ์กันได้ด้วยดีเหมือนกลไกของนาฬิกา\n</p>\n<p>\n2.2 มอร์เตอร์ เป็นแหล่งพลังงานที่ทำให้กลไกต่างๆทำงานได้ มอร์เตอร์อาจคับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าหรือลาน\n</p>\n<p>\n2. ระบบควบคุมการทำงานต่างๆ ภายในกล่องภาพยนตร์ เช่น สวิตช์เปิด-ปิดปุ่มควบคุมความเร็วชัตเตอร์<br />\nระบบช่องดูภาพ (Viewing System)\n</p>\n<p>\n<br />\nระบบช่องดูภาพของกล้องภาพยนตร์มีการทำงานควบคุมไปกับการทำงานของเลนล์โดยทั่วไประบบช่องดูภาพของกล้องภาพยนตร์แต่ละกล้องนั้นมักจะมีความแตกต่างกันไปตามรุ่นที่ผลิต ประเภท และยี่ห้อของกล้องภาพยนตร์นั้นๆ<br />\nช่องดูภาพ\n</p>\n<p>\n<br />\n2. เลนส์ที่ใช้ในการถ่ายทำภาพยนตร์\n</p>\n<p>\nเลนส์ (Lens) หมายถึง วัตถุทรงกลมเมื่อมองด้านข้างจะมีลักษณะแบนรี ทำด้วยกระจกใสหรือวัตถุโปร่งใสที่ยอมให้แสงผ่านไปได้ ผิวนอกเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้านอาจจะโค้งนูนออกมาจากริมทั้งสองหนานูนบริเวณกลาง บ้างบริเวณริม หรืออาจจะเว้าเข้าไปจากริมทั้งสองทำให้หนาบริเวณริม ทำให้เลนส์มีคุณสมบัติสามารถรวมแสงและสร้างภาพได้ดีหรือกระจายแสง แต่สร้างภาพไม่ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะการนูนหรือการเว้าของเลนส์นั้นๆ<br />\nคุณสมบัติของเลนส์ที่ใช้ในการถ่ายทำภาพยนตร์<br />\nเมื่อกล่าวถึงคุณสมบัติของเลนส์ ย่อมหมายถึง ความสามารถในการทำงานของเลนส์แต่ละเลนส์ โดยจะต้องมีองค์ประกอบเป็นโครงสร้างของระบบการทำงานที่สัมพันธ์กัน ซึ่งประกอบด้วย\n</p>\n<p>\n<br />\n1. ความยาวโฟกัส หมายถึง ระยะทางจากจุดกึ่งกลางของเลนส์นั้นไปถึงผิวแผ่นฟิล์ม (Film Plane ) ในกล้อง เมื่อปรับความชัดของเลนส์นั้นที่ระยะไกลสุดความยาวโฟกัสมากสามารถรับภาพได้มุมภาพแคบกว่าเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสสั้น\n</p>\n<p>\n2. รูรับแสง เลนส์สามารถรับแสงตามหลักการพื้นฐานของรูเข็มของกล้องรูเข็ม รูที่เลนส์ยอมให้แสงผ่านเข้ามาได้เรียกว่า &quot; รูรับแสง&quot; เลนส์สำหรับกล้องภาพยนตร์สามารถปรับให้เล็กลงและกว้างออกได้ โดยมีไดอะแฟรม (Diaphragm) ซึ่งมีลักษณะคล้ายๆ กับเกล็ดปลาซ้อนกันอยู่เป็นตัวควบคุมไดอะเฟรมนี้จะขยายกว้างและหดเล็กลงได้โดยการปรับแสงกว้างออกหรือเล็กลงเท่าใดก็เพียงปรับหมุนวงแหวนตั้งหน้ากล้องนี้ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ<br />\nรูหน้ากล้องเมื่อปรับค่า F-number ต่างๆกัน\n</p>\n<p>\n<br />\n3. ความไวแสงของเลนส์ หมายถึง ความสามารถในการเปิดรูรับแสงได้กว้างสุดเพื่อรับแสงมาสัมผัสฟิล์มได้มากหรือน้อยที่เป็นผลมาจากเลนส์แต่ละเลนส์\n</p>\n<p>\n4.การปรับความคมชัด บริเวณใกล้กับวงแหวนปรับตั้ง F-stop จะมีวงแหวนอีกอันหนึ่งรอบเลนส์สำปรับความคมชัด ซึ่งมีตัวเลขแสดงระยะทางจากวัตถุที่จะถ่ายทำถึงผิวแผ่นฟิล์มกล้องภาพยนตร์สลักอยู่บนวงแหวน ตั้งแต่ระยะใกล้สุดจนถึงสุด ในกล้องภาพยนตร์สมัยใหม่ผู้ถ่านทำภาพยนตร์สามารถปรับความคมชัดโดยการมองภาพในช่องมองภาพแบบกระจกสะท้อนแล้วปรับหมุนวงแหวนปรับความคมชัด (Focus ring ) พร้อมๆ กัน เมื่อมองภาพในช่องมองภาพว่าชัดเจนดีก็ลงมือถ่ายทำได้<br />\nการปรับแสงและเงาเพื่อความคมชัด\n</p>\n<p>\n<br />\nการใช้และการบำรุงรักษาเลนส์ที่ใช้ในการถ่ายทำภาพยนตร์ <br />\nการบำรุงรักษาเลนส์นั้นคงทำอะไรไม่ได้มากไปกว่าการทำความสะอาดและป้องกันไม่ให้เลนส์สกปรก หรือเป็นรอยขีดข่วนเท่านั้นเอง เพราะหากเลนส์เป็นรอย แตกหรือหลุดจากฐานเลนส์ก็คงทำอะไรไม่ได้นอกจากโยนทิ้งไป ดังนั้น การทำความสะอาดเลนส์ การเก็บ การถอด-ใส่เลนส์นั้นจะต้องทำด้วยความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง<br />\nประเภทของฟิล์ม<br />\nฟิล์มที่ใช้ในการถ่ายภาพโดยทั่วไป อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ฟิล์มถ่ายภาพขาวดำ และฟิล์มถ่ายภาพสี<br />\nฟิล์มถ่ายภาพขาว-ดำ (Black and white film) แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ\n</p>\n<p>\n1.ฟิล์มเนกาทีฟ (Negative film) คือ ฟิล์มขาว-ดำที่ใช้ถ่ายภาพโดยทั่วไป มีเยื่อไวแสงซึ่งให้สีตรงกันข้ามกับสีของวัตถุ หลังจากถ่ายภาพไปแล้ว นำฟิล์มไปผ่านกระบวนการล้างฟิล์ม ลักษณะของภาพจะเป็นเนกาทีฟ คือ ขาวเป็นดำ และดำเป็นขาว เมื่อนำฟิล์มไปอัดขยายลงบนกระดาษอัดภาพ จะได้ภาพที่มีสีตรงกับความเป็นจริงของวัตถุ<br />\nฟิล์มสี\n</p>\n<p>\n<br />\n2. ฟิล์มโพสิทิฟ (Positive film) เป็นฟิล์มขาว-ดำ ใช้สำหรับ Copy จากฟิล์มเนกาทีฟให้เป็นฟิล์มโพสิทีฟหรือสไลด์ขาว-ดำ\n</p>\n<p>\n3.ฟิล์มริเวอร์ซัล (Reversal film) คือ ฟิล์มประเภทสไลด์ เป็นฟิล์มโปร่งใส เมื่อถ่ายภาพแล้วนำไปผ่านกระบวนการล้างฟิล์ม จะได้ภาพที่มีลักษณะเหมือนธรรมชาติ<br />\nฟิล์มสี (Color film) แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดเช่นเดียวกัน ได้แก่\n</p>\n<p>\n<br />\n1.ฟิล์มสีเนกาทึฟ(Color negative film) เป็นฟิล์มสีที่ใช้ถ่ายภาพโดยทั่วๆ ไป หลังจากถ่ายภาพแล้ว นำไปผ่านกระบวนการล้างฟิล์ม แล้วนำไปอัดขยายลงในกระดาษอัดภาพ จึงจะได้ภาพที่มีสีตรงกันตามความเป็นจริงของวัตถุที่ถ่าย\n</p>\n<p>\n2.ฟิล์มโพสิทีฟ (Color positive film) เป็นฟิล์มที่ใช้สำหรับ Copy จากฟิล์มเนกาทีฟเป็นฟิล์มโพสิทีฟ คือสไลด์สี\n</p>\n<p>\n3.ฟิล์มริเวอร์ซัล (Color reversal film) เป็นฟิล์มสีที่เมื่อนำไปถ่ายภาพ แล้วผ่านกระบวนการล้างฟิล์มแล้ว จะได้ภาพโปร่งใสที่มีสีตรงตามความเป็นจริงของวัตถุ หรือที่เรียกว่าฟิล์มสีสไลด์นั่นเอง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #c0c0c0\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/77185\"><img border=\"0\" width=\"133\" src=\"/files/u31565/019920.jpg\" height=\"148\" /></a>\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1727563888, expire = 1727650288, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f0013ca4ab1d314c1cb30384a1c55afa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์การถ่ายภาพยนตร์

รูปภาพของ sss27785

                         http://www.thaipr.net/dsppic/dsppic.aspx?filesid=3F72C730C8155AC443C2605025D46BDB

กล้องภาพยนตร์
ความจริงประการหนึ่งในความหมายของคำว่า "ภาพยนตร์" คือ "ภาพนิ่ง" หลายๆ ภาพเรียงติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อนำเอาภาพนิ่งเหล่านั้นมาฉายดูทีละภาพด้วยอัตราความเร็วในการฉายต่อภาพเท่าๆ กัน ภาพนิ่งเหล่านั้นจะกลายเป็นภาพเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องกันเป็นธรรมชาติ ดังนั้นการสร้างกล้องภาพยนตร์จึงใช้หลักการเบื้องต้นอันเดียวกันกับการสร้างกล้องถ่ายภาพ
อย่างไรก็ตามก็มีส่วนที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด คือ กล้องถ่ายภาพออกแบบสร้างขึ้นเพื่อบันทึกภาพที่ละภาพลงบนฟิล์ม เมื่อบันทึกภาพหนึ่งเรียบร้อยแล้วจะต้องเคลื่อนฟิล์มที่บันทึกแล้วให้ผ่านหน้ากล้องไปโดยใช้มือหมุนหรือเคลื่อนฟิล์มอัตโนมัติ (Motor drive) ในขณะที่กล้องภาพยนตร์จะมีกลไกลภายในกล้องบังคับควบคุมให้ฟิล์มเคลื่อนที่เพื่อบันทึกภาพที่ละภาพอย่างต่อเนื่อง การทำงานของกล้องภาพยนตร์ขณะบันทึกภาพนั้นมีระบบการทำงานสัมพันธ์กันอย่างกลมกลืนเหมือนกลไกการทำงานของนาฬิกา ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ ได้แก่
กล้องภาพยนตร์


1. โครงสร้างของกล้องถ่ายภาพยนตร์

1. กล้องถ่ายภาพสามารถบันทึกภาพที่ละภาพโดยผู้ถ่ายเป็นผู้เลื่อนฟิล์มภาพต่อไปด้วยตนเอง ส่วนกล้องภาพยนตร์แม้จะบันทึกภาพทีละภาพเช่นเดียวกันแต่ทำงานได้อย่างต่อเนื่องและรวดเร็วโดยมีกลไกขับเคลื่อนฟิล์มที่ทำงานสัมพันธ์กับชัตเตอร์

2. กล้องภาพยนตร์ประกอบด้วยโครงสร้างหลัก 5 ระบบ คือ

2.1 กลไกการเคลื่อนที่ของฟิล์มและการบันทึกภาพ มีตัวหนามเตย ตัวกวักหมุนยึดฟิล์ม แผ่นกดฟิล์ม ประตูฟิล์มและชัตเตอร์ทำงานเข้ากันและสัมพันธ์กันได้ด้วยดีเหมือนกลไกของนาฬิกา

2.2 มอร์เตอร์ เป็นแหล่งพลังงานที่ทำให้กลไกต่างๆทำงานได้ มอร์เตอร์อาจคับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าหรือลาน

2. ระบบควบคุมการทำงานต่างๆ ภายในกล่องภาพยนตร์ เช่น สวิตช์เปิด-ปิดปุ่มควบคุมความเร็วชัตเตอร์
ระบบช่องดูภาพ (Viewing System)


ระบบช่องดูภาพของกล้องภาพยนตร์มีการทำงานควบคุมไปกับการทำงานของเลนล์โดยทั่วไประบบช่องดูภาพของกล้องภาพยนตร์แต่ละกล้องนั้นมักจะมีความแตกต่างกันไปตามรุ่นที่ผลิต ประเภท และยี่ห้อของกล้องภาพยนตร์นั้นๆ
ช่องดูภาพ


2. เลนส์ที่ใช้ในการถ่ายทำภาพยนตร์

เลนส์ (Lens) หมายถึง วัตถุทรงกลมเมื่อมองด้านข้างจะมีลักษณะแบนรี ทำด้วยกระจกใสหรือวัตถุโปร่งใสที่ยอมให้แสงผ่านไปได้ ผิวนอกเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้านอาจจะโค้งนูนออกมาจากริมทั้งสองหนานูนบริเวณกลาง บ้างบริเวณริม หรืออาจจะเว้าเข้าไปจากริมทั้งสองทำให้หนาบริเวณริม ทำให้เลนส์มีคุณสมบัติสามารถรวมแสงและสร้างภาพได้ดีหรือกระจายแสง แต่สร้างภาพไม่ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะการนูนหรือการเว้าของเลนส์นั้นๆ
คุณสมบัติของเลนส์ที่ใช้ในการถ่ายทำภาพยนตร์
เมื่อกล่าวถึงคุณสมบัติของเลนส์ ย่อมหมายถึง ความสามารถในการทำงานของเลนส์แต่ละเลนส์ โดยจะต้องมีองค์ประกอบเป็นโครงสร้างของระบบการทำงานที่สัมพันธ์กัน ซึ่งประกอบด้วย


1. ความยาวโฟกัส หมายถึง ระยะทางจากจุดกึ่งกลางของเลนส์นั้นไปถึงผิวแผ่นฟิล์ม (Film Plane ) ในกล้อง เมื่อปรับความชัดของเลนส์นั้นที่ระยะไกลสุดความยาวโฟกัสมากสามารถรับภาพได้มุมภาพแคบกว่าเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสสั้น

2. รูรับแสง เลนส์สามารถรับแสงตามหลักการพื้นฐานของรูเข็มของกล้องรูเข็ม รูที่เลนส์ยอมให้แสงผ่านเข้ามาได้เรียกว่า " รูรับแสง" เลนส์สำหรับกล้องภาพยนตร์สามารถปรับให้เล็กลงและกว้างออกได้ โดยมีไดอะแฟรม (Diaphragm) ซึ่งมีลักษณะคล้ายๆ กับเกล็ดปลาซ้อนกันอยู่เป็นตัวควบคุมไดอะเฟรมนี้จะขยายกว้างและหดเล็กลงได้โดยการปรับแสงกว้างออกหรือเล็กลงเท่าใดก็เพียงปรับหมุนวงแหวนตั้งหน้ากล้องนี้ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ
รูหน้ากล้องเมื่อปรับค่า F-number ต่างๆกัน


3. ความไวแสงของเลนส์ หมายถึง ความสามารถในการเปิดรูรับแสงได้กว้างสุดเพื่อรับแสงมาสัมผัสฟิล์มได้มากหรือน้อยที่เป็นผลมาจากเลนส์แต่ละเลนส์

4.การปรับความคมชัด บริเวณใกล้กับวงแหวนปรับตั้ง F-stop จะมีวงแหวนอีกอันหนึ่งรอบเลนส์สำปรับความคมชัด ซึ่งมีตัวเลขแสดงระยะทางจากวัตถุที่จะถ่ายทำถึงผิวแผ่นฟิล์มกล้องภาพยนตร์สลักอยู่บนวงแหวน ตั้งแต่ระยะใกล้สุดจนถึงสุด ในกล้องภาพยนตร์สมัยใหม่ผู้ถ่านทำภาพยนตร์สามารถปรับความคมชัดโดยการมองภาพในช่องมองภาพแบบกระจกสะท้อนแล้วปรับหมุนวงแหวนปรับความคมชัด (Focus ring ) พร้อมๆ กัน เมื่อมองภาพในช่องมองภาพว่าชัดเจนดีก็ลงมือถ่ายทำได้
การปรับแสงและเงาเพื่อความคมชัด


การใช้และการบำรุงรักษาเลนส์ที่ใช้ในการถ่ายทำภาพยนตร์
การบำรุงรักษาเลนส์นั้นคงทำอะไรไม่ได้มากไปกว่าการทำความสะอาดและป้องกันไม่ให้เลนส์สกปรก หรือเป็นรอยขีดข่วนเท่านั้นเอง เพราะหากเลนส์เป็นรอย แตกหรือหลุดจากฐานเลนส์ก็คงทำอะไรไม่ได้นอกจากโยนทิ้งไป ดังนั้น การทำความสะอาดเลนส์ การเก็บ การถอด-ใส่เลนส์นั้นจะต้องทำด้วยความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง
ประเภทของฟิล์ม
ฟิล์มที่ใช้ในการถ่ายภาพโดยทั่วไป อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ฟิล์มถ่ายภาพขาวดำ และฟิล์มถ่ายภาพสี
ฟิล์มถ่ายภาพขาว-ดำ (Black and white film) แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ

1.ฟิล์มเนกาทีฟ (Negative film) คือ ฟิล์มขาว-ดำที่ใช้ถ่ายภาพโดยทั่วไป มีเยื่อไวแสงซึ่งให้สีตรงกันข้ามกับสีของวัตถุ หลังจากถ่ายภาพไปแล้ว นำฟิล์มไปผ่านกระบวนการล้างฟิล์ม ลักษณะของภาพจะเป็นเนกาทีฟ คือ ขาวเป็นดำ และดำเป็นขาว เมื่อนำฟิล์มไปอัดขยายลงบนกระดาษอัดภาพ จะได้ภาพที่มีสีตรงกับความเป็นจริงของวัตถุ
ฟิล์มสี


2. ฟิล์มโพสิทิฟ (Positive film) เป็นฟิล์มขาว-ดำ ใช้สำหรับ Copy จากฟิล์มเนกาทีฟให้เป็นฟิล์มโพสิทีฟหรือสไลด์ขาว-ดำ

3.ฟิล์มริเวอร์ซัล (Reversal film) คือ ฟิล์มประเภทสไลด์ เป็นฟิล์มโปร่งใส เมื่อถ่ายภาพแล้วนำไปผ่านกระบวนการล้างฟิล์ม จะได้ภาพที่มีลักษณะเหมือนธรรมชาติ
ฟิล์มสี (Color film) แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดเช่นเดียวกัน ได้แก่


1.ฟิล์มสีเนกาทึฟ(Color negative film) เป็นฟิล์มสีที่ใช้ถ่ายภาพโดยทั่วๆ ไป หลังจากถ่ายภาพแล้ว นำไปผ่านกระบวนการล้างฟิล์ม แล้วนำไปอัดขยายลงในกระดาษอัดภาพ จึงจะได้ภาพที่มีสีตรงกันตามความเป็นจริงของวัตถุที่ถ่าย

2.ฟิล์มโพสิทีฟ (Color positive film) เป็นฟิล์มที่ใช้สำหรับ Copy จากฟิล์มเนกาทีฟเป็นฟิล์มโพสิทีฟ คือสไลด์สี

3.ฟิล์มริเวอร์ซัล (Color reversal film) เป็นฟิล์มสีที่เมื่อนำไปถ่ายภาพ แล้วผ่านกระบวนการล้างฟิล์มแล้ว จะได้ภาพโปร่งใสที่มีสีตรงตามความเป็นจริงของวัตถุ หรือที่เรียกว่าฟิล์มสีสไลด์นั่นเอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 289 คน กำลังออนไลน์