• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bdaf4e5033f0037225b3111800c72000' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"/node/76585\" title=\"HOME\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u30458/bg6.gif\" height=\"279\" /></a><br />\n     \n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong>เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 เยอรมนีรวมไปถึงกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะในทวีปยุโรปและฟินแลนด์</strong> ได้โจมตีสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ซึ่งเป็นการโจมตีที่เหนือความคาดหมาย โดยมีเป้าหมายไปยังรัฐบอลติก มอสโก และยูเครน และเป้าหมายสูงสุดใกล้กับแนวเอ-เอ ซึ่งเป็นแนวที่เชื่อมต่อระหว่างทะเลสาบแคสเปียนกับทะเลขาว ส่วนวัตถุประสงค์ของฮิตเลอร์ คือ การทำลายอำนาจทางการทหารของสหภาพโซเวียต การกวาดล้างระบอบคอมมิวนิสต์ และสร้าง &quot;พื้นที่อยู่อาศัย&quot; โดยการใช้กำลังแย่งชิงดินแดนมาจากชนพื้นเมืองเดิม และเป็นการรับประกันการสร้างหนทางซึ่งนำไปสู่การยึดครองทรัพยากรที่จำเป็นต่อทำลายคู่แข่งของเยอรมนีที่ยังเหลืออยู่\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\nถึงแม้ว่าฝ่ายกองทัพแดงจะมีการเตรียมการป้องกันทางยุทธศาสตร์ไว้แล้วก็ตาม แต่ <strong>ระหว่างช่วงฤดูร้อน กองทัพฝ่ายอักษะได้รับชัยชนะมาตลอด สามารถยึดครองดินแดนอันกว้างใหญ่ และสร้างความเสียหายทั้งทางด้านทรัพยากรและกำลังพลให้แก่สหภาพโซเวียตเป็นอย่างมาก</strong> สามารถปิดล้อมและทำลายกองทัพโซเวียตได้ถึงสี่กองทัพ และทำให้การมุ่งหน้าต่อไปยังคาบสมุทรไครเมียและเขตอุตสาหกรรมพัฒนาแล้วในยูเครนตะวันออกเป็นไปได้\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\nในเดือนกรกฎาคม สหราชอาณาจักรและสหภาพโซเวียตก็ได้รวมตัวกันจัดตั้งพันธมิตรทางทหารเพื่อต่อต้านเยอรมนี และในช่วงเวลาสั้น ๆ ระหว่าง การรุกรานอิหร่านร่วมกันเพื่อรักษาฉนวนเปอร์เซียและแหล่งน้ำมันในอิหร่าน ในเดือนสิงหาคม สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาได้ร่วมมือกันตั้งกฎบัตรแอตแลนติก\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\nเมื่อถึงต้นเดือนธันวาคม สหภาพโซเวียตได้รับกองหนุนที่ระดมมาจากพรมแดนด้านตะวันออกซึ่งติดกับเขตแมนจูกัวของญี่ปุ่น ทำให้กองทัพโซเวียตมีปริมาณกำลังพลที่เทียบได้กับกองทัพฝ่ายอักษะ  ในวันที่ 5 ธันวาคม กองทัพโซเวียตก็ทำการโจมตีกลับครั้งใหญ่ ตามแนวรบที่ยาวต่อเนื่องกันกว่า 1,000 กิโลเมตร และสามารถผลักดันกองทัพอักษะได้เป็นระยะทางถึง 100-250 กิโลเมตร\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\nความสำเร็จของเยอรมนีในทวีปยุโรปได้กระตุ้นให้ญี่ปุ่นเพิ่มการกดดันต่อรัฐบาลยุโรปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ญี่ปุ่น เลือกเข้ายึดแหล่งทรัพยากร(น้ำมัน จากอเมริกา)ที่ต้องการด้วยกำลังทหาร\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\nในวันที่ 7 ธันวาคม <strong>ญี่ปุ่นได้โจมตีเอเชียอาคเนย์และมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางในเวลาเดียวกัน รวมไปถึงโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล  และยกพลขึ้นบกในไทยและมาลายา </strong>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\nจาก<strong>การโจมตีครั้งนี้ ทำให้สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย จีนและฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกประกาศสงครามกับญี่ปุ่นทันที</strong> ส่วนทางด้านเยอรมนี อิตาลีและกลุ่มประเทศตามสนธิสัญญาสามฝ่ายก็ได้ตอบสนองโดยการประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพโซเวียตและจีน ร่วมด้วยยี่สิบสองรัฐบาลซึ่งเป็นประเทศเล็กหรือเป็นรัฐบาลพลัดถิ่น ได้ร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\nแต่ความสำเร็จที่แท้จริงเพียงอย่างเดียวของฝ่ายสัมพันธมิตรเกิดขึ้นในยุทธการชิงชาครั้งที่สองในตอนต้นของเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 เท่านั้น การเอาชนะข้าศึกที่ไม่ทันตั้งตัวนี้ ทำให้ญี่ปุ่นมีความมั่นใจในตัวเองมากเกินไป และขยายตัวมากเกินไป\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\nทางด้านเยอรมนีก็สามารถทำการรุกต่อได้เช่นเดียวกัน ถึงแม้ว่าจะประสบความสูญเสียเป็นจำนวนมาก แต่กองทัพฝ่ายอักษะก็สามารถหยุดยั้งการรุกครั้งใหญ่ของโซเวียตได้ทางตอนกลางและตอนใต้\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\n \n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\nในวันที่ 7 ธันวาคม <strong>ญี่ปุ่นได้โจมตีเอเชียอาคเนย์และมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางในเวลาเดียวกัน</strong> รวมไปถึงโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล  และยกพลขึ้นบกในไทยและมาลายาจากการโจมตีครั้งนี้ ทำให้สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย จีนและฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกประกาศสงครามกับญี่ปุ่นทันที ส่วนทางด้านเยอรมนี อิตาลีและกลุ่มประเทศตามสนธิสัญญาสามฝ่ายก็ได้ตอบสนองโดยการประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพโซเวียตและจีน ร่วมด้วยยี่สิบสองรัฐบาลซึ่งเป็นประเทศเล็กหรือเป็นรัฐบาลพลัดถิ่น ได้ร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ แต่ความสำเร็จที่แท้จริงเพียงอย่างเดียวของฝ่ายสัมพันธมิตรเกิดขึ้นในยุทธการชิงชาครั้งที่สองในตอนต้นของเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 เท่านั้นการเอาชนะข้าศึกที่ไม่ทันตั้งตัวนี้ ทำให้ญี่ปุ่นมีความมั่นใจในตัวเองมากเกินไป และขยายตัวมากเกินไป\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\nทางด้านเยอรมนีก็สามารถทำการรุกต่อได้เช่นเดียวกัน ถึงแม้ว่าจะประสบความสูญเสียเป็นจำนวนมาก แต่กองทัพฝ่ายอักษะก็สามารถหยุดยั้งการรุกครั้งใหญ่ของโซเวียตได้ทางตอนกลางและตอนใต้\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u30458/Japanese_troops_mopping_up_in_Kuala_Lumpur.jpg\" height=\"425\" style=\"width: 498px; height: 381px\" /></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">g/wikipedia/commons/1/1f/Japanese_troops_mopping_up_in_Kuala_Lumpur.jpg</span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"/node/76634\" title=\"BLACK\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u30458/ii.jpg\" height=\"100\" style=\"width: 82px; height: 92px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716260048, expire = 1716346448, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bdaf4e5033f0037225b3111800c72000' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เมื่อสงครามลุกลาม

รูปภาพของ sss2771


     

 

 

 

เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 เยอรมนีรวมไปถึงกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะในทวีปยุโรปและฟินแลนด์ ได้โจมตีสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ซึ่งเป็นการโจมตีที่เหนือความคาดหมาย โดยมีเป้าหมายไปยังรัฐบอลติก มอสโก และยูเครน และเป้าหมายสูงสุดใกล้กับแนวเอ-เอ ซึ่งเป็นแนวที่เชื่อมต่อระหว่างทะเลสาบแคสเปียนกับทะเลขาว ส่วนวัตถุประสงค์ของฮิตเลอร์ คือ การทำลายอำนาจทางการทหารของสหภาพโซเวียต การกวาดล้างระบอบคอมมิวนิสต์ และสร้าง "พื้นที่อยู่อาศัย" โดยการใช้กำลังแย่งชิงดินแดนมาจากชนพื้นเมืองเดิม และเป็นการรับประกันการสร้างหนทางซึ่งนำไปสู่การยึดครองทรัพยากรที่จำเป็นต่อทำลายคู่แข่งของเยอรมนีที่ยังเหลืออยู่

 

ถึงแม้ว่าฝ่ายกองทัพแดงจะมีการเตรียมการป้องกันทางยุทธศาสตร์ไว้แล้วก็ตาม แต่ ระหว่างช่วงฤดูร้อน กองทัพฝ่ายอักษะได้รับชัยชนะมาตลอด สามารถยึดครองดินแดนอันกว้างใหญ่ และสร้างความเสียหายทั้งทางด้านทรัพยากรและกำลังพลให้แก่สหภาพโซเวียตเป็นอย่างมาก สามารถปิดล้อมและทำลายกองทัพโซเวียตได้ถึงสี่กองทัพ และทำให้การมุ่งหน้าต่อไปยังคาบสมุทรไครเมียและเขตอุตสาหกรรมพัฒนาแล้วในยูเครนตะวันออกเป็นไปได้


ในเดือนกรกฎาคม สหราชอาณาจักรและสหภาพโซเวียตก็ได้รวมตัวกันจัดตั้งพันธมิตรทางทหารเพื่อต่อต้านเยอรมนี และในช่วงเวลาสั้น ๆ ระหว่าง การรุกรานอิหร่านร่วมกันเพื่อรักษาฉนวนเปอร์เซียและแหล่งน้ำมันในอิหร่าน ในเดือนสิงหาคม สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาได้ร่วมมือกันตั้งกฎบัตรแอตแลนติก

 


เมื่อถึงต้นเดือนธันวาคม สหภาพโซเวียตได้รับกองหนุนที่ระดมมาจากพรมแดนด้านตะวันออกซึ่งติดกับเขตแมนจูกัวของญี่ปุ่น ทำให้กองทัพโซเวียตมีปริมาณกำลังพลที่เทียบได้กับกองทัพฝ่ายอักษะ  ในวันที่ 5 ธันวาคม กองทัพโซเวียตก็ทำการโจมตีกลับครั้งใหญ่ ตามแนวรบที่ยาวต่อเนื่องกันกว่า 1,000 กิโลเมตร และสามารถผลักดันกองทัพอักษะได้เป็นระยะทางถึง 100-250 กิโลเมตร


ความสำเร็จของเยอรมนีในทวีปยุโรปได้กระตุ้นให้ญี่ปุ่นเพิ่มการกดดันต่อรัฐบาลยุโรปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ญี่ปุ่น เลือกเข้ายึดแหล่งทรัพยากร(น้ำมัน จากอเมริกา)ที่ต้องการด้วยกำลังทหาร


ในวันที่ 7 ธันวาคม ญี่ปุ่นได้โจมตีเอเชียอาคเนย์และมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางในเวลาเดียวกัน รวมไปถึงโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล  และยกพลขึ้นบกในไทยและมาลายา

 

จากการโจมตีครั้งนี้ ทำให้สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย จีนและฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกประกาศสงครามกับญี่ปุ่นทันที ส่วนทางด้านเยอรมนี อิตาลีและกลุ่มประเทศตามสนธิสัญญาสามฝ่ายก็ได้ตอบสนองโดยการประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพโซเวียตและจีน ร่วมด้วยยี่สิบสองรัฐบาลซึ่งเป็นประเทศเล็กหรือเป็นรัฐบาลพลัดถิ่น ได้ร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ

 

แต่ความสำเร็จที่แท้จริงเพียงอย่างเดียวของฝ่ายสัมพันธมิตรเกิดขึ้นในยุทธการชิงชาครั้งที่สองในตอนต้นของเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 เท่านั้น การเอาชนะข้าศึกที่ไม่ทันตั้งตัวนี้ ทำให้ญี่ปุ่นมีความมั่นใจในตัวเองมากเกินไป และขยายตัวมากเกินไป

ทางด้านเยอรมนีก็สามารถทำการรุกต่อได้เช่นเดียวกัน ถึงแม้ว่าจะประสบความสูญเสียเป็นจำนวนมาก แต่กองทัพฝ่ายอักษะก็สามารถหยุดยั้งการรุกครั้งใหญ่ของโซเวียตได้ทางตอนกลางและตอนใต้


 

ในวันที่ 7 ธันวาคม ญี่ปุ่นได้โจมตีเอเชียอาคเนย์และมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางในเวลาเดียวกัน รวมไปถึงโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล  และยกพลขึ้นบกในไทยและมาลายาจากการโจมตีครั้งนี้ ทำให้สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย จีนและฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกประกาศสงครามกับญี่ปุ่นทันที ส่วนทางด้านเยอรมนี อิตาลีและกลุ่มประเทศตามสนธิสัญญาสามฝ่ายก็ได้ตอบสนองโดยการประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพโซเวียตและจีน ร่วมด้วยยี่สิบสองรัฐบาลซึ่งเป็นประเทศเล็กหรือเป็นรัฐบาลพลัดถิ่น ได้ร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ แต่ความสำเร็จที่แท้จริงเพียงอย่างเดียวของฝ่ายสัมพันธมิตรเกิดขึ้นในยุทธการชิงชาครั้งที่สองในตอนต้นของเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 เท่านั้นการเอาชนะข้าศึกที่ไม่ทันตั้งตัวนี้ ทำให้ญี่ปุ่นมีความมั่นใจในตัวเองมากเกินไป และขยายตัวมากเกินไป

 

 

 

ทางด้านเยอรมนีก็สามารถทำการรุกต่อได้เช่นเดียวกัน ถึงแม้ว่าจะประสบความสูญเสียเป็นจำนวนมาก แต่กองทัพฝ่ายอักษะก็สามารถหยุดยั้งการรุกครั้งใหญ่ของโซเวียตได้ทางตอนกลางและตอนใต้

 

 

 

g/wikipedia/commons/1/1f/Japanese_troops_mopping_up_in_Kuala_Lumpur.jpg

 

 

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 373 คน กำลังออนไลน์