• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9dcae04a47a94267cf004b7fcb423ab0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n  \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"251\" width=\"599\" src=\"/files/u30449/spacecraft1.gif\" border=\"0\" style=\"width: 595px; height: 181px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/70405\"><img height=\"198\" width=\"298\" src=\"/files/u30449/a01_13.gif\" border=\"0\" style=\"width: 146px; height: 100px\" /></a>       <a href=\"/node/70425\"><img height=\"198\" width=\"298\" src=\"/files/u30449/a02_14.gif\" border=\"0\" style=\"width: 149px; height: 100px\" /></a>     <a href=\"/node/76336\"><img height=\"198\" width=\"298\" src=\"/files/u30449/a03_14.gif\" border=\"0\" style=\"width: 152px; height: 106px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/70420\"><img height=\"198\" width=\"298\" src=\"/files/u30449/a04_13.gif\" border=\"0\" style=\"width: 143px; height: 98px\" /></a>      <a href=\"/node/76339\"><img height=\"198\" width=\"298\" src=\"/files/u30449/a05_13.gif\" border=\"0\" style=\"width: 168px; height: 103px\" /></a>     <a href=\"/node/76332\"><img height=\"198\" width=\"298\" src=\"/files/u30449/a06_13.gif\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 103px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"28\" width=\"500\" src=\"/files/u30449/s7_12.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\nดาวเทียมและยานอวกาศ,,\n</p>\n<p>\nดาวเทียม คือ วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นไปโคจรรอบโลก เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การรายงานสภาพอากาศ หรือเพื่อการลาดตระเวนทางทหาร ดาวเทียมเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ จะทำหน้าที่ในการ สังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงวัตถุประหลาดต่างๆ ในกาแลกซี่ หรือระบบสุริยจักรวาล\n</p>\n<p>\nดาวเทียม   ประเภทของดาวเทียมบางประเภท เช่น\n</p>\n<p>\n        1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา\n</p>\n<p>\n        2. ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์\n</p>\n<p>\n        3. ดาวเทียมชีวภาพ\n</p>\n<p>\n        4. ดาวเทียมทางการทหาร\n</p>\n<p>\n        5. ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก\n</p>\n<p>\n        6. ดาวเทียมสื่อสารโทรคมนาคม\n</p>\n<p>\n        7. ดาวเทียมสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์\n</p>\n<p>\n        8. ดาวเทียมห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>การส่งดาวเทียมและยานอวกาศจากพื้นโลกขึ้นสู่อวกาศ</strong> ต้องต่อสู้กับแรงดึงดูดของโลก ดาวเทียมและยานอวกาศต้องเอาชนะ แรงดึงดูดของโลก โดยอาศัยจรวดที่มีแรงขับดันและความเร็วสูง ความเร็วของจรวดต้องมากกว่า 7.91 กิโลเมตรต่อวินาที ยานอวกาศจึงจะสามารถขึ้นไปสู่อวกาศและโคจรรอบโลกในระดับต่ำที่สุด (0 กิโลเมตร) ได้ ถ้าความเร็วมากว่านี้ ยานจะขึ้นไป โคจรอยู่ในระดับที่สูงกว่า เช่น ถ้าหากความเร็วจรวดเป็น 8.66 กิโลเมตรต่อวินาที ยานจะขึ้นไปได้สูง 1,609 กิโลเมตร ถ้าหากจะให้ ยานหนีออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย์ จรวดที่พายานออกไปต้องมีความเร็วที่ผิวโลกมากกว่า 11.2 กิโลเมตรต่อวินาที ซึ่งเรียกว่า ความเร็วหลุดพ้น (Escape Velocity)หรือความเร็วผละหนีความเร็วหลุดพ้นจากโลกจะลดต่ำลงเมื่อห่างจากโลกมากขึ้น ดังตารางความสูงจากผิวโลกและความเร็วผละหนี\n</p>\n<p>\n<strong><u>ระบบการขนส่งอวกาศ</u></strong>\n</p>\n<p>\n การขนส่งดาวเทียมและยานอวกาศแต่ละครั้ง  ทั้งดาวเทียมและจรวดนำส่ง ไม่มีส่วนใดนำกลับมาใช้ได้อีก เป็นการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการสำรวจอวกาศ ระบบการขนส่งอวกาศ   ถูกพัฒนาและออกแบบให้สามารถนำชิ้นส่วนกลับมาใช้ใหม่ให้มากที่สุดในปี ค.ศ. 1972 ประธานาธิบดีนิกสัน ได้ตัดสินใจปิดโครงการอพอลโลก่อนกำหนด   ในปีเดียวกันนั้นนิกสันอนุมัติโครงการพัฒนากระสวยอวกาศ  มีนักบินควบคุมการบิน และสามารถนำกลับมาใช้บินขึ้นสู่อวกาศได้อีกเรื่อยไป  ยานอวกาศแบบนี้เรียกว่า กระสวยอวกาศ มีจุดมุ่งหมายใช้เป็นประบบขนส่งอวกาศ ( Spare Transporation System เรียกย่อ ๆ ว่า STS)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"275\" width=\"183\" src=\"/files/u30449/images.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\nยานขนส่งอวกาศ\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาhttp://thaiastro.nectec.or.th/news/2003/special/img/liftoff.jpg\n</p>\n<p>\nระบบขนส่งอวกาศประกอบด้วยส่วนประกอบใหญ่ ๆ   3   ส่วน คือ <br />\n         1.   ยานขนส่งอวกาศ <br />\n         2.   ถังเชื้อเพลิงภายนอก <br />\n         3.   จรวดเขื้อเพลิง\n</p>\n<p>\nขั้นตอนการบินของยานขนส่งอากาศมีดังนี้ <br />\n         1.   ใช้จรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็ง   2   ลำเป็นพลังงานในการส่งยานขนส่งอากาศขึ้นจากฐาน <br />\n         2.   เมื่อจรวดขับดันใช้เชื้อเพลิงหมดแล้วจะแยกตัวออกและตกลงสู่พื้นน้ำ และใช้ร่มชูชีพเพื่อนำจรวดขับดันนี้  นำกลับไปยังฐานส่งจรวด เพื่อซ่อมแซมแก้ไขใช้ในโอกาสต่อไป <br />\n        3.   ยานขนส่งอากาศคงเคลื่อนที่สูงขึ้นต่อไป   โดยเชื้อเพลิงที่เป็นของเหลวบรรจุในถังเชื้อเพลิงภายนอกให้กับเครื่องยนต์จรวด 3 เครื่อง <br />\n        4.   ถังเชื้อเพลิงภายนอกจะหลุดออกก่อนที่ยานขนส่งอวกาศจะไปถึงวงโคจรรอบโลก และถูกเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ ไม่มีการนำกลับมาใช้งานอีกต่อไป\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/71580\"><img height=\"164\" width=\"334\" src=\"/files/u30449/home.gif\" align=\"right\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" style=\"width: 263px; height: 120px\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/76339\"><img height=\"152\" width=\"306\" src=\"/files/u30449/buttonBA.gif\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n', created = 1715763619, expire = 1715850019, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9dcae04a47a94267cf004b7fcb423ab0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวเทียมและยานอวกาศ,,

รูปภาพของ sss27861

  

           
          

ดาวเทียมและยานอวกาศ,,

ดาวเทียม คือ วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นไปโคจรรอบโลก เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การรายงานสภาพอากาศ หรือเพื่อการลาดตระเวนทางทหาร ดาวเทียมเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ จะทำหน้าที่ในการ สังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงวัตถุประหลาดต่างๆ ในกาแลกซี่ หรือระบบสุริยจักรวาล

ดาวเทียม   ประเภทของดาวเทียมบางประเภท เช่น

        1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

        2. ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์

        3. ดาวเทียมชีวภาพ

        4. ดาวเทียมทางการทหาร

        5. ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก

        6. ดาวเทียมสื่อสารโทรคมนาคม

        7. ดาวเทียมสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์

        8. ดาวเทียมห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์


การส่งดาวเทียมและยานอวกาศจากพื้นโลกขึ้นสู่อวกาศ ต้องต่อสู้กับแรงดึงดูดของโลก ดาวเทียมและยานอวกาศต้องเอาชนะ แรงดึงดูดของโลก โดยอาศัยจรวดที่มีแรงขับดันและความเร็วสูง ความเร็วของจรวดต้องมากกว่า 7.91 กิโลเมตรต่อวินาที ยานอวกาศจึงจะสามารถขึ้นไปสู่อวกาศและโคจรรอบโลกในระดับต่ำที่สุด (0 กิโลเมตร) ได้ ถ้าความเร็วมากว่านี้ ยานจะขึ้นไป โคจรอยู่ในระดับที่สูงกว่า เช่น ถ้าหากความเร็วจรวดเป็น 8.66 กิโลเมตรต่อวินาที ยานจะขึ้นไปได้สูง 1,609 กิโลเมตร ถ้าหากจะให้ ยานหนีออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย์ จรวดที่พายานออกไปต้องมีความเร็วที่ผิวโลกมากกว่า 11.2 กิโลเมตรต่อวินาที ซึ่งเรียกว่า ความเร็วหลุดพ้น (Escape Velocity)หรือความเร็วผละหนีความเร็วหลุดพ้นจากโลกจะลดต่ำลงเมื่อห่างจากโลกมากขึ้น ดังตารางความสูงจากผิวโลกและความเร็วผละหนี

ระบบการขนส่งอวกาศ

 การขนส่งดาวเทียมและยานอวกาศแต่ละครั้ง  ทั้งดาวเทียมและจรวดนำส่ง ไม่มีส่วนใดนำกลับมาใช้ได้อีก เป็นการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการสำรวจอวกาศ ระบบการขนส่งอวกาศ   ถูกพัฒนาและออกแบบให้สามารถนำชิ้นส่วนกลับมาใช้ใหม่ให้มากที่สุดในปี ค.ศ. 1972 ประธานาธิบดีนิกสัน ได้ตัดสินใจปิดโครงการอพอลโลก่อนกำหนด   ในปีเดียวกันนั้นนิกสันอนุมัติโครงการพัฒนากระสวยอวกาศ  มีนักบินควบคุมการบิน และสามารถนำกลับมาใช้บินขึ้นสู่อวกาศได้อีกเรื่อยไป  ยานอวกาศแบบนี้เรียกว่า กระสวยอวกาศ มีจุดมุ่งหมายใช้เป็นประบบขนส่งอวกาศ ( Spare Transporation System เรียกย่อ ๆ ว่า STS)

 

ยานขนส่งอวกาศ

ที่มาhttp://thaiastro.nectec.or.th/news/2003/special/img/liftoff.jpg

ระบบขนส่งอวกาศประกอบด้วยส่วนประกอบใหญ่ ๆ   3   ส่วน คือ
         1.   ยานขนส่งอวกาศ
         2.   ถังเชื้อเพลิงภายนอก
         3.   จรวดเขื้อเพลิง

ขั้นตอนการบินของยานขนส่งอากาศมีดังนี้
         1.   ใช้จรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็ง   2   ลำเป็นพลังงานในการส่งยานขนส่งอากาศขึ้นจากฐาน
         2.   เมื่อจรวดขับดันใช้เชื้อเพลิงหมดแล้วจะแยกตัวออกและตกลงสู่พื้นน้ำ และใช้ร่มชูชีพเพื่อนำจรวดขับดันนี้  นำกลับไปยังฐานส่งจรวด เพื่อซ่อมแซมแก้ไขใช้ในโอกาสต่อไป
        3.   ยานขนส่งอากาศคงเคลื่อนที่สูงขึ้นต่อไป   โดยเชื้อเพลิงที่เป็นของเหลวบรรจุในถังเชื้อเพลิงภายนอกให้กับเครื่องยนต์จรวด 3 เครื่อง
        4.   ถังเชื้อเพลิงภายนอกจะหลุดออกก่อนที่ยานขนส่งอวกาศจะไปถึงวงโคจรรอบโลก และถูกเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ ไม่มีการนำกลับมาใช้งานอีกต่อไป

 

 

หน้าแรก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 235 คน กำลังออนไลน์