• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c3be530629fd9e21c72c657c5a658c02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"108\" width=\"277\" src=\"/files/u30451/j.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #99cc00; color: #000000\"><strong><u>ลักษณะทั่วไปของดาวหาง</u></strong></span> <br />\n     ขณะเมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางคล้ายก้อนน้ำแข็งสกปรกของหินและฝุ่นเกาะกัน อยู่ด้วยก๊าซและน้ำที่แข็งตัว โดยทั่วไปแล้วดาวหางมีขนาดใหญ่ไม่กี่กิโลเมตรเท่านั้น เมื่อดาวหางเคลื่อนเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ในระยะวงโคจรของดาวพฤหัสบดี ดาวหางเริ่มอุ่นขึ้น น้ำแข็งรอบนอกระเหิดกลายเป็นก๊าซและฝุ่น เกิดกลุ่มเมฆก๊าซ เป็นบรรยากาศห่อหุ้มขนาดใหญ่ มากจนสามารถครอบคลุมโลกทั้งดวงได้ เรียกว่า <span style=\"color: #ff0000\">โคมา หรือ หัวดาวหาง</span> ล้อมรอบ นิวเคลียส หรือ ใจกลางหัวดาวหาง ซึ่งเป็นก้อนน้ำแข็งในใจกลางและมีขนาดเล็กเพียงไม่กี่กิโลเมตรเท่านั้น <br />\n     นอกจากลมสุริยะและรังสีจากดวงอาทิตย์จะทำให้เกิดโคมาขนาดใหญ่แล้วยังทำให้หางดาวหางพัดกระพือออกไปเป็นลำยาว ดวงหางบางดวงอาจมีหางยาวเป็นหลายล้านกิโลเมตร และแม้ว่าดาวหางจะมีทิศทางเคลื่อนที่ไปอย่างไรก็ตาม แต่หางของดาวหางจะหันหนีออกจากดวงอาทิตย์เสมอ เราเห็นดาวหางสว่างขึ้นได้เพราะส่วนที่เป็น อนุภาคของแข็งและฝุ่นสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ กับทั้งอนุภาคก๊าซที่มีประจุไฟฟ้าในหางดาวหางดูดซับพลังงานจากดวงอาทิตย์เรืองแสงขึ้น\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff6600\"><strong><u>โครงสร้างของดาวหาง</u></strong></span> <br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">- นิวเคลียส</span></strong> เป็นใจกลางหัวดาวหาง ประกอบด้วยธาตุต่าง ๆ จำพวก คาร์บอน ( C )ไฮโดรเจน (H) อ๊อกซิเจน (O ) และ ไนโตรเจน (N ) รวมตัวกัน โดยมีน้ำ เป็นองค์ประกอบสำคัญ นอกจากนั้น ยังมีฝุ่นของซิลิกอน แมกนีเซียม และธาตุหนักอื่น ๆ ฝุ่นเหล่านี้รวมตัวกับน้ำแข็งอัดแน่นอยู่ด้วยกัน ทำให้เกิดเป็นนิวเคลียสสีดำเหมือนถ่าน\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">- โคมา</span></strong> เมื่อดาวหางโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ รังสีความร้อนทำให้น้ำแข็งบริเวณผิวของนิวเคลียส ระเหิดเป็นไอ ก๊าซและฝุ่นผงจึงขยายตัวเป็นบรรยากาศห่อหุ้มนิวเคลียสไว้กลายเป็นหัวดาวหาง เรียกว่า โคมา\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800080\">- หางฝุ่น</span></strong> เป็นก๊าซและฝุ่นพัดกระพือออกจากหัวดาวหาง สะท้อนแสงให้เห็นเป็นหางชนิดสั้นและ มีลักษณะโค้ง มีความเป็นกลางทางประจุไฟฟ้า แรงดันจากรังสีความร้อนของดวงอาทิตย์ผลัก ให้หางลู่ไปในแนวตรงข้ามกับดวงอาทิตย์เสมอ\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">- หางก๊าซ</span></strong> ก๊าซในหางดาวหางทำปฏิกิริยากับลมสุริยะจากดวงอาทิตย์ ทำให้ก๊าซต่าง ๆ แตกตัว เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า หรือ ไอออน เช่น อนุภาคประจุคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO+) เปล่งแสง สีน้ำเงินในหางก๊าซเคลื่อนที่หนีออกจากดวงอาทิตย์ด้วยความเร็วหลายร้อยกิโลเมตรต่อวินาที หางก๊าซ มีลักษณะเหยียดตรง และยืดยาวออกไปหลายล้านกิโลเมตร\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"415\" width=\"450\" src=\"/files/u30451/comet_structure.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 441px; height: 378px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nโครงสร้างดาวหาง\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://sunflowercosmos.org/solar_system/comet_images/comet_structure.jpg\">http://sunflowercosmos.org/solar_system/comet_images/comet_structure.jpg</a>\n</div>\n<p>\n<span style=\"background-color: #cc99ff; color: #000000\"><strong><u>วงโคจรของดาวหาง<br />\n</u></strong></span>     ดางหางส่วนใหญ่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีสูงและวงโคจรใหญ่มาก เรามีโอกาสเห็น ดาวหางได้เฉพาะเมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้ามาในเขตชั้นในของระบบสุริยะที่โลกอยู่เท่านั้น ดาวหางบางดวงมีวงโคจร ไม่ใหญ่มากนัก เราจึงเห็นดาวหางโคจรกลับมาอีก จัดว่าเป็น ดาวหางคาบโคจรสั้น ส่วนดาวหางที่มีคาบโคจร นานกว่า 200 ปี จัดให้เป็น ดาวหางคาบโคจรยาว\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffcc00; color: #000000\"><strong><u>ตัวอย่างดาวหางดวงสำคัญ<br />\n</u></strong></span>     <strong><span style=\"color: #ff0000\">ดาวหางแฮลลีย์</span></strong> (Halley) ดาวหางโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ครบหนึ่งรอบทุกคาบประมาณ 76 ปี จากบันทึกเก่าแก่พบว่า ชาวโลกมีโอกาสสังเกตดาวหางแฮลลีย์โคจรเข้ามาแล้ว 27 รอบ ครั้งหลังสุด คือเมื่อปี พ.ศ.2529 และดาวหางจะกลับมาอีกครั้งต่อไปในปี พ.ศ.2604-2605\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"201\" width=\"251\" src=\"/files/u30451/imagesCAO4XTR3_0.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nดาวหาง\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.student.chula.ac.th/~50370299/comet-hale-bopp.jpg\">http://www.student.chula.ac.th/~50370299/comet-hale-bopp.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/77108\"><img height=\"127\" width=\"324\" src=\"/files/u30451/main.gif\" border=\"0\" style=\"width: 139px; height: 60px\" /></a> <a href=\"/node/69835\"><img height=\"154\" width=\"371\" src=\"/files/u30451/icon01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 155px; height: 63px\" /></a>\n</div>\n', created = 1720472235, expire = 1720558635, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c3be530629fd9e21c72c657c5a658c02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวหาง

รูปภาพของ sss27831

 

ลักษณะทั่วไปของดาวหาง
     ขณะเมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางคล้ายก้อนน้ำแข็งสกปรกของหินและฝุ่นเกาะกัน อยู่ด้วยก๊าซและน้ำที่แข็งตัว โดยทั่วไปแล้วดาวหางมีขนาดใหญ่ไม่กี่กิโลเมตรเท่านั้น เมื่อดาวหางเคลื่อนเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ในระยะวงโคจรของดาวพฤหัสบดี ดาวหางเริ่มอุ่นขึ้น น้ำแข็งรอบนอกระเหิดกลายเป็นก๊าซและฝุ่น เกิดกลุ่มเมฆก๊าซ เป็นบรรยากาศห่อหุ้มขนาดใหญ่ มากจนสามารถครอบคลุมโลกทั้งดวงได้ เรียกว่า โคมา หรือ หัวดาวหาง ล้อมรอบ นิวเคลียส หรือ ใจกลางหัวดาวหาง ซึ่งเป็นก้อนน้ำแข็งในใจกลางและมีขนาดเล็กเพียงไม่กี่กิโลเมตรเท่านั้น
     นอกจากลมสุริยะและรังสีจากดวงอาทิตย์จะทำให้เกิดโคมาขนาดใหญ่แล้วยังทำให้หางดาวหางพัดกระพือออกไปเป็นลำยาว ดวงหางบางดวงอาจมีหางยาวเป็นหลายล้านกิโลเมตร และแม้ว่าดาวหางจะมีทิศทางเคลื่อนที่ไปอย่างไรก็ตาม แต่หางของดาวหางจะหันหนีออกจากดวงอาทิตย์เสมอ เราเห็นดาวหางสว่างขึ้นได้เพราะส่วนที่เป็น อนุภาคของแข็งและฝุ่นสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ กับทั้งอนุภาคก๊าซที่มีประจุไฟฟ้าในหางดาวหางดูดซับพลังงานจากดวงอาทิตย์เรืองแสงขึ้น

โครงสร้างของดาวหาง
- นิวเคลียส เป็นใจกลางหัวดาวหาง ประกอบด้วยธาตุต่าง ๆ จำพวก คาร์บอน ( C )ไฮโดรเจน (H) อ๊อกซิเจน (O ) และ ไนโตรเจน (N ) รวมตัวกัน โดยมีน้ำ เป็นองค์ประกอบสำคัญ นอกจากนั้น ยังมีฝุ่นของซิลิกอน แมกนีเซียม และธาตุหนักอื่น ๆ ฝุ่นเหล่านี้รวมตัวกับน้ำแข็งอัดแน่นอยู่ด้วยกัน ทำให้เกิดเป็นนิวเคลียสสีดำเหมือนถ่าน

- โคมา เมื่อดาวหางโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ รังสีความร้อนทำให้น้ำแข็งบริเวณผิวของนิวเคลียส ระเหิดเป็นไอ ก๊าซและฝุ่นผงจึงขยายตัวเป็นบรรยากาศห่อหุ้มนิวเคลียสไว้กลายเป็นหัวดาวหาง เรียกว่า โคมา

- หางฝุ่น เป็นก๊าซและฝุ่นพัดกระพือออกจากหัวดาวหาง สะท้อนแสงให้เห็นเป็นหางชนิดสั้นและ มีลักษณะโค้ง มีความเป็นกลางทางประจุไฟฟ้า แรงดันจากรังสีความร้อนของดวงอาทิตย์ผลัก ให้หางลู่ไปในแนวตรงข้ามกับดวงอาทิตย์เสมอ

- หางก๊าซ ก๊าซในหางดาวหางทำปฏิกิริยากับลมสุริยะจากดวงอาทิตย์ ทำให้ก๊าซต่าง ๆ แตกตัว เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า หรือ ไอออน เช่น อนุภาคประจุคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO+) เปล่งแสง สีน้ำเงินในหางก๊าซเคลื่อนที่หนีออกจากดวงอาทิตย์ด้วยความเร็วหลายร้อยกิโลเมตรต่อวินาที หางก๊าซ มีลักษณะเหยียดตรง และยืดยาวออกไปหลายล้านกิโลเมตร

โครงสร้างดาวหาง

วงโคจรของดาวหาง
     ดางหางส่วนใหญ่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีสูงและวงโคจรใหญ่มาก เรามีโอกาสเห็น ดาวหางได้เฉพาะเมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้ามาในเขตชั้นในของระบบสุริยะที่โลกอยู่เท่านั้น ดาวหางบางดวงมีวงโคจร ไม่ใหญ่มากนัก เราจึงเห็นดาวหางโคจรกลับมาอีก จัดว่าเป็น ดาวหางคาบโคจรสั้น ส่วนดาวหางที่มีคาบโคจร นานกว่า 200 ปี จัดให้เป็น ดาวหางคาบโคจรยาว

ตัวอย่างดาวหางดวงสำคัญ
     ดาวหางแฮลลีย์ (Halley) ดาวหางโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ครบหนึ่งรอบทุกคาบประมาณ 76 ปี จากบันทึกเก่าแก่พบว่า ชาวโลกมีโอกาสสังเกตดาวหางแฮลลีย์โคจรเข้ามาแล้ว 27 รอบ ครั้งหลังสุด คือเมื่อปี พ.ศ.2529 และดาวหางจะกลับมาอีกครั้งต่อไปในปี พ.ศ.2604-2605

 

ดาวหาง
 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 445 คน กำลังออนไลน์