• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1b759d16eabedde7d5178981881606d3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์  พระบรมราชินีนาถ</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"395\" width=\"285\" src=\"http://gallery.palungjit.com/data/570/img02.jpg\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\n        <strong>   ประวัติ ความเป็นมา</strong>\n</p>\n<p>\n           ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงทรงมีพระราชประสงค์ ที่จะทรงผนวชเพื่อที่จะทรงมีโอกาสได้คุ้นเคยใกล้ชิด พระธรรมคำสั่งสอน ขององค์พระสัมมมาสัมพุทธเจ้ากยิ่งขึ้น ทั้งยังเป็นการสนองพระคุณพระราชบุพการี ตามคตินิยมของคนไทยอีกด้วย ในการนี้นายกรัฐมนตรีได้กราบบังคมทูลขอรับเป็นภาระในการตระเตรียม พระราชพิธีผนวชทั้งหมด และในการผนวชซึ่งทำให้ต้องมีการตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์</p>\n<p>พระราชพิธีดังกล่าวได้ถูกจัดขึ้นในวันที่ 22 ตุลาคม 2499 ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (หม่อมราชวงศ์ชื่น นพวงศ์ฉายา สุจิตโต ป.7) วัดบวรวิหาร ทรงเป็นองค์อุปัชฌายะ และทรงได้รัยถวายสมญานามว่า ภูมิพโล</p>\n<p>ตลอด 15 วัน ที่ทรงผนวชทรงประทับอยู่ ณ พระตำหนักปั้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร และได้ทรงบำเพ็ญวัตรปฎิบัติ เยี่ยงภิกษุทั้งหลายทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นการเสด็จออกรับ บิณฑบาต จากชาวบ้านทั่วไป หรือการปฏิบัติสังฆกิจต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด</p>\n<p>ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงผนวชอยู่นั้นได้ ในการปฏิบัติพระราชการณียกิจต่าง ๆ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ซึ่งทรงสามารถปฏิบัติแทนพระองค์ได้อย่างเรียบร้อยเป็นที่พอพระราชหฤทัย และเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงลาผนวชแล้วได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระอภิไธย ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์เป็น “สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ” ซึ่งคำว่า “นาถ” ต่อท้าย แปลว่าที่พึ่ง ผู้เป็นที่พึ่งพิง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n         <strong>   บทบาทในการส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยโดยสังเขป </strong>\n</p>\n<p>\n             สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์  พระบรมราชินีนาถทรงมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย  ซึ่งสรุปได้ดังนี้<br />\n                    <strong>1)  ด้านการส่งเสริมและอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้าน </strong> สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์  พระบรมราชินีนาถทรงส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยโดยเฉพาะด้านงานหัตถกรรมพื้นบ้านและงานช่าง  ทรงจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพขึ้นหลายแห่งเพื่อเป็นที่รวบรวมสินค้าจากฝีมือชาวบ้านและเป็นแหล่งสอนงานหัตถกรรมแก่ชาวบ้าน  ทรงดำเนินการเพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้าน  เช่น<br />\n                              <strong>1.1)  ทรงเริ่มโครงการหัตถกรรม</strong>  เพื่อช่วยเหลือราษฏรเป็นครั้งแรกที่หมู่บ้านเขาเต่า  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2508  โดยชักชวนให้หญิงชาวบ้านเขาเต่าหัดทอผ้าฝ้ายขายเป็นอาชีพเสริม  ทรงให้ครูทอผ้าจากโรงงานทอผ้าบ้านไร่  จังหวัดราชบุรี  มาสอนการทอผ้าให้แก่ราษฎรบ้านเขาเต่า  สร้างกี่ทอผ้าขึ้นที่ท้ายวังไกลกังวลเพื่อให้ชาวบ้านมาหัดทอผ้า  เริ่มจากการทอผ้าขาวม้าและผ้าซิ่น  ชาวบ้านที่มาเรียนทอผ้าได้รับพระราชทานอาหารกลางวันและค่าแรง  ต่อมาเจ้าอาวาสวัดเขาเต่าและครูใหญ่โรงเรียนเขาเต่าช่วยดูแลต่อ  ปัจจุบันโครงการทอผ้าฝ้ายที่เขาเต่าอยู่ภายใต้การดูแลของกรมการพัฒนาชุมชน  โดยพัฒนากรอำเภอหัวหินเป็นผู้ดูแลโครงการตั้งแต่ พ.ศ. 2511  มีการสอนการทอผ้า  ย้อมสี  ตัดเย็บ  และสอนการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ป่านศรนารายณ์<br />\n                              <strong>1.2)  ทรงเริ่มโครงการศิลปาชีพ</strong>  โครงการแรก  คือ  โครงการทอผ้าไหมมัดหมี่  จังหวัดนครพนม  ทรงสนพระทัยซิ่นไหมมัดหมี่ที่หญิงชาวบ้านนุ่ง  เพราะมีความสวยงามแปลกตา  เหมาะที่จะเป็นอาชีพเสริมของชาวบ้านเนื่องจากทุกครัวเรือนจะทอใช้กันอยู่แล้ว  ทรงชักชวนให้ชาวบ้านประกอบอาชีพเสริมด้วยการทอผ้าไหมมัดหมี่  ทรงรับซื้อผ้าที่ชาวบ้านทอทุกผืน  โดยส่งรวมไป ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน  และทรงนำผ้าไหมมัดหมี่มาตัดฉลองพระองค์  ต่อมาได้จัดตั้งกลุ่มทอผ้าไหมขึ้นตามหมู่บ้านและรับชาวบ้านเข้าเป็นสมาชิก  ผู้ที่ทอผ้าไม่เป็นก็ให้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อเป็นวัตถุดิบแก่ผู้ทอ  โครงการนี้ต่อมาจึงได้ขยายออกไปทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเป็นโครงการส่งเสริมอาชีพที่สร้างรายได้ให้แก่ราษฎรอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน<br />\n                            <strong>  1.3)  ทรงส่งเสริมให้ตั้งโรงฝึกงานหัตถกรรมและศูนย์ศิลปาชีพ</strong>  เช่น  โรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดา  ภายในบริเวณสวนจิตรลดา  พระราชวังดุสิต  กรุงเทพมหานคร  ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2520  เพื่อฝึกหัดงานหัตถกรรมไทยแขนงต่าง ๆ แก่นักเรียนซึ่งเป็นบุตรหลานของราษฎรที่มีฐานะยากจนแต่มีฝีมือทางศิลปะหรือพอจะฝึกหัดศิลปหัตถกรรมในขั้นที่ยากขึ้น  และเป็นศูนย์กลางรับซื้อ  เก็บรักษาและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งหมด  รวมทั้งเป็นที่ทำการของกองศิลปาชีพ  สำนักราชเลขาธิการ<br />\n                              ศูนย์ศิลปาชีพจังหวัดแม่ฮ่องสอน  ที่อำเภอเมือง  จังหวัดแม่ฮ่องสอน  จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2528  มีการฝึกสอนศิลปาชีพหลายประเภท  เช่น  ทอผ้าไหม  ตัดเย็บเสื้อผ้าตุ๊กตาชาวเขา  ดอกไม้ประดิษฐ์  จักสานหวาย  จักสานไม้ไผ่  เครื่องหนังและของชำร่วย  สมาชิกของศูนย์ ฯ  แบ่งเป็นสมาชิกชั่วคราวและสมาชิกประจำ  สำหรับผู้ที่เป็นสมาชิกชั่วคราวเมื่อเรียนจบแล้วก็สามารถกลับไปประกอบงานศิลปาชีพที่บ้าน  ส่วนผู้ที่เป็นสมาชิกประจำซึ่งมีฝีมือดี  ทางศูนย์ ฯ จะจ้างไว้เพื่อผลิตงาน<br />\n                              ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร  อำเภอบางไทร  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  อยู่ใกล้กับพระราชวังบางปะอิน  จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2524  โดยรับเกษตรกรที่มีฐานะยากจนจากจังหวัดต่าง ๆ มาฝึกอบรมด้านศิลปาชีพสาขาต่าง ๆ ประมาณ 30 สาขา  รวมทั้งมีแผนกเกษตรกรรมเพื่อให้ความรู้แก่เกษตรกรที่มาฝึกอบรมด้านศิลปาชีพ  นับได้ว่าโครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมของไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์เหล่านี้ได้มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยให้สืบทอดอยู่ในปัจจุบัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"353\" width=\"400\" src=\"http://www.hunsa.com/2005/motherday/images/queen_work_001.jpg\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\n<strong>             </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>             เราสามารถมีส่วนร่วมในการส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาให้อยู่คู่กับสังคมได้โดย</strong>\n</p>\n<p>\n1.ช่วยส่งเสริมและอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้าน โดยเฉพาะด้านงานหัตถกรรมพื้นบ้านและงานช่าง\n</p>\n<p>\n2.ส่งเสริมและอนุรักษ์การทอผ้าไหมมัดหมี่ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\">\n<strong>รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม  ม.4/3</strong> (งานชิ้นที่ 2)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\">\n1.สิริลักษณ์     ฝ่ายดี            เลขที่   27\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\">\n2.พุทธมาศ     พรหมวงศ์ษา    เลขที่   29\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\">\n3.คมกฤช       แหวนเพชร      เลขที่   23\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715502903, expire = 1715589303, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1b759d16eabedde7d5178981881606d3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บุคคลที่ส่งเสริมสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์  พระบรมราชินีนาถ

           ประวัติ ความเป็นมา

           ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงทรงมีพระราชประสงค์ ที่จะทรงผนวชเพื่อที่จะทรงมีโอกาสได้คุ้นเคยใกล้ชิด พระธรรมคำสั่งสอน ขององค์พระสัมมมาสัมพุทธเจ้ากยิ่งขึ้น ทั้งยังเป็นการสนองพระคุณพระราชบุพการี ตามคตินิยมของคนไทยอีกด้วย ในการนี้นายกรัฐมนตรีได้กราบบังคมทูลขอรับเป็นภาระในการตระเตรียม พระราชพิธีผนวชทั้งหมด และในการผนวชซึ่งทำให้ต้องมีการตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

พระราชพิธีดังกล่าวได้ถูกจัดขึ้นในวันที่ 22 ตุลาคม 2499 ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (หม่อมราชวงศ์ชื่น นพวงศ์ฉายา สุจิตโต ป.7) วัดบวรวิหาร ทรงเป็นองค์อุปัชฌายะ และทรงได้รัยถวายสมญานามว่า ภูมิพโล

ตลอด 15 วัน ที่ทรงผนวชทรงประทับอยู่ ณ พระตำหนักปั้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร และได้ทรงบำเพ็ญวัตรปฎิบัติ เยี่ยงภิกษุทั้งหลายทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นการเสด็จออกรับ บิณฑบาต จากชาวบ้านทั่วไป หรือการปฏิบัติสังฆกิจต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด

ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงผนวชอยู่นั้นได้ ในการปฏิบัติพระราชการณียกิจต่าง ๆ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ซึ่งทรงสามารถปฏิบัติแทนพระองค์ได้อย่างเรียบร้อยเป็นที่พอพระราชหฤทัย และเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงลาผนวชแล้วได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระอภิไธย ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์เป็น “สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ” ซึ่งคำว่า “นาถ” ต่อท้าย แปลว่าที่พึ่ง ผู้เป็นที่พึ่งพิง

 

            บทบาทในการส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยโดยสังเขป

             สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์  พระบรมราชินีนาถทรงมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย  ซึ่งสรุปได้ดังนี้
                    1)  ด้านการส่งเสริมและอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้าน  สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์  พระบรมราชินีนาถทรงส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยโดยเฉพาะด้านงานหัตถกรรมพื้นบ้านและงานช่าง  ทรงจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพขึ้นหลายแห่งเพื่อเป็นที่รวบรวมสินค้าจากฝีมือชาวบ้านและเป็นแหล่งสอนงานหัตถกรรมแก่ชาวบ้าน  ทรงดำเนินการเพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้าน  เช่น
                              1.1)  ทรงเริ่มโครงการหัตถกรรม  เพื่อช่วยเหลือราษฏรเป็นครั้งแรกที่หมู่บ้านเขาเต่า  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2508  โดยชักชวนให้หญิงชาวบ้านเขาเต่าหัดทอผ้าฝ้ายขายเป็นอาชีพเสริม  ทรงให้ครูทอผ้าจากโรงงานทอผ้าบ้านไร่  จังหวัดราชบุรี  มาสอนการทอผ้าให้แก่ราษฎรบ้านเขาเต่า  สร้างกี่ทอผ้าขึ้นที่ท้ายวังไกลกังวลเพื่อให้ชาวบ้านมาหัดทอผ้า  เริ่มจากการทอผ้าขาวม้าและผ้าซิ่น  ชาวบ้านที่มาเรียนทอผ้าได้รับพระราชทานอาหารกลางวันและค่าแรง  ต่อมาเจ้าอาวาสวัดเขาเต่าและครูใหญ่โรงเรียนเขาเต่าช่วยดูแลต่อ  ปัจจุบันโครงการทอผ้าฝ้ายที่เขาเต่าอยู่ภายใต้การดูแลของกรมการพัฒนาชุมชน  โดยพัฒนากรอำเภอหัวหินเป็นผู้ดูแลโครงการตั้งแต่ พ.ศ. 2511  มีการสอนการทอผ้า  ย้อมสี  ตัดเย็บ  และสอนการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ป่านศรนารายณ์
                              1.2)  ทรงเริ่มโครงการศิลปาชีพ  โครงการแรก  คือ  โครงการทอผ้าไหมมัดหมี่  จังหวัดนครพนม  ทรงสนพระทัยซิ่นไหมมัดหมี่ที่หญิงชาวบ้านนุ่ง  เพราะมีความสวยงามแปลกตา  เหมาะที่จะเป็นอาชีพเสริมของชาวบ้านเนื่องจากทุกครัวเรือนจะทอใช้กันอยู่แล้ว  ทรงชักชวนให้ชาวบ้านประกอบอาชีพเสริมด้วยการทอผ้าไหมมัดหมี่  ทรงรับซื้อผ้าที่ชาวบ้านทอทุกผืน  โดยส่งรวมไป ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน  และทรงนำผ้าไหมมัดหมี่มาตัดฉลองพระองค์  ต่อมาได้จัดตั้งกลุ่มทอผ้าไหมขึ้นตามหมู่บ้านและรับชาวบ้านเข้าเป็นสมาชิก  ผู้ที่ทอผ้าไม่เป็นก็ให้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อเป็นวัตถุดิบแก่ผู้ทอ  โครงการนี้ต่อมาจึงได้ขยายออกไปทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเป็นโครงการส่งเสริมอาชีพที่สร้างรายได้ให้แก่ราษฎรอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน
                              1.3)  ทรงส่งเสริมให้ตั้งโรงฝึกงานหัตถกรรมและศูนย์ศิลปาชีพ  เช่น  โรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดา  ภายในบริเวณสวนจิตรลดา  พระราชวังดุสิต  กรุงเทพมหานคร  ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2520  เพื่อฝึกหัดงานหัตถกรรมไทยแขนงต่าง ๆ แก่นักเรียนซึ่งเป็นบุตรหลานของราษฎรที่มีฐานะยากจนแต่มีฝีมือทางศิลปะหรือพอจะฝึกหัดศิลปหัตถกรรมในขั้นที่ยากขึ้น  และเป็นศูนย์กลางรับซื้อ  เก็บรักษาและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งหมด  รวมทั้งเป็นที่ทำการของกองศิลปาชีพ  สำนักราชเลขาธิการ
                              ศูนย์ศิลปาชีพจังหวัดแม่ฮ่องสอน  ที่อำเภอเมือง  จังหวัดแม่ฮ่องสอน  จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2528  มีการฝึกสอนศิลปาชีพหลายประเภท  เช่น  ทอผ้าไหม  ตัดเย็บเสื้อผ้าตุ๊กตาชาวเขา  ดอกไม้ประดิษฐ์  จักสานหวาย  จักสานไม้ไผ่  เครื่องหนังและของชำร่วย  สมาชิกของศูนย์ ฯ  แบ่งเป็นสมาชิกชั่วคราวและสมาชิกประจำ  สำหรับผู้ที่เป็นสมาชิกชั่วคราวเมื่อเรียนจบแล้วก็สามารถกลับไปประกอบงานศิลปาชีพที่บ้าน  ส่วนผู้ที่เป็นสมาชิกประจำซึ่งมีฝีมือดี  ทางศูนย์ ฯ จะจ้างไว้เพื่อผลิตงาน
                              ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร  อำเภอบางไทร  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  อยู่ใกล้กับพระราชวังบางปะอิน  จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2524  โดยรับเกษตรกรที่มีฐานะยากจนจากจังหวัดต่าง ๆ มาฝึกอบรมด้านศิลปาชีพสาขาต่าง ๆ ประมาณ 30 สาขา  รวมทั้งมีแผนกเกษตรกรรมเพื่อให้ความรู้แก่เกษตรกรที่มาฝึกอบรมด้านศิลปาชีพ  นับได้ว่าโครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมของไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์เหล่านี้ได้มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยให้สืบทอดอยู่ในปัจจุบัน

            

             เราสามารถมีส่วนร่วมในการส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาให้อยู่คู่กับสังคมได้โดย

1.ช่วยส่งเสริมและอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้าน โดยเฉพาะด้านงานหัตถกรรมพื้นบ้านและงานช่าง

2.ส่งเสริมและอนุรักษ์การทอผ้าไหมมัดหมี่ 

 

รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม  ม.4/3 (งานชิ้นที่ 2)

1.สิริลักษณ์     ฝ่ายดี            เลขที่   27

2.พุทธมาศ     พรหมวงศ์ษา    เลขที่   29

3.คมกฤช       แหวนเพชร      เลขที่   23

 

รูปภาพของ silavacharee

Kiss

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 226 คน กำลังออนไลน์