• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2056a9999ed9e7c61a2c4225065389db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000\">                                                                 ตำนานประวัติศาสตร์อียิปต์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">                                                                    <img border=\"0\" width=\"90\" src=\"http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:6N-AcIDYNi3fWM:www.abroad-tour.com/egypt/images/Egypt%20governorates%20alphabetical.png\" height=\"60\" /><br />\n</span>สมัยประวัติศาสตร์ ( Historic Period )<br />\n.........อียิปต์ ( Egypt ) อายุประมาณ 3200 - 1085 BC. หรือ 2650 ปีก่อน พ.ศ - พ.ศ. 510 <br />\nลักษณะทั่วไป<br />\n...........อียิปต์ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน<br />\nทิศใต้ จดเอธิโอเปีย , ทิศตะวันออก จดทะเลแดง , ทิศตะวันตก จดทะเลทรายซาฮารา และทะเลทรายลิเบีย\n</p>\n<p>\n<br />\nอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง มีฝนตกเล็กน้อย มีแม่น้ำไนล์ ไหลผ่าน ยาวประมาณ 4,000 ไมล์ ต้นแม่น้ำจะไหลมาจากแถบภูเขาเอธิโอเปีย ไหลลงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นับเป็นเวลาหลายปี น้ำได้พาเอาโคลนมาทับถม จนกลายเป็นสันดอน แตกเป็นรูปพัด บริเวณนี้จะอุดมสมบูรณ์ เรียกว่า เดลต้า ( Delta )<br />\nแม่น้ำไนล์ ประกอบด้วยแม่น้ำ 2 สาย คือ แม่น้ำไนล์ขาว ( White Nile ) มีต้นน้ำอยู่ที่ราบสูง บริเวณทะเลสาบวิคตอเรีย ไหลมาบรรจบกับแม่น้ำไนล์สีน้ำเงิน ( Blue Nile ) ซึ่งไหลมาทางตะวันออก เมื่อแม่น้ำทั้ง 2 สายมาบรรจบกัน กระแสน้ำได้กัดเซาะหินที่คดเคี้ยว และคับแคบ ทำให้เกิดแก่งน้ำถึง 6 แห่ง เรียกว่า แก่งน้ำตก ( Cataract )<br />\nตั้งแต่อัสวันลงไป ค่อนข้างแห้งแล้ง เรียกว่า อียิปต์ตอนบน ( Upper Egypt ) ต่อจากนั้น แม่น้ำไนล์ไหลผ่านร่องน้ำ ไปสู่ดินแดนที่ลุ่มกว่า แล้วแตกเป็นรูปพัด ก่อนไหลลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณนี้มีความอุดมสมบูรณ์กว่า เรียกว่า อียิปต์ตอนล่าง ( Lower Egypt ) <br />\nสภาพความเป็นอยู่ในระยะแรก ๆ อยู่รวมกันเป็นหมู่ โดยมีหัวหน้าหมู่บ้านเป็นผู้ปกครอง เมื่อขนาดหมู่บ้านขยายใหญ่ขึ้น จึงกลายเป็นรัฐ หรือจังหวัด เรียกว่า โนมิส ( Nomes ) จนกระทั่ง ประมาณ 3200 BC. เมนิส ( Menes ) จากอียิปต์ตอนบน ได้รวบรวมรัฐเข้าด้วยกัน แล้วสถาปนาราชวงค์ขึ้นปกครองอียิปต์เป็นครั้งแรก เป็นการเริ่มต้นประวัติศาสตร์สมัยราชวงค์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">การปกครอง</span><br />\nมีกษัตริย์ปกครอง เรียกว่า ฟาโรห์ ( Pharaoh ) หมายถึง บ้านใหญ่ ( The big house ) ชาวอียิปต์นับถือฟาโรห์ เสมือนพระเจ้าองค์หนึ่ง เพราะเชื่อว่า ฟาโรห์ คือ เทพเจ้ามาจุติ เพื่อปกป้องและคุ้มครองของตน <br />\nพลเมืองของอียิปต์ แบ่งเป็น 4 ชั้น<br />\n1. ชั้นสูง - ประกอบด้วย 2 พวก คือ<br />\nPriests ได้แก่ นักบวช , พระ เป็นบุคคลรวยที่สุด รองจากฟาโรห์ มีความรู้สูง ฝึกให้เป็นแพทย์ รู้จักการผ่าตัด รักษาพยาบาล และรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อย<br />\nNobles ได้แก่ พวกขุนนาง , ทหาร มีหน้าที่ป้องกันบ้านเมือง และรับใช้ฟาโรห์โดยตรง <br />\n2. ชั้นกลาง - ประกอบด้วย 2 พวก คือ<br />\nScriber ได้แก่ อาลักษณ์ ผู้จดบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ<br />\nCraftsmen , Merchants ได้แก่ ช่าง และ พ่อค้า\n</p>\n<p>\n3. ชั้นต่ำ ได้แก่ พวก Peasant เป็นชาวนา พวกนี้ต้องทำงานหนัก มีความเป็นอยู่ยากแค้น<br />\n4. Slaves ได้แก่ พวกทาส พวกนี้ไม่มีสิทธิ์อย่างหนึ่งอย่างใด แม้จะทำงานหนัก ก็ไม่อาจเป็นเสรีชนได้\n</p>\n<p>\n<br />\nประวัติศาสตร์สมัยเริ่มราชวงศ์ <br />\n-สมัยอาณาจักรเก่า ( The Old Kingdom )\n</p>\n<p>\n<br />\nสมัยอาณาจักรกลาง ( The Middle Kingdom )<br />\nสมัยอาณาจักรใหม่ ( The New Kingdom )<br />\n <br />\nอักษรภาพ ( Hieroglyphic )<br />\n..........อียิปต์เป็นชาติแรก ที่ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ เพื่อใช้บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ทางศาสนา และความเชื่อ เรียกว่า ศาสนาจารึก มีประมาณ 900 - 1000 ตัว ใช้บันทึกบนแผ่นหินหน้าเรียบ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ศาสนาและความเชื่อ</span><br />\nชาวอียิปตื เป็นชนชาติที่เคร่งครัดศาสนาที่สุดในโลก แต่ละแห่งจะมีเทพเจ้าประจำท้องถิ่นของตน เทพเจ้าเหล่านี้มักเป็นสัตว์ หรือคนปนกับสัตว์ เมื่อโนมิสรวบรวมอียิปต์ เทพเจ้าก็มาอยู่รวมกัน อียิปต์จึงมีเทพเจ้าหลายองค์ คือ<br />\n1. รา หรือ เร ( Ra or Re ) เป็นสุริยเทพ ( Sun God ) เทพเจ้าสูงสุด<br />\n2. โอซิริส ( Osiris ) เป็นเทพเจ้าชั้นสูง จนได้ชื่อว่า เป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์แห่งลุ่มแม่น้ำไนล์ เนื่องจากแม่น้ำไนล์ไหลหลากมาก ช่วยให้พืชพันธุ์ริมฝั่ง จึงอุดมสมบูรณ์ กลับคืนสู่ดินแดนเหล่านี้ โอซิริส ถูกเซท ( Seth ) น้องชายฆ่าตาย ร่างกายถูกสับออกเป็นชิ้น ๆ แล้วโยนลงแม่น้ำไนล์ ไอซิส มเหสีของโอซิริส ได้เก็บเอาชิ้นส่วนของศพที่ลอยน้ำ มาชุบชีวิตขึ้นใหม่ การฟื้นขึ้นใหม่เปรียบกับพืชพันธุ์ริมแม่น้ำไนล์ ที่ล้มตายสูญหาย ฟื้นคืนชีพขึ้นมาอีก เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก ปรากฏการณ์นี้ ทำให้ชาวอียิปต์ เชื่อในเรื่อง การเกิดใหม่ เป็นแรงผลักดัน ทำให้มีการสร้างมัมมี่ และปิรามิด โอซิริส ยังเป็นเทพเจ้าที่ทรงคุณงามความดี และยุติธรรม จึงเป็นตุลาการแห่งโลกหน้า วิญญาณของผู้ตาย จะต้องไปเฝ้า เทพโอซิริส เพื่อตัดสินที่จะไปเกิดใหม่ โอซิริส เป็นภาษาพื้นเมือง หมายถึง คนที่ตายไปแล้ว<br />\n3. ไอซิส ( Isis ) เป็นมเหสี และน้องสาวของโอซิริส มีรูปโฉมงดงาม ไอซิสถูกเทพเจ้าโฮรัสตัดศีรษะ แล้วเอาหัววัวมาใส่แทน เนื่องจากแม่น้ำไนล์ เมื่อน้ำหลากจะไหลมาโดยไม่มีฝนตก เชื่อว่า เป็นน้ำตาของเทพีไอซิส ร้องไห้ที่สามีถูกเซทน้องชายฆ่าตาย และเทพไอซิส ได้ชื่อว่าเป็นเทพีแห่งพืชพันธุ์ธัญญาหาร และความสมบูรณ์<br />\n4. เซท ( Seth ) เทพเจ้าประจำอียิปต์บน ผู้ประหารโอซิริส ภายหลังถูกทำร้ายจนตาบอด หมายถึง ความจงเกลียดจงชัง ทำให้ตาบอดมืดมัวมองไม่เห็น เป็นตัวแทน ความมืดของพายุร้ายกลางทะเลทราย<br />\n5. โฮรัส ( Horus ) เป็นโอรสของโอซิริส และไอซิส มีศีรษะเป็นเหยี่ยว ถือเครื่องหมายของชีวิต <br />\n6. อนูบิส ( Anubis ) เดิมเป็นเทพเจ้าผู้ดูแลซากศพ ต่อมาเป็นเทพเจ้าแห่งโลกหน้า เป็นผู้นำเอาหัวใจ ( วิญญาณ ) ของผู้ตาย ขึ้นตราชูชั่งน้ำหนักกับขนนก เพื่อวัดว่าผู้นั้นทำบุญ และบาป มากน้อยเพียงใด เทพเจ้าอนูบิสมีศีรษะเป็นสุนัข<br />\n7. ฮาเธอร์ ( Hathor ) เทพีแห่งความรัก และการเกิดของเด็ก มีสัญลักษณ์เป็นวัวตัวเมีย เป็นเทพีผู้ให้น้ำนมเลี้ยงโฮรัส มีลักษณะคือ หัว และ ตัวเป็นมนุษย์ แต่มีสัญลักษณ์เป็นเขาวัว อยู่บนศีรษะ<br />\n8. พตาห์ ( Ptah ) เทพเจ้าประจำเมืองเมมฟิส เป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และการช่าง<br />\n9. แอมมอน ( Ammon ) เทพเจ้าประจำเมืองธีบิส มีสัญลักษณ์ได้หลายอย่าง เช่น แกะ แพะ งู ฯลฯ<br />\n10. คนูม ( Khnum ) เทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ให้กำเนิดโลก และพื้นน้ำ มีศีรษะเป็นแกะ<br />\n11. เนคเบท ( Nekhbet ) เทพีผู้คุ้มครองฟาโรห์ ประจำอียิปต์บน มีสัญลักษณ์เป็นแร้ง<br />\nแบบฝึกหัด 2\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">สถาปัตยกรรม</span> <br />\n....อียิปต์ มีความชำนาญในการก่อสร้างเหนือกว่าชาติใด ๆ ในยุคเดียวกัน ซึ่งมีลักษณะใหญ่โต ทึบตัน เน้นให้เห็นมวล และใช้เส้นแสดงคงที่ เรียบง่าย และแข็งทื่อ วัสดุเป็นหินเกือบทั้งหมด จุดมุ่งหมายสำคัญ คือ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n1. สร้างที่เก็บศพ ( Tomb ) มีลักษณะแตกต่างกัน 3 แบบ คือ<br />\n1.1 มาสตาบา ( Mastaba ) <br />\n1.2 ปิรามิด ( Pyramid ) <br />\n1.3 สุสานสกัดหน้าผา ( Rock Cut Tomb )<br />\n2. วิหาร ( Temple )<br />\nสมัยอาณาจักรใหม่ ใช้หัวเสาเป็นรูปดอกบัว และใบไม้พื้นเมือง ที่นิยมมี 3 แบบ คือ<br />\n1. หัวเสารูปดอกบัว - แบบบัวตูม , บัวบาน<br />\n2. หัวเสารูปปาล์ม<br />\n3. หัวเสารูปปาปิรัส\n</p>\n<p>\n<br />\nอียิปต์โบราณยุคราชวงศ์<br />\nสมัยราชวงศ์\n</p>\n<p>\nสมัยราชวงศ์(Dynastic Period) นับตั้งแต่สมัยที่อียิปต์ได้รวมกันเข้าเป็นอาณาจักรใหญ่ๆ 2 แห่ง คือ อียิปต์สูงและอียิปต์ล่าง ต่อมาใน 3,200 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์เมนิสได้ทรงสถาปนาราชวงศ์ที่ 1 ขึ้นปกครองประเทศอียิปต์ นับจนถึงสิ้นสุดยุคอียิปต์โบราณ\n</p>\n<p>\nยุคราชวงศ์เริ่มต้น\n</p>\n<p>\nยุคเริ่มราชวงศ์นี้ ยังไม่นับว่าเป็นยุคสมัยราชวงศ์อย่างเต็มตัว เพราะว่ายังไม่มีหลักฐานที่มากพอที่จะสามารถบอกได้<br />\nประมาณ 3,000 ปี ก่อนคริสตศักราช อียิปต์แบ่งเป็นสองราชอาณาจักร คือ อียิปต์สูง (อียิปต์บน) และอียิปต์ต่ำ (อียิปต์ล่าง) ทั้งสองอาณาจักรรวมกันสมัยพระเจ้านาแมร์ (กรีกเรียกเมแนส) และสมัยพระเจ้าอหา มีเมืองหลวงชื่อเมมฟิส (กำแพงขาว<br />\nในปี 2850-2650 ก่อนคริสตกาล สมัยธินิท(ราชวงศ์ที่ 1 และ 2) อียิปต์เป็นตัวของตัวเอง ไม่ได้รับอิทธิพลจากต่างชาติ มีการสู้รบกับพวกเบดวงจากคาบสมุทรซีนาย เพื่อแย่งชิงเหมืองทองแดงมีการติดต่อทางเรือกับเมืองไบโบลส (ในเลบานอนปัจจุบัน) เพื่อซื้อไม้เซดาร์มาใช้ในการก่อสร้างและทำโลงศพของฟาห์โร (กษัตริย์) มีการก่อสร้างหลุมศพสำหรับเจ้าเรียกว่า มาสตาบา<br />\nอักษรบนจารึกนั้นมีสามแบบ คือ อักษรเฮียโรกลีฟิค อักษรเดโมติค (Demotic) และอักษรคอฟติค (Coptic) นอกจากนั้นบันทึกบนแผ่นแปปิรุส (Papyrus) กระดาษของชาวอียิปต์โบราณซึ่งทำจากต้นอ้อก็ได้ช่วยคลี่คลายเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับชาวอียิปต์ในสมัยโบราณ<br />\nประวัติศาสตร์ของอียิปต์สมัยราชวงศ์ที่มีหลักฐาน นานถึงสามสิบศตวรรษอาจสรุปได้เป็น 3 สมัย ดังนี้\n</p>\n<p>\nอาณาจักรเก่า\n</p>\n<p>\n<br />\nสมัยอาณาจักรเก่า(The Old Kingdom) ประมาณ 3,200 - 2,300 ปีก่อนคริสตกาล เป็นสมัยที่อารยธรรมอันยิ่งใหญ่ของอียิปต์เริ่มปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรก ฟาโรห์เมนิสได้ทรงรวมอียิปต์บนและอียิปต์ล่างเข้าด้วยกันและสถาปนาราชวงศ์ที่ 1 ขึ้นเมื่อประมาณ 3,200 ปีก่อนคริสตกาล ในสมัยอาณาจักเก่านี้มีฟาโรห์ปกครองทั้งสิ้นรวม 6 ราชวงศ์จนกระทั่งถึง 2,300 ปีก่อนคริสตกาล ระหว่าสองศตวรรษแรกมีเมืองหลวงคือธีบิส (Thebes) ในอียิปต์บน ในราชวงศ์ที่สามย้ายมาอยู่ที่เมืองเมมฟิส และอยู่นานถึง 5 ศตวรรษ เรียกว่าสมัยเมมฟิส (Memphis period) ในสมัยนี้มีการสร้างปิรามิดมาก จึงมีผู้เรียกยุคนี้ว่ายุคปิรามิด (Pyramid Age) ในสมัยนี้มีฟาโรห์ทรงพระนามว่า ซีนุตเรต (Senusret) ได้โปรดให้ขุดคลองจากแม่น้ำไนล์ไปเชื่อมกับทะเลแดง สมัยอาณาจักรเก่าเริ่มเสื่อมในสมัยราชวงศ์ที่ 6 ข้าหลวงที่ฟาโรห์ส่งไปปกครองมณฑลต่างๆก็กระด้างกระเดื่อง ก่อให้เกิดจลาจล ชิงอำนาจความเป็นใหญ่อยู่ประมาณ 200 ปี ระยะเวลาของความระส่ำระส่ายที่มากั้นระกว่างอาณาจักรเก่า (Old Kingdom) กับอาณาจักรกลาง (Middle Kingdom) เรียกว่ายุคฟิวดัล (Feudal Age) ของอียิปต์<br />\nยุคอาณาจักรเก่า ตั้งแต่ปี 2686 - 2183(ราชวงศ์ที่ 3 - 6) ก่อนคริสตกาล เมมฟิส เป็นศูนย์กลางทางการเมือง<br />\nพระเจ้าโจเซอร์ทรงมีพระราชโองการให้อิมโฮเทป ผู้เป็นแพทย์และสถาปนิก เป็นผู้สร้างปิรามิดซัคคาราขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ฝังพระศพ ของพระองค์ปิรามิดซัคคารา ประกอบด้วยมาสตาบา 6 หลังซ้อนกัน<br />\nราชวงศ์ที่ 4: จำนวนกษัตริย์ผู้สร้างปิรามิดมีมากมาย ที่มีชื่อเสียง เช่น สเนฟรู (ปิรามิดดาห์ชูร์และแมดูม) เคออป, เคเฟรน, ไมเซรินุส (ปิรามิดกิเซ่ ทางตะวันตกของเมืองไคโร)<br />\nราชวงศ์ที่ 5: ศาสนาประจำชาติ คือการนับถือเทพเจ้าเร (เรแห่งเมืองเฮลิโอโปลิส) เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ มีการสร้างวิหารให้เทพเจ้าองค์นี้และสร้างเสาหินสูง<br />\nราชวงศ์ที่ 6: ฟาห์โรอ่อนอำนาจทำให้ขุนนางมีอำนาจมากขึ้น<br />\n2190 - 2052 เป็นระยะเวลาที่ต่อระหว่างสองสมัย (ราชวงศ์ที่ 7 ถึงที่ 10 เรียกสมัยเฮราเคลโอโปลิส)<br />\nรัฐ ตำแหน่งฟาห์โร (บ้านใหญ่) เป็นตำแหน่งสืบทอดฟาห์โร มีอำนาจสูงสุด เช่น ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชของไทย เรามักเห็นอยู่ในรูปของเทพเจ้า-เหยี่ยวโฮรุส (เทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่) นับจากราชวงศ์ที่ 4 เป็นต้นมา ฟาห์โร เปรียบเสมือนบุตรของเทพเจ้าเร หรือเทพเจ้า-พระอาทิตย์<br />\nการบริหารส่วนกลาง ข้าราชการหรือสคริบอยู่ใต้คำบังคับบัญชา ของรัฐมนตรี ล้วนมาจากครอบครัวชนชั้นสูง ภาษีจ่ายเป็นข้าวสาลีและ สัตว์ใช้งาน เช่น วัว ประชาชนทุกคนมีสิทธิในศาล มีสัมพันธไมตรีกับประเทศซีเรียและพุนท์ (โซมาเลีย) ทำสงครามกับประเทศลิเบียและชนเผ่าต่างๆในดินแดนปาเลสไตน์<br />\nการศาสนา เริ่มแรกนับถือสิ่งศักด์สิทธิ์มากมาย ซึ่งมีอยู่ในรูปร่าง และหัวสัตว์ สมัยประวัติศาสตร์ คนนับถือพระอาทิตย์มาก มีการสร้าง วิหารที่สำคัญหลายแห่ง เช่น วิหารของเทพเจ้าอาตอน-เรที่เฮลิโอโปลิส วิหารของเทพเจ้าพทาห์ที่เมมฟิส วิหารของเทพเจ้าโธทที่เฮอร์โมโปลิส เทพเจ้าโอซิริสที่เคยเป็นเทพเจ้าแห่งพืชพันธุ์ไม้ กลายมาเป็นเทพเจ้า ของคนตาย คนอียิปต์เชื่อเรื่องเวรกรรม คนตายไปแล้วจะได้รับกรรมที่ทำไว้ และเชื่อเรื่องชาติหน้า<br />\nอักษรเฮียโรกลีฟ มีลักษณะเป็นรูปสัญลักษณ์หนึ่งเท่ากับคำหนึ่ง จากนั้นเป็นกลุ่มพยัญชนะ พยัญชนะโดดๆ ไม่มีสระ ใช้ในทางศาสนา ต่อจากอักษรเฮียราติค (ภาษาที่ใช้ทั่วไป) เป็น อักษรเดโมติค (ราว 700 ปีก่อนค.ศ.) เป็นภาษาประจำวัน ปฏิทินอียิปต์มี 365 วัน (12 x 30 + 5) วันแรกของปีเริ่มกลางเดือนกรกฎาคม ตรงกับที่แม่น้ำไนล์ล้นฝั่ง ปีที่มี 366 วันไม่มีปรากฎใช้ สมัยต่อมา การนับปีถือเอาเทพเจ้าซิริอุส (โซธิส) เป็นหลัก คือ หนึ่งปีโซธิสมี 365 วันและอีกเศษหนึ่งส่วนสี่\n</p>\n<p>\nอาณาจักรกลาง\n</p>\n<p>\n<br />\nสมัยอาณาจักรกลาง (The Middle Kingdom) ประมาณ 200-1580 ปีก่อนคริสตกาล หลังจากที่เกิดความระส่ำระส่ายและบรรดาขุนนางที่ตั้งตัวเป็นใหญ่ต่างรบพุ่งแย่งชิงความเป็นใหญ่กันจนอ่อนกำลังลงแล้ว ฟาโรห์ในสมัยราชวงศ์ที่ 12 ได้ตั้งตัวเป็นใหญ่ รวบรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้ง เนื่องจากพระองค์ได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือจากประชาชนอียิปต์ส่วนใหญ่ พระองค์จึงได้แต่งตั้งประชาชนอียิปต์ให้ดำรงตำแหน่งต่างๆในรัฐบาล สมัยนี้เป็นสมัยหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองและเป็นประชาธิปไตยที่สุด เรียกกันว่า “ยุคทองของอียิปต์” ต่อมาอำนาจของฟาโรห์เริ่มเสื่อมลง ในที่สุดได้ถูกพวกฮิกซอส (Hyksos) ซึ่งเป็นพวกเรเร่อนทางตะวันตกของทวีปเอเชียเข้ามารุกรานและยึดครองนานเกือบ 200 ปี เป็นผลให้อียิปต์ลืมความแตกแยกภายในอย่างสิ้นเชิง กลับมาผนึกกำลังกันขับไล่พวกฮิกซอสให้ออกจากประเทศได้ก่อน 1580 ปีก่อนคริสตกาล\n</p>\n<p>\nสมัยจักรวรรดิ์กลาง อยู่ในระหว่างปี 2052 - 1570 ปี ก่อนคริสตศักราช หลังจากที่อียิปต์ผ่านสงครามภายในมาหลายปี พระเจ้าเมนทูโฮเทปที่ 2 ทรงรวม อียิปตสูงและอียิปต์ต่ำเข้าด้วยกัน และทรงย้ายเมืองหลวงจากเมมฟิสไปที่ธีบส์<br />\n1991 - 1786 ตรงกับราชวงศ์ที่ 12 อำนาจการปกครองมารวมอยู่ที่เมืองหลวงอีก เชื้อพระวงศ์ตามเมืองต่างๆหมดอำนาจ มีการก่อสร้างวัดขนาดใหญ่หลายหลังที่คาร์นัค เมืองที่ถือว่าเป็นที่สถิตของเทพเจ้าองค์ใหม่ ชื่ออาโมส อียิปต์เจริญสูงสุดในสมัยของ<br />\nพระเจ้าเสโซสทริสที่ 3 (1878-1841 ปี ก่อนคริสตศักราช) อียิปต์มีอิทธิพลถึงนูเบีย (ซูดาน) ทางตอนกลางเพราะที่นี่มีเหมืองทองคำ มีการสร้างทางติดต่อการค้าไปทะเลแดง ซีนาย และพุนท์ (โซมาเลีย) เกาะครีตและเมืองโบลส (ในเลบานอน) รัชกาลพระเจ้าอัมเมเนแมสที่ 3 จัดการใช้พื้นที่แถวทะเลสาบมัวริส (ฟายุม) ให้เป็นประโยชน์ สร้างปิรามิดและวัดฮา อูอาราสำหรับคนตาย (Labyrinthe) งานประติมากรรมมีการทำรูปพระเจ้าเสโซสทริสที่ 3 และพระเจ้าเมเนแมสที่ 3 ตอนวัยชรา การทำรูปสฟิงซ์มีหน้าเป็นกษัตริย์ กำเนิดประติมากรรมแบบใหม่ คือ รูปคนท่ายกเข่า สวมเสื้อผ้ายาวจดเท้า ด้านวรรณคดีมีการแต่ง \\&quot;คำสอนของพระเจ้าอัมเมเนแมสที่ 1\\&quot; และ \\&quot;ประวัติศาสตร์ซินูเฮ\\&quot;<br />\n1778 - ประมาณ 1610 ปี ก่อนคริสตศักราช เป็นช่วงคั่นระหว่างสองสมัย (ราชวงศ์ที่ 13-14) สงครามภายในทำให้มีศัตรูจากภายนอกรุกราน การรุกรานของพวกฮิกโซส ประมาณ 1650 ปี ก่อนคริสตศักราช พวกฮิกโซส มาจากชนเผ่าฮูไรท์และเซมิติก (ทางเอเซีย) การรุกรานเป็นผลมาจากการอพยพของพวกอินโด-ยุโรเยน ราวปี 2,000 ก่อนคริสตศักราช พวกฮิกโซสมีอำนาจเหนือดินแดนอียิปต์ตอนบน พวกเขาเป็นคนชั้นสูงและถิ่นที่เขาอยู่ที่อาวาริส (ทางเดลต้าตะวันออก) ถือว่าเจริญมากของอียิปต์ เนื่องจากเทคนิคอารยธรรมที่เหนือว่าตนเข้าไว้ด้วย\n</p>\n<p>\nจักรวรรดิ\n</p>\n<p>\n<br />\nสมัยจักรวรรดิ (The Empire) ประมาณ 1580-1090 ปีก่อนคริสตกาล ผู้เป็นกำลังในการขับไล่พวกฮิกซอสคือ ฟาโรห์อาห์โมสที่หนึ่ง (Ahmos I) ได้สถาปนาราชวงศ์ที่ 18 ขึ้น ทรงเป็นฟาโรห์ที่ทรงอำนาจยิ่งใหญ่ของอียิปต์ อาณาจักรอียิปต์เป็นปึกแผ่นยิ่งกว่าสมัยใดทั้งสิ้น พระองค์ยังทรงตีได้ดินแดนใกล้เคียงเข้ามาอยู่ใต้จักรวรรดิอีกเป็นจำนวนมาก ทรงทำให้อียิปต์มีความรู้สึกรักชาติและสามารถผนึกกำลังขับไล่พวกฮิกซอสออกไปได้สำเร็จ ในสมัยจักรวรรดินี้มีฟาโรห์ปกครองอยู่ 3 ราชวงศ์ จนถึงราชวงศ์ที่ 20 เป็นสมัยที่อียิปต์ทำสงครามแผ่ขยายอำนาจ เนื่องจากมีกองทัพที่มีประสิทธิภาพมาก ฟาโรห์อาห์โมสได้ยกกองทัพเข้าไปยังดินแดนปาเลสไตน์และประกาศยึดครองประเทศซีเรีย\n</p>\n<p>\nสมัยจักรวรรดิรุ่งโรจน์ที่สุดในสมัยฟาโรห์ธัตโมสที่สาม (Thutmos III) ทรงขึ้นครองราชสมบัติใน 1479 ปีก่อนคริสตกาล ทรงขยายดินแดนอียิปต์ออกไปจนถึงบริเวณลุ่มแม่น้ำยูเฟรติสและลงมาถึงบริเวณแก่งน้ำตกทางตอนใต้สุดของแม่น้ำไนล์ พวกฟินิเซียน คานาอัน ฮิตไตท์ (Hittites) และแอสซิเรียนต้องถวายเครื่องบรรณาการยอมเป็นข้าขอบขัณฑสีมาของพระองค์\n</p>\n<p>\nในสมัยราชวงศ์ที่ 19 (1350-1200 ปีก่อนคริสตกาล) อียิปต์ต้องประสบภัยจากการรุกรานที่สำคัญอีกครั้งหนึ่ง โดยพวกฮิตไตท์เป็นพวกนักรบซึ่งอยู่แถบเอเชียไมเนอร์ ได้ขยายตัวลงมาทางใต้เพื่อไปรุกรานดินแดนซีเรียและปาเลสไตน์ ในสมัยฟาโรห์รามซีสที่สอง (Rameses II, 1292-1225 ปีก่อนคริสตกาล) พระองค์ได้เข้าร่วมทำสงครามกับพวกฮิตไตท์ เพื่อรักษาพระราชอาณาจักรเป็นเวลาถึง 16 ปี แต่ก็ไม่สามารถเอาชนะได้ ทั้งสองฝ่ายต่างอ่อนกำลังลงเรื่อยๆ จึงได้ตกลงเปิดการเจรจายุติสงคราม ทำสนธิสัญญาแบ่งดินแดนซีเรียกับชาวฮิตไตท์ (สนธิสัญญาฉบับนี้เป็นฉบับที่เก่าแก่ที่สุดในโลกซึ่งได้เกิดมีขึ้นระหว่างประเทศ เมื่อ 1272 ปีก่อนคริสตกาล) หลังจากนั้นพระองค์ได้ทรงสร้างสิ่งก่อสร้างมากมาย ที่มีชื่อเสียงในความใหญ่โตหรูหราในการสร้างมาจนถึงปัจจุบันนี้ก็คือ “The Great Temple” และ “The Small Temple” เป็นวัดซึ่งพระเจ้ารามซีสโปรดให้สร้างสำหรับพระองค์และพระมเหสี คือพระนางเนฟาตาริ (Nefertari) รัชสมัยของฟาโรห์รามซิสยาวนานถึง 67 ปี และสมัยนี้ได้ชื่อว่าเป็นสมัยที่มีการก่อสร้างมากที่สุดในอียิปต์\n</p>\n<p>\nรามซิสที่สาม (Rameses III, 1198-11167 ปีก่อนคริสตกาล) ฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ยี่สิบ เป็นฟาโรห์ที่มีพระนามเด่นเป็นองค์สุดท้าย หลังจากนั้นอาณาจักรอียิปต์ได้เสื่อมลงทุกปี หลังจาก 945 ปีก่อนคริสตกาล ได้มีฟาโรห์ราชวงศ์ต่างชาติขึ้นปกครองเรื่อยมา เช่น ราชวงศ์ลิบเบียน (Libyian, ราชวงศ์ที่ 22-24 เมื่อ 945-712 ปีก่อนคริสตกาล) แอสซิเรียน (Assyrian,ราชวงศ์ที่ 25 เมื่อ 670 ปีก่อนคริสตกาล) เปอร์เซียน (Persian,ราชวงศ์ที่ 27-29 เมื่อ 525 ปีก่อนคริสตกาล)\n</p>\n<p>\nในที่สุดเมื่อประมาณ 332-323 ปีก่อนคริสตกาล อียิปต์ตกอยู่ใต้อำนาจของกรีกในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งจักรวรรดิมาซิโดเนีย (336-323 ปีก่อนคริสตกาล) ซึ่งได้สถาปนาพระองค์เองขึ้นเป็นฟาโรห์ เมื่อสิ้นพระเจ้าอเล็กซานเดอร์แล้ว แม่ทัพของพระองค์นามว่าทอเลมี (Ptolemy) ได้ปกครองอียิปต์ต่อมา สถาปนาราชวงศ์ทอเลมีที่ 30 ขึ้นเมื่อ 305 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์องค์แรกๆแห่งราชวงศ์นี้ได้อุทิศเวลาส่วนใหญ่สร้างเมืองอเล็กซานเดรีย (Alexandria) ขึ้นเป็นศุนย์กลางการค้าและศิลปวิทยา ทอเลมีที่สองฟิลาเดลฟุส (Ptoleme II Pheladephus, 285-246 ปีก่อนคริสตกาล) ได้โปรดสร้างพิพิธภัณฑ์และหอสมุดใหญ่ที่มีชื่อเสียงขึ้น<br />\nราชินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ทอเลมีที่ปกครองอียิปต์คือพระนางคลีโอพัตราที่หก (Cleopatra VI, 51-31 ปีก่อนคริสตกาล) พระนางได้ปลงพระชนม์ทอเลมีที่สิบสาม (Ptolemy XIII) ซึ่งเป็นพระสวามีและพระอนุชาของพระองค์เอง ต่อมาได้ยอมเป็นสนมของจูเลียตซีซ่าร์ (Julius Caesar) ประมุขแห่งกรุงโรม จนกระทั่งซีซ่าร์ถูกลอบปลงพระชนม์ใน 44 ปีก่อนคริสตกาล หลังจากนั้นพระนางได้มาร์คแอนโตนี่ (Mark Antony) นักรบคนสำคัญของโรมันเป็นพระสวามีใหม่ โดยพระนางคิดว่าคงจะได้ครองบัลลังค์ต่อจากจูเลียต ซีซ่าร์ แต่มาร์ค แอนโตนีก็ต้องปราชัยแก่ออกุสตุส (Augustus) ซึ่งเป็นทายาทอีกผู้หนึ่งของจูเลียต ซีซ่าร์ ในการรบที่เมืองแอกตุม (Actium) ตามเรื่องที่ปรากฏในนิยายรักของทั้งคู่นั้น มาร์ค แอนโตนีได้ฆ่าตัวตายก่อนที่ออกุสตุสจะจับตัวได้ และร่างของมาร์คได้ถูกส่งไปให้พระนางคลีโอพัตราทอดพระเนตร พระนางเองก็ต้องการหลีกเลี่ยงจากการที่ถูกออกุสตุสจับกุม จึงชิงปลงพระชนม์พระองค์เองโดยการจับงูเห่าใส่เข้าไปในฉลองพระองค์ให้พิษงูเข้าสู่ร่างกาย\n</p>\n<p>\nจักรวรรดิใหม่ อยู่ในระหว่างปี 1570 - 715 ปี ก่อนคริสตศักราช พระเจ้าอโมซิสทรงขับไล่พวกฮิกโซสออกจากอาวาริสไปจนถึงดินแดนปาเลสไตน์แล้ว ทรงตั้งจักรวรรดิใหม่ (ราชวงศ์ที่ 18) กษัตริย์ที่สืบราชสมบัติต่อมา เช่น พระเจ้า อาเมโนฟิสที่ 1 และ ธุทโมซิสที่ 1 ทรงทำให้อียิปต์มีอำนาจมากมีการยกทัพไปเอเซีย (แถวแม่น้ำยูเฟรติส) และนูเบีย สมัยที่อียิปต์เจริญสูงสุดคือสมัยพระนางฮัทเชบสุท<br />\nพระนางฮัทเชปสุท (1501-1480) ทรงดำเนินนโยบายแบบสันติ สัมพันธไมตรีกับประเทศพุนท์ มีการก่อสร้างมากมายที่สำคัญ คือวัดที่แดร์ เอล-บาห์รี ที่ก่อสร้างภายใต้การควบคุมของรัฐมนตรีคนโปรดของพระนาง ชื่อ เซอเนนมุท เมื่อพระนางสิ้นพระชนม์ พระสวามีขึ้นครองราชต่อ<br />\n1480-1488 พระเจ้าธุทโมซิสที่ 3 เป็นระยะเวลาที่ประเทศอียิปต์มีอาณาเขตกว้างไกลถึงแม่น้ำยูเฟรติส (ในอิรัก)<br />\n1480 พระองค์ทรงรบชนะซีเรีย ปาเลสไตน์และเฟนีเซีย ด้วยกองทัพทหารรับจ้างและกองทัพรถม้า อาณาจักรมิตานี (ปัจจุบัน คือ อิรักตอนเหนือ) กลายมาเป็นประเทศเพื่อนบ้าน กษัตริย์องค์ต่อๆมาล้วนประสบความสำเร็จในเรื่องการเมืองระหว่างประเทศทั้งสิ้น<br />\n1413-1377 อาเมโนฟิสที่ 3 มีมเหสีมาจากบุคคลธรรมดาถือเป็นสมัยที่รุ่งเรืองมาก ทรงมีนโยบายผูกสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศด้วยการอภิเษกสมรส เป็นสมัยที่อียิปต์ ต้อนรับทูตจากต่างประเทศมาก และมีการค้าขายอย่างเป็นล่ำเป็นสัน กับอาณาจักรมิตานี บาบิโลเนีย ครีต อัสซีเรีย อาณาจักรฮิตไทท์ และหมู่เกาะในทะเลเอเจียน (แผ่นดินเหนียวที่พบที่เมืองอามาร์นา จารึกเป็นภาษาอัคคาเดียน ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในทางการทูตสมัยนั้น)<br />\n1377-1358 อาเมโนฟิสที่ 4 ทรงมีมเหสีที่รู้จักกันดี คือ พระนางเนเฟอร์ติติ กษัตริย์พระองค์นี้ทรงเป็นผู้นำการนับถืออาตอน หรือ การนับถือดวงอาทิตย์เป็นพระเจ้าองค์เดียวให้แก่อียิปต์ ทรงย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่อาเคท-อาตอน (เอล-อามาร์นา) ทรงเปลี่ยนพระนามของพระองค์ใหม่เป็น อาเคนาตอน พระองค์ไม่สนพระทัยในเรื่องการเมืองระหว่างประเทศ ดังนั้นประเทศอียิปต์จึงค่อยๆ สูญเสียดินแดนในเอเซีย เมื่อทรงสิ้นพระชนม์ชนชั้น นักบวชถือโอกาสนำประเทศกลับมาใช้ระบบเดิม พระราชบุตรเขย ทั้งหลายพร้อมใจกันย้ายเมืองหลวงกลับมาอยู่ที่ธีบส์ตามเดิม หนึ่งในราชบุตรเขย มีตุตอนคามอน ที่นักโบราณคดีพบหลุมฝังศพเต็มไปด้วยของมีค่าเมื่อ ค.ศ.1922 โฮเรมเฮบ นายทหารของอาเคนาตอนขึ้นครองราชย์ ทำสงคราม ชนะพวกฮิทไทท์ในซีเรียและจัดระเบียบการปกครองใหม่ให้เข้มงวดกว่าเดิม ทรงทะนุบำรุงศาสนานำพิธีนับถือพระเจ้าแบบเก่ามาใช้ปนกับวิธีของเอล-อามาร์นา<br />\n1345 - 1200 ราชวงศ์ที่19 พระเจ้าเซติที่ 1 และพระเจ้ารามเสสที่ 2 ทรงชนะพวกฮิทไทท์และมีอำนาจเหนือซีเรียอีกประมาณ 1275 ปี ก่อนคริสตศักราช เกิดสนธิสัญญาสันติภาพระหว่างพระเจ้ารามเสสที่ 2 กับฮาทตูซิลที่ 3 กษัตริย์ของพวกฮิทไทท์ ซีเรียสามารถอยู่อย่างสงบ อียิปต์ตั้งเมืองหลวงใหม่ที่เดลต้า ชื่อ อาวาริส แปลว่าเมืองของรามเสส<br />\n1234 - ประมาณ 1220 พระเจ้าเมเนปทาห์ยกกองทัพไปทำสงคราม กับปาเลสไตน์ (ปรากฎชื่ออิสราเอลเป็นครั้งแรกในจารึก) และได้ต่อสู้กับชนชาวทะเล (มีพวกกรีกและฟีลิสติน แถวกาซาปัจจุบัน) แต่มีสัมพันธไมตรีกับลิเบีย<br />\n1197-1165 พระเจ้ารามเสสที่ 3 ทรงต่อสู้กับชนชาวทะเลและลิเบียที่มารุกราน แต่ถูกพระองค์ทรงขับไล่ออกไปทรงสร้างคุกไว้ที่เดลต้า กษัตริย์ต่อจากพระองค์ทรงให้วัดเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ<br />\nศิลปกรรม มีการสร้างวัดขนาดใหญ่ เช่น วัดพระเจ้าอามอนที่คาร์นัค ลุกซอร์ เมดิเนท์-ฮาบู ศิลปกรรมที่เมืองอามาร์นา (เศียรของอาเคนาตอนและเนเฟอร์ติติ รูปประติมากรรมของครอบครัว) ในรัชกาลของพระเจ้ารามเสส นิยมสร้างห้องขนาดใหญ่ที่คาร์นัค สร้างวัดที่เจาะเข้าไปในหิน ผนังเต็มไปด้วยภาพวาดแบบที่อาบู ซิมเบล ภายนอกมีรูปสลักขนาดมหึมา และนิยมสร้างวัดสำหรับเป็นที่ไว้ศพอย่างเช่นที่เมดิเนท์-ฮาบูหลังจากที่สู้รบกับพวกพระอามอน ที่ธีบส์และกับนายทหารจ้างของลิเบียแล้ว<br />\n950 ปีก่อนค.ศ. พระเจ้าเชช องค์ที่ 1 นายทหารจ้างลิเบียขยายอาณาเขตออกไปรอบๆ บูบาสติส พวกพระส่วนหนึ่งจึงอพยพไปอยู่นูเบีย ที่ซึ่งพระองค์ต่อๆมา สร้างรัฐที่ปกครองโดยพระขึ้นมา มีเมืองนาปาตาเป็นเมืองหลวง (ราว 750 ปี ก่อนคริสตศักราช) ประมาณ 920 ปี ก่อนคริสตศักราช กองทัพของพระเจ้าเชชองค์ที่ 1 ยกทัพไปตีปาเลสไตน์และทำลายเมืองเยรูซาเล็ม<br />\nสมัยอียิปต์ต่ำ (715-332 ปีก่อนค.ศ.) 715-663 เอธิโอเปียมีอำนาจเหนืออียิปต์ แต่ไม่นานก็ถูกอัสซีเรีย รุกรานจนสูญเสียอำนาจนี้ไป พระเจ้าอัสซาราดดอนยกทัพมาถึงเมือง ธีบส์ปี 671 ก่อนค.ศ. แต่พวกเอธิโอเปียขับไล่ออกไปได้<br />\n662 พระเจ้าอัสสูร์บานิปาลได้รับชัยชนะเหนืออียิปต์ อียิปต์กลายเป็นเมืองหนึ่งของอัสซีเรีย ผู้ครองโนม (จังหวัด) เป็นเสมือนเจ้าครองเมืองของอัสซีเรียหนึ่ง ในจำนวนนี้มี พระเจ้าพซามเมติกที่ 1 (663-609) เป็นผู้ปลดปล่อยอียิปต์ให้เป็นอิสระ และให้พวกพระอามอนเป็นทหารจ้างลิเบียก่อตั้งหน่วย ทหารจ้างไอโอเนียนที่เดลต้าและตั้งสถานีการค้าไอโอเนียน (โนเครติส)<br />\n569-525 พระเจ้าอามาซิส เป็นรัชกาลที่อียิปต์รุ่งเรืองขึ้นอีกเป็นครั้งสุดท้ายเพราะ สามารถควบคุมสถานการณ์ในแถบเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกได้และมีสัมพันธไมตรี กับเกาะต่างๆ ของกรีกและแม้แต่อาณานิคมกรีก อียิปต์ผูกไมตรีกับพระเจ้าเครซุสแห่งลิเดีย และกับพระเจ้าโปลีคราทแห่งซาโมสเพื่อต่อสู้กับพวกเปอร์เซีย<br />\n525 พระเจ้าพซามเมติกที่ 3 พระโอรสของพระองค์ถูกพระเจ้าคอมบิสแห่งเปอร์เซีย ฆ่าตายในการรบที่เปลุส อียิปต์กลายเป็นเมืองหนึ่งของเปอร์เซีย<br />\n332 พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชชนะต่ออียิปต์ ตั้งแต่ปี 304 ก่อนคริสตศักราชเป็นต้นมา เหล่ากษัตริย์ปโตเลมีของกรีกเฮเลนิสติกมาครองอียิปต์ 30 ปี ก่อนคริสตศักราชโรมันมาครองอียิปต์\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ความเจริญในด้านต่างๆ</span><br />\nลักษณะสังคมของอียิปต์แบ่งพลเมืองออกเป็น 7 ชั้น ชั้นสูงสุดคือฟาโรห์และพวกราชวงศ์ของพระองค์ (ฟาโรห์คือตำแหน่งกษัตริย์อียิปต์โบราณ มาจากคำว่า Pero แปลว่า “Great house” หรือ “Royal house” หมายถึงพระราชวังอันเป็นที่ประทับของกษัตริย์หรือที่อยู่ของเทพเจ้า) ฟาโรห์ถือว่าเป็นโอรสของเทพเจ้าแห่งพระอาทิตย์ที่ทรงพระนามว่า รา (Re) และยังถือว่าฟาโรห์เป็นสื่อกลางระหว่างชาวอียิปต์และเทพเจ้า จึงห้ามเอ่ยพระนามของฟาโรห์ อำนาจสูงสุดในการปกครองตกเป็นของฟาโรห์แต่เพียงผู้เดียว มีรัชทายาทรับตำแหน่งมหาเสนาบดีหรือวิเซียร์ (Vizier) เพื่อเตรียมพระองค์ในการเป็นฟาโรห์ต่อไปในอนาคต<br />\nคณะสงฆ์เป็นผู้ช่วยของฟาโรห์ในด้านการศาสนา นับเป็นชนชั้นที่ 2 ทำหน้าที่ประกอบพิธีกรรมต่างๆ อำนาจของพวกพระมาจากความกลัวเกรงในเทพเจ้า ฟาโรห์และคณะสงฆ์แบ่งผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน และมีการอุดหนุนส่งเสริมกัน แต่ก็มีบางครั้งที่ที่หัวหน้าพระได้พยายามแย่งอำนาจการปกครองมาจากฟาโรห์เสียเอง<br />\nการบริการงานท้องถิ่น จัดแบ่งประเทศออกเป็น 40 ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่าโนมิส เทียบได้กับจังหวัด มีข้าหลวงเรียกว่าโนมาร์ค แต่ละส่วนเรียกว่าชนชั้นสามในอียิปต์ ฟาโรห์ทรงเลือกแต่ผู้ใกล้ชิดและไว้วางพระทัยให้ปกครอง แต่ต่อมาขุนนางเหล่านั้นยึดตำแหน่งเจ้าเมืองเป็นของสกุลแห่งตนและสืบสกุลจากบิดามาถึงบุตร เหมือนกับเป็นสิทธิส่วนตัว ในที่สุดเจ้าเมืองเหล่านั้นก็รวบอำนาจเข้ามาเป็นของตนมากขึ้นทุกที เป็นเหตุให้อำนาจของฟาโรห์อ่อนลง เจ้าเมืองบางคนยังแก่งแย่งอำนาจปกครอง ก่อให้เกิดจลาจลหลายหน โดยไปรวมกำลังกับพวกที่เข้ามารุกราน<br />\nชนชั้นต่อมาคือทหารประจำการ มีไว้เพื่อป้องกันประเทศและยกไปรุกรานผู้อื่น<br />\nต่ำลงมาอีกชั้นหนึ่งของสังคมอียิปต์ก็คือ ผู้ที่เราอาจเรียกได้ว่าชนชั้นกลาง คือพวกช่างฝีมือและพ่อค้า ในประเทศอียิปต์ประมาณก่อน 2000 ปีก่อนคริสตกาล มีการค้าขายติดต่อกันกับเกาะครีท พวกฟินิเซีย ปาเลสไตน์และซีเรีย สินค้าที่ขายประกอบด้วย ข้าวสาลี ผ้าป่านลินินและไม้ซุง ส่วนสินค้าที่ส่งเป็นสินค้าออกประกอบด้วยข้าวสาลี ผ้าป่านลินินและเครื่องปั้นดินเผา สินค้าเข้ามีเงิน ทอง งาช้างและไม้ซุง ประมาณ 3000 ปีก่อนคริสตกาล พวกช่างฝีมือของอียิปต์ได้เริ่มทำอุตสาหกรรมต่อเรือ ทำเครื่องปั้นดินเผา ทำแก้วและเสื้อผ้าต่างๆ แต่ในสมัยจักรวรรดิ รัฐได้เข้ามาควบคุมธุรกิจของเอกชนทุกอย่าง<br />\nชนชั้นต่อมาคือกสิกร เป็นชนชั้นที่มีจำนวนมากและทำงานหนักที่สุด เพาะปลูกทั้งข้าวสาลี ข้าวบาเลย์ ข้าวมิลล์เลย์ ผัก ผลไม้ ป่านลินินและฝ้าย จนอียิปต์ได้ชื่อว่าเป็นอู่ข้าวอู่น้ำของโลกในสมัยดึกดำบรรพ์<br />\nชนชั้นล่างสุดของอียิปต์คือพวกทาสติดดินและเชลย ทำหน้าที่หาวัตถุดิบทุกอย่างในประเทศ เช่น หนังสัตว์ ต่อยและลำเลียงหินที่ใช้ในการก่อสร้าง ขุดคลอง สร้างปิรามิด เป็นต้น พวกนี้มีความเป็นอยู่ที่ลำบากมาก อาศัยอยู่ในกระท่อมมุงจากและสร้างด้วยอิฐที่ทำจากดินเหนียว<br />\nฐานะของสตรี ชาวอียิปต์นิยมที่จะมีสามีและภรรยาเพียงคนเดียว แม้แต่ฟาโรห์ก็เช่นกัน ในสังคมอียิปต์ฝ่ายหญิงและเครือญาติของฝ่ายหญิงมีอำนาจ ภรรยาสามารถเป็นเพื่อนและไปไหนมาไหนกับสามีได้ สามารถไปงานพิธีต่างๆได้ มีสิทธิในกฎหมายเท่าเทียมชาย พระธิดาของฟาโรห์มีสิทธิสืบสันตติวงศ์ได้เช่นเดียวกัน ด้วยเหตุนี้จึงปรากฏว่ามีราชินีผู้สามารถหลายองค์ขึ้นครองราชย์\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"259\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:8D6VEv84Ap6ZiM::&amp;t=1&amp;usg=__qB8i1bN6he16mrDo2GCVl8eyn5U=\" height=\"194\" /><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.ilovetogo.com/FileUpload/Editor/ImagesUpload/WebContent/Story/romantic_2_cairo.jpg\" height=\"1\" /><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.chanpradit.ac.th/~nattinee/nut016551/EG4.jpg\" height=\"1\" />\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"http://www.chanpradit.ac.th/~nattinee/nut016551/EG4.jpg\" height=\"335\" />\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"321\" src=\"http://202.44.68.33/files/u1216/2.jpg\" height=\"241\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n รูปภาพที่1  <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"> รูปภาพที่2 </span><a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank</span>.htm</a>\n</p>\n<p>\nรูปภาพที่3 <a href=\"http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\" title=\"http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/t...</a>\n</p>\n', created = 1715460747, expire = 1715547147, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2056a9999ed9e7c61a2c4225065389db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:701042ee5e2d57436f30da1f4e12b04b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เนื้อหาข้อมูลก็โอเคแล้ว แต่การจัดวางรูปแบบยังไม่ลงตัวเท่าไหร่  good luk for you.</p>\n', created = 1715460747, expire = 1715547147, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:701042ee5e2d57436f30da1f4e12b04b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์ประเทศอียิปต์

                                                                 ตำนานประวัติศาสตร์อียิปต์

                                                                    
สมัยประวัติศาสตร์ ( Historic Period )
.........อียิปต์ ( Egypt ) อายุประมาณ 3200 - 1085 BC. หรือ 2650 ปีก่อน พ.ศ - พ.ศ. 510
ลักษณะทั่วไป
...........อียิปต์ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ทิศใต้ จดเอธิโอเปีย , ทิศตะวันออก จดทะเลแดง , ทิศตะวันตก จดทะเลทรายซาฮารา และทะเลทรายลิเบีย


อากาศค่อนข้างแห้งแล้ง มีฝนตกเล็กน้อย มีแม่น้ำไนล์ ไหลผ่าน ยาวประมาณ 4,000 ไมล์ ต้นแม่น้ำจะไหลมาจากแถบภูเขาเอธิโอเปีย ไหลลงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นับเป็นเวลาหลายปี น้ำได้พาเอาโคลนมาทับถม จนกลายเป็นสันดอน แตกเป็นรูปพัด บริเวณนี้จะอุดมสมบูรณ์ เรียกว่า เดลต้า ( Delta )
แม่น้ำไนล์ ประกอบด้วยแม่น้ำ 2 สาย คือ แม่น้ำไนล์ขาว ( White Nile ) มีต้นน้ำอยู่ที่ราบสูง บริเวณทะเลสาบวิคตอเรีย ไหลมาบรรจบกับแม่น้ำไนล์สีน้ำเงิน ( Blue Nile ) ซึ่งไหลมาทางตะวันออก เมื่อแม่น้ำทั้ง 2 สายมาบรรจบกัน กระแสน้ำได้กัดเซาะหินที่คดเคี้ยว และคับแคบ ทำให้เกิดแก่งน้ำถึง 6 แห่ง เรียกว่า แก่งน้ำตก ( Cataract )
ตั้งแต่อัสวันลงไป ค่อนข้างแห้งแล้ง เรียกว่า อียิปต์ตอนบน ( Upper Egypt ) ต่อจากนั้น แม่น้ำไนล์ไหลผ่านร่องน้ำ ไปสู่ดินแดนที่ลุ่มกว่า แล้วแตกเป็นรูปพัด ก่อนไหลลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณนี้มีความอุดมสมบูรณ์กว่า เรียกว่า อียิปต์ตอนล่าง ( Lower Egypt )
สภาพความเป็นอยู่ในระยะแรก ๆ อยู่รวมกันเป็นหมู่ โดยมีหัวหน้าหมู่บ้านเป็นผู้ปกครอง เมื่อขนาดหมู่บ้านขยายใหญ่ขึ้น จึงกลายเป็นรัฐ หรือจังหวัด เรียกว่า โนมิส ( Nomes ) จนกระทั่ง ประมาณ 3200 BC. เมนิส ( Menes ) จากอียิปต์ตอนบน ได้รวบรวมรัฐเข้าด้วยกัน แล้วสถาปนาราชวงค์ขึ้นปกครองอียิปต์เป็นครั้งแรก เป็นการเริ่มต้นประวัติศาสตร์สมัยราชวงค์

 

 

 

 

การปกครอง
มีกษัตริย์ปกครอง เรียกว่า ฟาโรห์ ( Pharaoh ) หมายถึง บ้านใหญ่ ( The big house ) ชาวอียิปต์นับถือฟาโรห์ เสมือนพระเจ้าองค์หนึ่ง เพราะเชื่อว่า ฟาโรห์ คือ เทพเจ้ามาจุติ เพื่อปกป้องและคุ้มครองของตน
พลเมืองของอียิปต์ แบ่งเป็น 4 ชั้น
1. ชั้นสูง - ประกอบด้วย 2 พวก คือ
Priests ได้แก่ นักบวช , พระ เป็นบุคคลรวยที่สุด รองจากฟาโรห์ มีความรู้สูง ฝึกให้เป็นแพทย์ รู้จักการผ่าตัด รักษาพยาบาล และรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อย
Nobles ได้แก่ พวกขุนนาง , ทหาร มีหน้าที่ป้องกันบ้านเมือง และรับใช้ฟาโรห์โดยตรง
2. ชั้นกลาง - ประกอบด้วย 2 พวก คือ
Scriber ได้แก่ อาลักษณ์ ผู้จดบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ
Craftsmen , Merchants ได้แก่ ช่าง และ พ่อค้า

3. ชั้นต่ำ ได้แก่ พวก Peasant เป็นชาวนา พวกนี้ต้องทำงานหนัก มีความเป็นอยู่ยากแค้น
4. Slaves ได้แก่ พวกทาส พวกนี้ไม่มีสิทธิ์อย่างหนึ่งอย่างใด แม้จะทำงานหนัก ก็ไม่อาจเป็นเสรีชนได้


ประวัติศาสตร์สมัยเริ่มราชวงศ์
-สมัยอาณาจักรเก่า ( The Old Kingdom )


สมัยอาณาจักรกลาง ( The Middle Kingdom )
สมัยอาณาจักรใหม่ ( The New Kingdom )
 
อักษรภาพ ( Hieroglyphic )
..........อียิปต์เป็นชาติแรก ที่ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ เพื่อใช้บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ทางศาสนา และความเชื่อ เรียกว่า ศาสนาจารึก มีประมาณ 900 - 1000 ตัว ใช้บันทึกบนแผ่นหินหน้าเรียบ

ศาสนาและความเชื่อ
ชาวอียิปตื เป็นชนชาติที่เคร่งครัดศาสนาที่สุดในโลก แต่ละแห่งจะมีเทพเจ้าประจำท้องถิ่นของตน เทพเจ้าเหล่านี้มักเป็นสัตว์ หรือคนปนกับสัตว์ เมื่อโนมิสรวบรวมอียิปต์ เทพเจ้าก็มาอยู่รวมกัน อียิปต์จึงมีเทพเจ้าหลายองค์ คือ
1. รา หรือ เร ( Ra or Re ) เป็นสุริยเทพ ( Sun God ) เทพเจ้าสูงสุด
2. โอซิริส ( Osiris ) เป็นเทพเจ้าชั้นสูง จนได้ชื่อว่า เป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์แห่งลุ่มแม่น้ำไนล์ เนื่องจากแม่น้ำไนล์ไหลหลากมาก ช่วยให้พืชพันธุ์ริมฝั่ง จึงอุดมสมบูรณ์ กลับคืนสู่ดินแดนเหล่านี้ โอซิริส ถูกเซท ( Seth ) น้องชายฆ่าตาย ร่างกายถูกสับออกเป็นชิ้น ๆ แล้วโยนลงแม่น้ำไนล์ ไอซิส มเหสีของโอซิริส ได้เก็บเอาชิ้นส่วนของศพที่ลอยน้ำ มาชุบชีวิตขึ้นใหม่ การฟื้นขึ้นใหม่เปรียบกับพืชพันธุ์ริมแม่น้ำไนล์ ที่ล้มตายสูญหาย ฟื้นคืนชีพขึ้นมาอีก เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก ปรากฏการณ์นี้ ทำให้ชาวอียิปต์ เชื่อในเรื่อง การเกิดใหม่ เป็นแรงผลักดัน ทำให้มีการสร้างมัมมี่ และปิรามิด โอซิริส ยังเป็นเทพเจ้าที่ทรงคุณงามความดี และยุติธรรม จึงเป็นตุลาการแห่งโลกหน้า วิญญาณของผู้ตาย จะต้องไปเฝ้า เทพโอซิริส เพื่อตัดสินที่จะไปเกิดใหม่ โอซิริส เป็นภาษาพื้นเมือง หมายถึง คนที่ตายไปแล้ว
3. ไอซิส ( Isis ) เป็นมเหสี และน้องสาวของโอซิริส มีรูปโฉมงดงาม ไอซิสถูกเทพเจ้าโฮรัสตัดศีรษะ แล้วเอาหัววัวมาใส่แทน เนื่องจากแม่น้ำไนล์ เมื่อน้ำหลากจะไหลมาโดยไม่มีฝนตก เชื่อว่า เป็นน้ำตาของเทพีไอซิส ร้องไห้ที่สามีถูกเซทน้องชายฆ่าตาย และเทพไอซิส ได้ชื่อว่าเป็นเทพีแห่งพืชพันธุ์ธัญญาหาร และความสมบูรณ์
4. เซท ( Seth ) เทพเจ้าประจำอียิปต์บน ผู้ประหารโอซิริส ภายหลังถูกทำร้ายจนตาบอด หมายถึง ความจงเกลียดจงชัง ทำให้ตาบอดมืดมัวมองไม่เห็น เป็นตัวแทน ความมืดของพายุร้ายกลางทะเลทราย
5. โฮรัส ( Horus ) เป็นโอรสของโอซิริส และไอซิส มีศีรษะเป็นเหยี่ยว ถือเครื่องหมายของชีวิต
6. อนูบิส ( Anubis ) เดิมเป็นเทพเจ้าผู้ดูแลซากศพ ต่อมาเป็นเทพเจ้าแห่งโลกหน้า เป็นผู้นำเอาหัวใจ ( วิญญาณ ) ของผู้ตาย ขึ้นตราชูชั่งน้ำหนักกับขนนก เพื่อวัดว่าผู้นั้นทำบุญ และบาป มากน้อยเพียงใด เทพเจ้าอนูบิสมีศีรษะเป็นสุนัข
7. ฮาเธอร์ ( Hathor ) เทพีแห่งความรัก และการเกิดของเด็ก มีสัญลักษณ์เป็นวัวตัวเมีย เป็นเทพีผู้ให้น้ำนมเลี้ยงโฮรัส มีลักษณะคือ หัว และ ตัวเป็นมนุษย์ แต่มีสัญลักษณ์เป็นเขาวัว อยู่บนศีรษะ
8. พตาห์ ( Ptah ) เทพเจ้าประจำเมืองเมมฟิส เป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และการช่าง
9. แอมมอน ( Ammon ) เทพเจ้าประจำเมืองธีบิส มีสัญลักษณ์ได้หลายอย่าง เช่น แกะ แพะ งู ฯลฯ
10. คนูม ( Khnum ) เทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ให้กำเนิดโลก และพื้นน้ำ มีศีรษะเป็นแกะ
11. เนคเบท ( Nekhbet ) เทพีผู้คุ้มครองฟาโรห์ ประจำอียิปต์บน มีสัญลักษณ์เป็นแร้ง
แบบฝึกหัด 2


สถาปัตยกรรม
....อียิปต์ มีความชำนาญในการก่อสร้างเหนือกว่าชาติใด ๆ ในยุคเดียวกัน ซึ่งมีลักษณะใหญ่โต ทึบตัน เน้นให้เห็นมวล และใช้เส้นแสดงคงที่ เรียบง่าย และแข็งทื่อ วัสดุเป็นหินเกือบทั้งหมด จุดมุ่งหมายสำคัญ คือ

 

1. สร้างที่เก็บศพ ( Tomb ) มีลักษณะแตกต่างกัน 3 แบบ คือ
1.1 มาสตาบา ( Mastaba )
1.2 ปิรามิด ( Pyramid )
1.3 สุสานสกัดหน้าผา ( Rock Cut Tomb )
2. วิหาร ( Temple )
สมัยอาณาจักรใหม่ ใช้หัวเสาเป็นรูปดอกบัว และใบไม้พื้นเมือง ที่นิยมมี 3 แบบ คือ
1. หัวเสารูปดอกบัว - แบบบัวตูม , บัวบาน
2. หัวเสารูปปาล์ม
3. หัวเสารูปปาปิรัส


อียิปต์โบราณยุคราชวงศ์
สมัยราชวงศ์

สมัยราชวงศ์(Dynastic Period) นับตั้งแต่สมัยที่อียิปต์ได้รวมกันเข้าเป็นอาณาจักรใหญ่ๆ 2 แห่ง คือ อียิปต์สูงและอียิปต์ล่าง ต่อมาใน 3,200 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์เมนิสได้ทรงสถาปนาราชวงศ์ที่ 1 ขึ้นปกครองประเทศอียิปต์ นับจนถึงสิ้นสุดยุคอียิปต์โบราณ

ยุคราชวงศ์เริ่มต้น

ยุคเริ่มราชวงศ์นี้ ยังไม่นับว่าเป็นยุคสมัยราชวงศ์อย่างเต็มตัว เพราะว่ายังไม่มีหลักฐานที่มากพอที่จะสามารถบอกได้
ประมาณ 3,000 ปี ก่อนคริสตศักราช อียิปต์แบ่งเป็นสองราชอาณาจักร คือ อียิปต์สูง (อียิปต์บน) และอียิปต์ต่ำ (อียิปต์ล่าง) ทั้งสองอาณาจักรรวมกันสมัยพระเจ้านาแมร์ (กรีกเรียกเมแนส) และสมัยพระเจ้าอหา มีเมืองหลวงชื่อเมมฟิส (กำแพงขาว
ในปี 2850-2650 ก่อนคริสตกาล สมัยธินิท(ราชวงศ์ที่ 1 และ 2) อียิปต์เป็นตัวของตัวเอง ไม่ได้รับอิทธิพลจากต่างชาติ มีการสู้รบกับพวกเบดวงจากคาบสมุทรซีนาย เพื่อแย่งชิงเหมืองทองแดงมีการติดต่อทางเรือกับเมืองไบโบลส (ในเลบานอนปัจจุบัน) เพื่อซื้อไม้เซดาร์มาใช้ในการก่อสร้างและทำโลงศพของฟาห์โร (กษัตริย์) มีการก่อสร้างหลุมศพสำหรับเจ้าเรียกว่า มาสตาบา
อักษรบนจารึกนั้นมีสามแบบ คือ อักษรเฮียโรกลีฟิค อักษรเดโมติค (Demotic) และอักษรคอฟติค (Coptic) นอกจากนั้นบันทึกบนแผ่นแปปิรุส (Papyrus) กระดาษของชาวอียิปต์โบราณซึ่งทำจากต้นอ้อก็ได้ช่วยคลี่คลายเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับชาวอียิปต์ในสมัยโบราณ
ประวัติศาสตร์ของอียิปต์สมัยราชวงศ์ที่มีหลักฐาน นานถึงสามสิบศตวรรษอาจสรุปได้เป็น 3 สมัย ดังนี้

อาณาจักรเก่า


สมัยอาณาจักรเก่า(The Old Kingdom) ประมาณ 3,200 - 2,300 ปีก่อนคริสตกาล เป็นสมัยที่อารยธรรมอันยิ่งใหญ่ของอียิปต์เริ่มปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรก ฟาโรห์เมนิสได้ทรงรวมอียิปต์บนและอียิปต์ล่างเข้าด้วยกันและสถาปนาราชวงศ์ที่ 1 ขึ้นเมื่อประมาณ 3,200 ปีก่อนคริสตกาล ในสมัยอาณาจักเก่านี้มีฟาโรห์ปกครองทั้งสิ้นรวม 6 ราชวงศ์จนกระทั่งถึง 2,300 ปีก่อนคริสตกาล ระหว่าสองศตวรรษแรกมีเมืองหลวงคือธีบิส (Thebes) ในอียิปต์บน ในราชวงศ์ที่สามย้ายมาอยู่ที่เมืองเมมฟิส และอยู่นานถึง 5 ศตวรรษ เรียกว่าสมัยเมมฟิส (Memphis period) ในสมัยนี้มีการสร้างปิรามิดมาก จึงมีผู้เรียกยุคนี้ว่ายุคปิรามิด (Pyramid Age) ในสมัยนี้มีฟาโรห์ทรงพระนามว่า ซีนุตเรต (Senusret) ได้โปรดให้ขุดคลองจากแม่น้ำไนล์ไปเชื่อมกับทะเลแดง สมัยอาณาจักรเก่าเริ่มเสื่อมในสมัยราชวงศ์ที่ 6 ข้าหลวงที่ฟาโรห์ส่งไปปกครองมณฑลต่างๆก็กระด้างกระเดื่อง ก่อให้เกิดจลาจล ชิงอำนาจความเป็นใหญ่อยู่ประมาณ 200 ปี ระยะเวลาของความระส่ำระส่ายที่มากั้นระกว่างอาณาจักรเก่า (Old Kingdom) กับอาณาจักรกลาง (Middle Kingdom) เรียกว่ายุคฟิวดัล (Feudal Age) ของอียิปต์
ยุคอาณาจักรเก่า ตั้งแต่ปี 2686 - 2183(ราชวงศ์ที่ 3 - 6) ก่อนคริสตกาล เมมฟิส เป็นศูนย์กลางทางการเมือง
พระเจ้าโจเซอร์ทรงมีพระราชโองการให้อิมโฮเทป ผู้เป็นแพทย์และสถาปนิก เป็นผู้สร้างปิรามิดซัคคาราขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ฝังพระศพ ของพระองค์ปิรามิดซัคคารา ประกอบด้วยมาสตาบา 6 หลังซ้อนกัน
ราชวงศ์ที่ 4: จำนวนกษัตริย์ผู้สร้างปิรามิดมีมากมาย ที่มีชื่อเสียง เช่น สเนฟรู (ปิรามิดดาห์ชูร์และแมดูม) เคออป, เคเฟรน, ไมเซรินุส (ปิรามิดกิเซ่ ทางตะวันตกของเมืองไคโร)
ราชวงศ์ที่ 5: ศาสนาประจำชาติ คือการนับถือเทพเจ้าเร (เรแห่งเมืองเฮลิโอโปลิส) เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ มีการสร้างวิหารให้เทพเจ้าองค์นี้และสร้างเสาหินสูง
ราชวงศ์ที่ 6: ฟาห์โรอ่อนอำนาจทำให้ขุนนางมีอำนาจมากขึ้น
2190 - 2052 เป็นระยะเวลาที่ต่อระหว่างสองสมัย (ราชวงศ์ที่ 7 ถึงที่ 10 เรียกสมัยเฮราเคลโอโปลิส)
รัฐ ตำแหน่งฟาห์โร (บ้านใหญ่) เป็นตำแหน่งสืบทอดฟาห์โร มีอำนาจสูงสุด เช่น ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชของไทย เรามักเห็นอยู่ในรูปของเทพเจ้า-เหยี่ยวโฮรุส (เทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่) นับจากราชวงศ์ที่ 4 เป็นต้นมา ฟาห์โร เปรียบเสมือนบุตรของเทพเจ้าเร หรือเทพเจ้า-พระอาทิตย์
การบริหารส่วนกลาง ข้าราชการหรือสคริบอยู่ใต้คำบังคับบัญชา ของรัฐมนตรี ล้วนมาจากครอบครัวชนชั้นสูง ภาษีจ่ายเป็นข้าวสาลีและ สัตว์ใช้งาน เช่น วัว ประชาชนทุกคนมีสิทธิในศาล มีสัมพันธไมตรีกับประเทศซีเรียและพุนท์ (โซมาเลีย) ทำสงครามกับประเทศลิเบียและชนเผ่าต่างๆในดินแดนปาเลสไตน์
การศาสนา เริ่มแรกนับถือสิ่งศักด์สิทธิ์มากมาย ซึ่งมีอยู่ในรูปร่าง และหัวสัตว์ สมัยประวัติศาสตร์ คนนับถือพระอาทิตย์มาก มีการสร้าง วิหารที่สำคัญหลายแห่ง เช่น วิหารของเทพเจ้าอาตอน-เรที่เฮลิโอโปลิส วิหารของเทพเจ้าพทาห์ที่เมมฟิส วิหารของเทพเจ้าโธทที่เฮอร์โมโปลิส เทพเจ้าโอซิริสที่เคยเป็นเทพเจ้าแห่งพืชพันธุ์ไม้ กลายมาเป็นเทพเจ้า ของคนตาย คนอียิปต์เชื่อเรื่องเวรกรรม คนตายไปแล้วจะได้รับกรรมที่ทำไว้ และเชื่อเรื่องชาติหน้า
อักษรเฮียโรกลีฟ มีลักษณะเป็นรูปสัญลักษณ์หนึ่งเท่ากับคำหนึ่ง จากนั้นเป็นกลุ่มพยัญชนะ พยัญชนะโดดๆ ไม่มีสระ ใช้ในทางศาสนา ต่อจากอักษรเฮียราติค (ภาษาที่ใช้ทั่วไป) เป็น อักษรเดโมติค (ราว 700 ปีก่อนค.ศ.) เป็นภาษาประจำวัน ปฏิทินอียิปต์มี 365 วัน (12 x 30 + 5) วันแรกของปีเริ่มกลางเดือนกรกฎาคม ตรงกับที่แม่น้ำไนล์ล้นฝั่ง ปีที่มี 366 วันไม่มีปรากฎใช้ สมัยต่อมา การนับปีถือเอาเทพเจ้าซิริอุส (โซธิส) เป็นหลัก คือ หนึ่งปีโซธิสมี 365 วันและอีกเศษหนึ่งส่วนสี่

อาณาจักรกลาง


สมัยอาณาจักรกลาง (The Middle Kingdom) ประมาณ 200-1580 ปีก่อนคริสตกาล หลังจากที่เกิดความระส่ำระส่ายและบรรดาขุนนางที่ตั้งตัวเป็นใหญ่ต่างรบพุ่งแย่งชิงความเป็นใหญ่กันจนอ่อนกำลังลงแล้ว ฟาโรห์ในสมัยราชวงศ์ที่ 12 ได้ตั้งตัวเป็นใหญ่ รวบรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้ง เนื่องจากพระองค์ได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือจากประชาชนอียิปต์ส่วนใหญ่ พระองค์จึงได้แต่งตั้งประชาชนอียิปต์ให้ดำรงตำแหน่งต่างๆในรัฐบาล สมัยนี้เป็นสมัยหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองและเป็นประชาธิปไตยที่สุด เรียกกันว่า “ยุคทองของอียิปต์” ต่อมาอำนาจของฟาโรห์เริ่มเสื่อมลง ในที่สุดได้ถูกพวกฮิกซอส (Hyksos) ซึ่งเป็นพวกเรเร่อนทางตะวันตกของทวีปเอเชียเข้ามารุกรานและยึดครองนานเกือบ 200 ปี เป็นผลให้อียิปต์ลืมความแตกแยกภายในอย่างสิ้นเชิง กลับมาผนึกกำลังกันขับไล่พวกฮิกซอสให้ออกจากประเทศได้ก่อน 1580 ปีก่อนคริสตกาล

สมัยจักรวรรดิ์กลาง อยู่ในระหว่างปี 2052 - 1570 ปี ก่อนคริสตศักราช หลังจากที่อียิปต์ผ่านสงครามภายในมาหลายปี พระเจ้าเมนทูโฮเทปที่ 2 ทรงรวม อียิปตสูงและอียิปต์ต่ำเข้าด้วยกัน และทรงย้ายเมืองหลวงจากเมมฟิสไปที่ธีบส์
1991 - 1786 ตรงกับราชวงศ์ที่ 12 อำนาจการปกครองมารวมอยู่ที่เมืองหลวงอีก เชื้อพระวงศ์ตามเมืองต่างๆหมดอำนาจ มีการก่อสร้างวัดขนาดใหญ่หลายหลังที่คาร์นัค เมืองที่ถือว่าเป็นที่สถิตของเทพเจ้าองค์ใหม่ ชื่ออาโมส อียิปต์เจริญสูงสุดในสมัยของ
พระเจ้าเสโซสทริสที่ 3 (1878-1841 ปี ก่อนคริสตศักราช) อียิปต์มีอิทธิพลถึงนูเบีย (ซูดาน) ทางตอนกลางเพราะที่นี่มีเหมืองทองคำ มีการสร้างทางติดต่อการค้าไปทะเลแดง ซีนาย และพุนท์ (โซมาเลีย) เกาะครีตและเมืองโบลส (ในเลบานอน) รัชกาลพระเจ้าอัมเมเนแมสที่ 3 จัดการใช้พื้นที่แถวทะเลสาบมัวริส (ฟายุม) ให้เป็นประโยชน์ สร้างปิรามิดและวัดฮา อูอาราสำหรับคนตาย (Labyrinthe) งานประติมากรรมมีการทำรูปพระเจ้าเสโซสทริสที่ 3 และพระเจ้าเมเนแมสที่ 3 ตอนวัยชรา การทำรูปสฟิงซ์มีหน้าเป็นกษัตริย์ กำเนิดประติมากรรมแบบใหม่ คือ รูปคนท่ายกเข่า สวมเสื้อผ้ายาวจดเท้า ด้านวรรณคดีมีการแต่ง \"คำสอนของพระเจ้าอัมเมเนแมสที่ 1\" และ \"ประวัติศาสตร์ซินูเฮ\"
1778 - ประมาณ 1610 ปี ก่อนคริสตศักราช เป็นช่วงคั่นระหว่างสองสมัย (ราชวงศ์ที่ 13-14) สงครามภายในทำให้มีศัตรูจากภายนอกรุกราน การรุกรานของพวกฮิกโซส ประมาณ 1650 ปี ก่อนคริสตศักราช พวกฮิกโซส มาจากชนเผ่าฮูไรท์และเซมิติก (ทางเอเซีย) การรุกรานเป็นผลมาจากการอพยพของพวกอินโด-ยุโรเยน ราวปี 2,000 ก่อนคริสตศักราช พวกฮิกโซสมีอำนาจเหนือดินแดนอียิปต์ตอนบน พวกเขาเป็นคนชั้นสูงและถิ่นที่เขาอยู่ที่อาวาริส (ทางเดลต้าตะวันออก) ถือว่าเจริญมากของอียิปต์ เนื่องจากเทคนิคอารยธรรมที่เหนือว่าตนเข้าไว้ด้วย

จักรวรรดิ


สมัยจักรวรรดิ (The Empire) ประมาณ 1580-1090 ปีก่อนคริสตกาล ผู้เป็นกำลังในการขับไล่พวกฮิกซอสคือ ฟาโรห์อาห์โมสที่หนึ่ง (Ahmos I) ได้สถาปนาราชวงศ์ที่ 18 ขึ้น ทรงเป็นฟาโรห์ที่ทรงอำนาจยิ่งใหญ่ของอียิปต์ อาณาจักรอียิปต์เป็นปึกแผ่นยิ่งกว่าสมัยใดทั้งสิ้น พระองค์ยังทรงตีได้ดินแดนใกล้เคียงเข้ามาอยู่ใต้จักรวรรดิอีกเป็นจำนวนมาก ทรงทำให้อียิปต์มีความรู้สึกรักชาติและสามารถผนึกกำลังขับไล่พวกฮิกซอสออกไปได้สำเร็จ ในสมัยจักรวรรดินี้มีฟาโรห์ปกครองอยู่ 3 ราชวงศ์ จนถึงราชวงศ์ที่ 20 เป็นสมัยที่อียิปต์ทำสงครามแผ่ขยายอำนาจ เนื่องจากมีกองทัพที่มีประสิทธิภาพมาก ฟาโรห์อาห์โมสได้ยกกองทัพเข้าไปยังดินแดนปาเลสไตน์และประกาศยึดครองประเทศซีเรีย

สมัยจักรวรรดิรุ่งโรจน์ที่สุดในสมัยฟาโรห์ธัตโมสที่สาม (Thutmos III) ทรงขึ้นครองราชสมบัติใน 1479 ปีก่อนคริสตกาล ทรงขยายดินแดนอียิปต์ออกไปจนถึงบริเวณลุ่มแม่น้ำยูเฟรติสและลงมาถึงบริเวณแก่งน้ำตกทางตอนใต้สุดของแม่น้ำไนล์ พวกฟินิเซียน คานาอัน ฮิตไตท์ (Hittites) และแอสซิเรียนต้องถวายเครื่องบรรณาการยอมเป็นข้าขอบขัณฑสีมาของพระองค์

ในสมัยราชวงศ์ที่ 19 (1350-1200 ปีก่อนคริสตกาล) อียิปต์ต้องประสบภัยจากการรุกรานที่สำคัญอีกครั้งหนึ่ง โดยพวกฮิตไตท์เป็นพวกนักรบซึ่งอยู่แถบเอเชียไมเนอร์ ได้ขยายตัวลงมาทางใต้เพื่อไปรุกรานดินแดนซีเรียและปาเลสไตน์ ในสมัยฟาโรห์รามซีสที่สอง (Rameses II, 1292-1225 ปีก่อนคริสตกาล) พระองค์ได้เข้าร่วมทำสงครามกับพวกฮิตไตท์ เพื่อรักษาพระราชอาณาจักรเป็นเวลาถึง 16 ปี แต่ก็ไม่สามารถเอาชนะได้ ทั้งสองฝ่ายต่างอ่อนกำลังลงเรื่อยๆ จึงได้ตกลงเปิดการเจรจายุติสงคราม ทำสนธิสัญญาแบ่งดินแดนซีเรียกับชาวฮิตไตท์ (สนธิสัญญาฉบับนี้เป็นฉบับที่เก่าแก่ที่สุดในโลกซึ่งได้เกิดมีขึ้นระหว่างประเทศ เมื่อ 1272 ปีก่อนคริสตกาล) หลังจากนั้นพระองค์ได้ทรงสร้างสิ่งก่อสร้างมากมาย ที่มีชื่อเสียงในความใหญ่โตหรูหราในการสร้างมาจนถึงปัจจุบันนี้ก็คือ “The Great Temple” และ “The Small Temple” เป็นวัดซึ่งพระเจ้ารามซีสโปรดให้สร้างสำหรับพระองค์และพระมเหสี คือพระนางเนฟาตาริ (Nefertari) รัชสมัยของฟาโรห์รามซิสยาวนานถึง 67 ปี และสมัยนี้ได้ชื่อว่าเป็นสมัยที่มีการก่อสร้างมากที่สุดในอียิปต์

รามซิสที่สาม (Rameses III, 1198-11167 ปีก่อนคริสตกาล) ฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ยี่สิบ เป็นฟาโรห์ที่มีพระนามเด่นเป็นองค์สุดท้าย หลังจากนั้นอาณาจักรอียิปต์ได้เสื่อมลงทุกปี หลังจาก 945 ปีก่อนคริสตกาล ได้มีฟาโรห์ราชวงศ์ต่างชาติขึ้นปกครองเรื่อยมา เช่น ราชวงศ์ลิบเบียน (Libyian, ราชวงศ์ที่ 22-24 เมื่อ 945-712 ปีก่อนคริสตกาล) แอสซิเรียน (Assyrian,ราชวงศ์ที่ 25 เมื่อ 670 ปีก่อนคริสตกาล) เปอร์เซียน (Persian,ราชวงศ์ที่ 27-29 เมื่อ 525 ปีก่อนคริสตกาล)

ในที่สุดเมื่อประมาณ 332-323 ปีก่อนคริสตกาล อียิปต์ตกอยู่ใต้อำนาจของกรีกในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งจักรวรรดิมาซิโดเนีย (336-323 ปีก่อนคริสตกาล) ซึ่งได้สถาปนาพระองค์เองขึ้นเป็นฟาโรห์ เมื่อสิ้นพระเจ้าอเล็กซานเดอร์แล้ว แม่ทัพของพระองค์นามว่าทอเลมี (Ptolemy) ได้ปกครองอียิปต์ต่อมา สถาปนาราชวงศ์ทอเลมีที่ 30 ขึ้นเมื่อ 305 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์องค์แรกๆแห่งราชวงศ์นี้ได้อุทิศเวลาส่วนใหญ่สร้างเมืองอเล็กซานเดรีย (Alexandria) ขึ้นเป็นศุนย์กลางการค้าและศิลปวิทยา ทอเลมีที่สองฟิลาเดลฟุส (Ptoleme II Pheladephus, 285-246 ปีก่อนคริสตกาล) ได้โปรดสร้างพิพิธภัณฑ์และหอสมุดใหญ่ที่มีชื่อเสียงขึ้น
ราชินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ทอเลมีที่ปกครองอียิปต์คือพระนางคลีโอพัตราที่หก (Cleopatra VI, 51-31 ปีก่อนคริสตกาล) พระนางได้ปลงพระชนม์ทอเลมีที่สิบสาม (Ptolemy XIII) ซึ่งเป็นพระสวามีและพระอนุชาของพระองค์เอง ต่อมาได้ยอมเป็นสนมของจูเลียตซีซ่าร์ (Julius Caesar) ประมุขแห่งกรุงโรม จนกระทั่งซีซ่าร์ถูกลอบปลงพระชนม์ใน 44 ปีก่อนคริสตกาล หลังจากนั้นพระนางได้มาร์คแอนโตนี่ (Mark Antony) นักรบคนสำคัญของโรมันเป็นพระสวามีใหม่ โดยพระนางคิดว่าคงจะได้ครองบัลลังค์ต่อจากจูเลียต ซีซ่าร์ แต่มาร์ค แอนโตนีก็ต้องปราชัยแก่ออกุสตุส (Augustus) ซึ่งเป็นทายาทอีกผู้หนึ่งของจูเลียต ซีซ่าร์ ในการรบที่เมืองแอกตุม (Actium) ตามเรื่องที่ปรากฏในนิยายรักของทั้งคู่นั้น มาร์ค แอนโตนีได้ฆ่าตัวตายก่อนที่ออกุสตุสจะจับตัวได้ และร่างของมาร์คได้ถูกส่งไปให้พระนางคลีโอพัตราทอดพระเนตร พระนางเองก็ต้องการหลีกเลี่ยงจากการที่ถูกออกุสตุสจับกุม จึงชิงปลงพระชนม์พระองค์เองโดยการจับงูเห่าใส่เข้าไปในฉลองพระองค์ให้พิษงูเข้าสู่ร่างกาย

จักรวรรดิใหม่ อยู่ในระหว่างปี 1570 - 715 ปี ก่อนคริสตศักราช พระเจ้าอโมซิสทรงขับไล่พวกฮิกโซสออกจากอาวาริสไปจนถึงดินแดนปาเลสไตน์แล้ว ทรงตั้งจักรวรรดิใหม่ (ราชวงศ์ที่ 18) กษัตริย์ที่สืบราชสมบัติต่อมา เช่น พระเจ้า อาเมโนฟิสที่ 1 และ ธุทโมซิสที่ 1 ทรงทำให้อียิปต์มีอำนาจมากมีการยกทัพไปเอเซีย (แถวแม่น้ำยูเฟรติส) และนูเบีย สมัยที่อียิปต์เจริญสูงสุดคือสมัยพระนางฮัทเชบสุท
พระนางฮัทเชปสุท (1501-1480) ทรงดำเนินนโยบายแบบสันติ สัมพันธไมตรีกับประเทศพุนท์ มีการก่อสร้างมากมายที่สำคัญ คือวัดที่แดร์ เอล-บาห์รี ที่ก่อสร้างภายใต้การควบคุมของรัฐมนตรีคนโปรดของพระนาง ชื่อ เซอเนนมุท เมื่อพระนางสิ้นพระชนม์ พระสวามีขึ้นครองราชต่อ
1480-1488 พระเจ้าธุทโมซิสที่ 3 เป็นระยะเวลาที่ประเทศอียิปต์มีอาณาเขตกว้างไกลถึงแม่น้ำยูเฟรติส (ในอิรัก)
1480 พระองค์ทรงรบชนะซีเรีย ปาเลสไตน์และเฟนีเซีย ด้วยกองทัพทหารรับจ้างและกองทัพรถม้า อาณาจักรมิตานี (ปัจจุบัน คือ อิรักตอนเหนือ) กลายมาเป็นประเทศเพื่อนบ้าน กษัตริย์องค์ต่อๆมาล้วนประสบความสำเร็จในเรื่องการเมืองระหว่างประเทศทั้งสิ้น
1413-1377 อาเมโนฟิสที่ 3 มีมเหสีมาจากบุคคลธรรมดาถือเป็นสมัยที่รุ่งเรืองมาก ทรงมีนโยบายผูกสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศด้วยการอภิเษกสมรส เป็นสมัยที่อียิปต์ ต้อนรับทูตจากต่างประเทศมาก และมีการค้าขายอย่างเป็นล่ำเป็นสัน กับอาณาจักรมิตานี บาบิโลเนีย ครีต อัสซีเรีย อาณาจักรฮิตไทท์ และหมู่เกาะในทะเลเอเจียน (แผ่นดินเหนียวที่พบที่เมืองอามาร์นา จารึกเป็นภาษาอัคคาเดียน ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในทางการทูตสมัยนั้น)
1377-1358 อาเมโนฟิสที่ 4 ทรงมีมเหสีที่รู้จักกันดี คือ พระนางเนเฟอร์ติติ กษัตริย์พระองค์นี้ทรงเป็นผู้นำการนับถืออาตอน หรือ การนับถือดวงอาทิตย์เป็นพระเจ้าองค์เดียวให้แก่อียิปต์ ทรงย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่อาเคท-อาตอน (เอล-อามาร์นา) ทรงเปลี่ยนพระนามของพระองค์ใหม่เป็น อาเคนาตอน พระองค์ไม่สนพระทัยในเรื่องการเมืองระหว่างประเทศ ดังนั้นประเทศอียิปต์จึงค่อยๆ สูญเสียดินแดนในเอเซีย เมื่อทรงสิ้นพระชนม์ชนชั้น นักบวชถือโอกาสนำประเทศกลับมาใช้ระบบเดิม พระราชบุตรเขย ทั้งหลายพร้อมใจกันย้ายเมืองหลวงกลับมาอยู่ที่ธีบส์ตามเดิม หนึ่งในราชบุตรเขย มีตุตอนคามอน ที่นักโบราณคดีพบหลุมฝังศพเต็มไปด้วยของมีค่าเมื่อ ค.ศ.1922 โฮเรมเฮบ นายทหารของอาเคนาตอนขึ้นครองราชย์ ทำสงคราม ชนะพวกฮิทไทท์ในซีเรียและจัดระเบียบการปกครองใหม่ให้เข้มงวดกว่าเดิม ทรงทะนุบำรุงศาสนานำพิธีนับถือพระเจ้าแบบเก่ามาใช้ปนกับวิธีของเอล-อามาร์นา
1345 - 1200 ราชวงศ์ที่19 พระเจ้าเซติที่ 1 และพระเจ้ารามเสสที่ 2 ทรงชนะพวกฮิทไทท์และมีอำนาจเหนือซีเรียอีกประมาณ 1275 ปี ก่อนคริสตศักราช เกิดสนธิสัญญาสันติภาพระหว่างพระเจ้ารามเสสที่ 2 กับฮาทตูซิลที่ 3 กษัตริย์ของพวกฮิทไทท์ ซีเรียสามารถอยู่อย่างสงบ อียิปต์ตั้งเมืองหลวงใหม่ที่เดลต้า ชื่อ อาวาริส แปลว่าเมืองของรามเสส
1234 - ประมาณ 1220 พระเจ้าเมเนปทาห์ยกกองทัพไปทำสงคราม กับปาเลสไตน์ (ปรากฎชื่ออิสราเอลเป็นครั้งแรกในจารึก) และได้ต่อสู้กับชนชาวทะเล (มีพวกกรีกและฟีลิสติน แถวกาซาปัจจุบัน) แต่มีสัมพันธไมตรีกับลิเบีย
1197-1165 พระเจ้ารามเสสที่ 3 ทรงต่อสู้กับชนชาวทะเลและลิเบียที่มารุกราน แต่ถูกพระองค์ทรงขับไล่ออกไปทรงสร้างคุกไว้ที่เดลต้า กษัตริย์ต่อจากพระองค์ทรงให้วัดเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ
ศิลปกรรม มีการสร้างวัดขนาดใหญ่ เช่น วัดพระเจ้าอามอนที่คาร์นัค ลุกซอร์ เมดิเนท์-ฮาบู ศิลปกรรมที่เมืองอามาร์นา (เศียรของอาเคนาตอนและเนเฟอร์ติติ รูปประติมากรรมของครอบครัว) ในรัชกาลของพระเจ้ารามเสส นิยมสร้างห้องขนาดใหญ่ที่คาร์นัค สร้างวัดที่เจาะเข้าไปในหิน ผนังเต็มไปด้วยภาพวาดแบบที่อาบู ซิมเบล ภายนอกมีรูปสลักขนาดมหึมา และนิยมสร้างวัดสำหรับเป็นที่ไว้ศพอย่างเช่นที่เมดิเนท์-ฮาบูหลังจากที่สู้รบกับพวกพระอามอน ที่ธีบส์และกับนายทหารจ้างของลิเบียแล้ว
950 ปีก่อนค.ศ. พระเจ้าเชช องค์ที่ 1 นายทหารจ้างลิเบียขยายอาณาเขตออกไปรอบๆ บูบาสติส พวกพระส่วนหนึ่งจึงอพยพไปอยู่นูเบีย ที่ซึ่งพระองค์ต่อๆมา สร้างรัฐที่ปกครองโดยพระขึ้นมา มีเมืองนาปาตาเป็นเมืองหลวง (ราว 750 ปี ก่อนคริสตศักราช) ประมาณ 920 ปี ก่อนคริสตศักราช กองทัพของพระเจ้าเชชองค์ที่ 1 ยกทัพไปตีปาเลสไตน์และทำลายเมืองเยรูซาเล็ม
สมัยอียิปต์ต่ำ (715-332 ปีก่อนค.ศ.) 715-663 เอธิโอเปียมีอำนาจเหนืออียิปต์ แต่ไม่นานก็ถูกอัสซีเรีย รุกรานจนสูญเสียอำนาจนี้ไป พระเจ้าอัสซาราดดอนยกทัพมาถึงเมือง ธีบส์ปี 671 ก่อนค.ศ. แต่พวกเอธิโอเปียขับไล่ออกไปได้
662 พระเจ้าอัสสูร์บานิปาลได้รับชัยชนะเหนืออียิปต์ อียิปต์กลายเป็นเมืองหนึ่งของอัสซีเรีย ผู้ครองโนม (จังหวัด) เป็นเสมือนเจ้าครองเมืองของอัสซีเรียหนึ่ง ในจำนวนนี้มี พระเจ้าพซามเมติกที่ 1 (663-609) เป็นผู้ปลดปล่อยอียิปต์ให้เป็นอิสระ และให้พวกพระอามอนเป็นทหารจ้างลิเบียก่อตั้งหน่วย ทหารจ้างไอโอเนียนที่เดลต้าและตั้งสถานีการค้าไอโอเนียน (โนเครติส)
569-525 พระเจ้าอามาซิส เป็นรัชกาลที่อียิปต์รุ่งเรืองขึ้นอีกเป็นครั้งสุดท้ายเพราะ สามารถควบคุมสถานการณ์ในแถบเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกได้และมีสัมพันธไมตรี กับเกาะต่างๆ ของกรีกและแม้แต่อาณานิคมกรีก อียิปต์ผูกไมตรีกับพระเจ้าเครซุสแห่งลิเดีย และกับพระเจ้าโปลีคราทแห่งซาโมสเพื่อต่อสู้กับพวกเปอร์เซีย
525 พระเจ้าพซามเมติกที่ 3 พระโอรสของพระองค์ถูกพระเจ้าคอมบิสแห่งเปอร์เซีย ฆ่าตายในการรบที่เปลุส อียิปต์กลายเป็นเมืองหนึ่งของเปอร์เซีย
332 พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชชนะต่ออียิปต์ ตั้งแต่ปี 304 ก่อนคริสตศักราชเป็นต้นมา เหล่ากษัตริย์ปโตเลมีของกรีกเฮเลนิสติกมาครองอียิปต์ 30 ปี ก่อนคริสตศักราชโรมันมาครองอียิปต์

ความเจริญในด้านต่างๆ
ลักษณะสังคมของอียิปต์แบ่งพลเมืองออกเป็น 7 ชั้น ชั้นสูงสุดคือฟาโรห์และพวกราชวงศ์ของพระองค์ (ฟาโรห์คือตำแหน่งกษัตริย์อียิปต์โบราณ มาจากคำว่า Pero แปลว่า “Great house” หรือ “Royal house” หมายถึงพระราชวังอันเป็นที่ประทับของกษัตริย์หรือที่อยู่ของเทพเจ้า) ฟาโรห์ถือว่าเป็นโอรสของเทพเจ้าแห่งพระอาทิตย์ที่ทรงพระนามว่า รา (Re) และยังถือว่าฟาโรห์เป็นสื่อกลางระหว่างชาวอียิปต์และเทพเจ้า จึงห้ามเอ่ยพระนามของฟาโรห์ อำนาจสูงสุดในการปกครองตกเป็นของฟาโรห์แต่เพียงผู้เดียว มีรัชทายาทรับตำแหน่งมหาเสนาบดีหรือวิเซียร์ (Vizier) เพื่อเตรียมพระองค์ในการเป็นฟาโรห์ต่อไปในอนาคต
คณะสงฆ์เป็นผู้ช่วยของฟาโรห์ในด้านการศาสนา นับเป็นชนชั้นที่ 2 ทำหน้าที่ประกอบพิธีกรรมต่างๆ อำนาจของพวกพระมาจากความกลัวเกรงในเทพเจ้า ฟาโรห์และคณะสงฆ์แบ่งผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน และมีการอุดหนุนส่งเสริมกัน แต่ก็มีบางครั้งที่ที่หัวหน้าพระได้พยายามแย่งอำนาจการปกครองมาจากฟาโรห์เสียเอง
การบริการงานท้องถิ่น จัดแบ่งประเทศออกเป็น 40 ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่าโนมิส เทียบได้กับจังหวัด มีข้าหลวงเรียกว่าโนมาร์ค แต่ละส่วนเรียกว่าชนชั้นสามในอียิปต์ ฟาโรห์ทรงเลือกแต่ผู้ใกล้ชิดและไว้วางพระทัยให้ปกครอง แต่ต่อมาขุนนางเหล่านั้นยึดตำแหน่งเจ้าเมืองเป็นของสกุลแห่งตนและสืบสกุลจากบิดามาถึงบุตร เหมือนกับเป็นสิทธิส่วนตัว ในที่สุดเจ้าเมืองเหล่านั้นก็รวบอำนาจเข้ามาเป็นของตนมากขึ้นทุกที เป็นเหตุให้อำนาจของฟาโรห์อ่อนลง เจ้าเมืองบางคนยังแก่งแย่งอำนาจปกครอง ก่อให้เกิดจลาจลหลายหน โดยไปรวมกำลังกับพวกที่เข้ามารุกราน
ชนชั้นต่อมาคือทหารประจำการ มีไว้เพื่อป้องกันประเทศและยกไปรุกรานผู้อื่น
ต่ำลงมาอีกชั้นหนึ่งของสังคมอียิปต์ก็คือ ผู้ที่เราอาจเรียกได้ว่าชนชั้นกลาง คือพวกช่างฝีมือและพ่อค้า ในประเทศอียิปต์ประมาณก่อน 2000 ปีก่อนคริสตกาล มีการค้าขายติดต่อกันกับเกาะครีท พวกฟินิเซีย ปาเลสไตน์และซีเรีย สินค้าที่ขายประกอบด้วย ข้าวสาลี ผ้าป่านลินินและไม้ซุง ส่วนสินค้าที่ส่งเป็นสินค้าออกประกอบด้วยข้าวสาลี ผ้าป่านลินินและเครื่องปั้นดินเผา สินค้าเข้ามีเงิน ทอง งาช้างและไม้ซุง ประมาณ 3000 ปีก่อนคริสตกาล พวกช่างฝีมือของอียิปต์ได้เริ่มทำอุตสาหกรรมต่อเรือ ทำเครื่องปั้นดินเผา ทำแก้วและเสื้อผ้าต่างๆ แต่ในสมัยจักรวรรดิ รัฐได้เข้ามาควบคุมธุรกิจของเอกชนทุกอย่าง
ชนชั้นต่อมาคือกสิกร เป็นชนชั้นที่มีจำนวนมากและทำงานหนักที่สุด เพาะปลูกทั้งข้าวสาลี ข้าวบาเลย์ ข้าวมิลล์เลย์ ผัก ผลไม้ ป่านลินินและฝ้าย จนอียิปต์ได้ชื่อว่าเป็นอู่ข้าวอู่น้ำของโลกในสมัยดึกดำบรรพ์
ชนชั้นล่างสุดของอียิปต์คือพวกทาสติดดินและเชลย ทำหน้าที่หาวัตถุดิบทุกอย่างในประเทศ เช่น หนังสัตว์ ต่อยและลำเลียงหินที่ใช้ในการก่อสร้าง ขุดคลอง สร้างปิรามิด เป็นต้น พวกนี้มีความเป็นอยู่ที่ลำบากมาก อาศัยอยู่ในกระท่อมมุงจากและสร้างด้วยอิฐที่ทำจากดินเหนียว
ฐานะของสตรี ชาวอียิปต์นิยมที่จะมีสามีและภรรยาเพียงคนเดียว แม้แต่ฟาโรห์ก็เช่นกัน ในสังคมอียิปต์ฝ่ายหญิงและเครือญาติของฝ่ายหญิงมีอำนาจ ภรรยาสามารถเป็นเพื่อนและไปไหนมาไหนกับสามีได้ สามารถไปงานพิธีต่างๆได้ มีสิทธิในกฎหมายเท่าเทียมชาย พระธิดาของฟาโรห์มีสิทธิสืบสันตติวงศ์ได้เช่นเดียวกัน ด้วยเหตุนี้จึงปรากฏว่ามีราชินีผู้สามารถหลายองค์ขึ้นครองราชย์

 

 

 รูปภาพที่1  http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm

 รูปภาพที่2 http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm

รูปภาพที่3 http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/t...

เนื้อหาข้อมูลก็โอเคแล้ว แต่การจัดวางรูปแบบยังไม่ลงตัวเท่าไหร่  good luk for you.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 245 คน กำลังออนไลน์