• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6f5dcccef473e6e97197dd787e8b7d77' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"line-height: 115%; font-size: 11pt; font-family: Arial, sans-serif; color: black\"><v:shapetype id=\"_x0000_t75\" stroked=\"f\" filled=\"f\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" o:preferrelative=\"t\" o:spt=\"75\" coordsize=\"21600,21600\"><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><a href=\"/#\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\"></a></span></b></v:shapetype></span></p>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31105/clip_image001_1.jpg\" width=\"237\" height=\"264\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\nสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ\n</div>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<ul>\n<li><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\">1.พระราชประวัติ </span></b><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b></li>\n<li>\n<div style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\">เป็น<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\" title=\"ฐานันดรศักดิ์ไทย\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">สมเด็จพระบรมราชินีนาถ</span></u></span></a>ใน<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_9\" title=\"รัชกาลที่ 9\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">รัชกาลที่ 9</span></u></span></a> พระนามเดิม หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ของหม่อมเจ้านักขัตรมงคล (ภายหลังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%AD_%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5_%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%96\" title=\"พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">พลเอกพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ</span></u></span></a>) กับ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7_%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3\" title=\"หม่อมหลวงบัว กิติยากร\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">หม่อมหลวงบัว กิติยากร</span></u></span></a> เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันศุกร์ที่ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/12_%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1\" title=\"12 สิงหาคม\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">12 สิงหาคม</span></u></span></a> <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2475\" title=\"พ.ศ. 2475\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">พ.ศ. 2475</span></u></span></a> ณ บ้านของพลเอก<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98\" title=\"เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ</span></u></span></a> (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) และท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) บิดาและมารดาของหม่อมหลวงบัว กิติยากร ตั้งอยู่ที่ 1808 <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_6\" title=\"ถนนพระรามที่ 6\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">ถนนพระรามที่ 6</span></u></span></a> <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%9B%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99\" title=\"เขตปทุมวัน\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">อำเภอปทุมวัน</span></u></span></a> <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3\" title=\"กรุงเทพมหานคร\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">จ.พระนคร</span></u></span></a> ได้รับพระราชทานนามจาก<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7\" title=\"พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว</span></u></span></a>ว่า &quot;สิริกิติ์&quot; มีความหมายว่า &quot;ผู้เป็นศรีแห่งกิติยากร&quot;</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n </div>\n</li>\n<li><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\">2.บทบาทในการส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย</span></b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\"><o:p></o:p></span> </li>\n<li></li>\n<li>\n<div style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\"><b>2.1ทรงเริ่มโครงการหัตถกรรม</b>  เพื่อช่วยเหลือราษฏรเป็นครั้งแรกที่หมู่บ้านเขาเต่า  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2508  โดยชักชวนให้หญิงชาวบ้านเขาเต่าหัดทอผ้าฝ้ายขายเป็นอาชีพเสริม  ทรงให้ครูทอผ้าจากโรงงานทอผ้าบ้านไร่  จังหวัดราชบุรี  มาสอนการทอผ้าให้แก่ราษฎรบ้านเขาเต่า  สร้างกี่ทอผ้าขึ้นที่ท้ายวังไกลกังวลเพื่อให้ชาวบ้านมาหัดทอผ้า  เริ่มจากการทอผ้าขาวม้าและผ้าซิ่น  ชาวบ้านที่มาเรียนทอผ้าได้รับพระราชทานอาหารกลางวันและค่าแรง  ต่อมาเจ้าอาวาสวัดเขาเต่าและครูใหญ่โรงเรียนเขาเต่าช่วยดูแลต่อ  ปัจจุบันโครงการทอผ้าฝ้ายที่เขาเต่าอยู่ภายใต้การดูแลของกรมการพัฒนาชุมชน  โดยพัฒนากรอำเภอหัวหินเป็นผู้ดูแลโครงการตั้งแต่ พ.ศ. 2511  มีการสอนการทอผ้า  ย้อมสี  ตัดเย็บ  และสอนการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ป่านศรนารายณ์<br />\n </span></b>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\">2<b>.2 ทรงเริ่มโครงการศิลปาชีพ</b>  โครงการแรก  คือ  โครงการทอผ้าไหมมัดหมี่  จังหวัดนครพนม  ทรงสนพระทัยซิ่นไหมมัดหมี่ที่หญิงชาวบ้านนุ่ง  เพราะมีความสวยงามแปลกตา  เหมาะที่จะเป็นอาชีพเสริมของชาวบ้านเนื่องจากทุกครัวเรือนจะทอใช้กันอยู่แล้ว  ทรงชักชวนให้ชาวบ้านประกอบอาชีพเสริมด้วยการทอผ้าไหมมัดหมี่  ทรงรับซื้อผ้าที่ชาวบ้านทอทุกผืน  โดยส่งรวมไป ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน  และทรงนำผ้าไหมมัดหมี่มาตัดฉลองพระองค์  ต่อมาได้จัดตั้งกลุ่มทอผ้าไหมขึ้นตามหมู่บ้านและรับชาวบ้านเข้าเป็นสมาชิก  ผู้ที่ทอผ้าไม่เป็นก็ให้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อเป็นวัตถุดิบแก่ผู้ทอ  โครงการนี้ต่อมาจึงได้ขยายออกไปทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเป็นโครงการส่งเสริมอาชีพที่สร้างรายได้ให้แก่ราษฎรอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน<br />\n <b> </b></span></b>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\"><b>2.3 ทรงส่งเสริมให้ตั้งโรงฝึกงานหัตถกรรมและศูนย์ศิลปาชีพ</b>  เช่น  โรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดา  ภายในบริเวณสวนจิตรลดา  พระราชวังดุสิต  กรุงเทพมหานคร  ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2520  เพื่อฝึกหัดงานหัตถกรรมไทยแขนงต่าง ๆ แก่นักเรียนซึ่งเป็นบุตรหลานของราษฎรที่มีฐานะยากจนแต่มีฝีมือทางศิลปะหรือพอจะฝึกหัดศิลปหัตถกรรมในขั้นที่ยากขึ้น  และเป็นศูนย์กลางรับซื้อ  เก็บรักษาและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งหมด  รวมทั้งเป็นที่ทำการของกองศิลปาชีพ  สำนักราชเลขาธิการ<br />\n <b> </b></span></b>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\"><b>ศูนย์ศิลปาชีพจังหวัดแม่ฮ่องสอน</b>  ที่อำเภอเมือง  จังหวัดแม่ฮ่องสอน  จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2528  มีการฝึกสอนศิลปาชีพหลายประเภท  เช่น  ทอผ้าไหม  ตัดเย็บเสื้อผ้าตุ๊กตาชาวเขา  ดอกไม้ประดิษฐ์  จักสานหวาย  จักสานไม้ไผ่  เครื่องหนังและของชำร่วย  สมาชิกของศูนย์ ฯ  แบ่งเป็นสมาชิกชั่วคราวและสมาชิกประจำ  สำหรับผู้ที่เป็นสมาชิกชั่วคราวเมื่อเรียนจบแล้วก็สามารถกลับไปประกอบงานศิลปาชีพที่บ้าน  ส่วนผู้ที่เป็นสมาชิกประจำซึ่งมีฝีมือดี  ทางศูนย์ ฯ จะจ้างไว้เพื่อผลิตงาน</span></b>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\"><br />\n <b>ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร</b>  อำเภอบางไทร  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  อยู่ใกล้กับพระราชวังบางปะอิน  จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2524  โดยรับเกษตรกรที่มีฐานะยากจนจากจังหวัดต่าง ๆ มาฝึกอบรมด้านศิลปาชีพสาขาต่าง ๆ ประมาณ 30 สาขา  รวมทั้งมีแผนกเกษตรกรรมเพื่อให้ความรู้แก่เกษตรกรที่มาฝึกอบรมด้านศิลปาชีพ  นับได้ว่าโครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมของไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์เหล่านี้ได้มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยให้สืบทอดอยู่ในปัจจุบัน</span></b>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\">3.</span></b><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\"> <span lang=\"TH\"> นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาให้อยู่คู่กับสังคมได้โดยวิธีใดบ้าง</span><o:p></o:p></span></b>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\">ศึกษางานหัตถกรรมพื้นบ้าน นำไปประกอบอาชีพ ชักชวนผู้อื่นมาร่วมทำ เพื่อที่จะได้ช่วยกันอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้านของไทยไว้</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: black\" lang=\"TH\"></span>\n </div>\n</li>\n<li></li>\n</ul>\n<p style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span lang=\"TH\"></span></span></b></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715442452, expire = 1715528852, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6f5dcccef473e6e97197dd787e8b7d77' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a64589408d64001884ffc9b485674184' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-frown.gif\" alt=\"Frown\" border=\"0\" title=\"Frown\" />  งานของท่านเยอะมาก แต่ทำได้นิดเดียว คะแนน 30 คะแนนนะจ๊ะ </p>\n', created = 1715442452, expire = 1715528852, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a64589408d64001884ffc9b485674184' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับบทบาทของบุคคลที่ส่งเสริมสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่มีผลต่อสังคมไทยในปั้จจุบัน (งานชิ้นที่2)

 
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

 

  • 1.พระราชประวัติ
  • เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 พระนามเดิม หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ของหม่อมเจ้านักขัตรมงคล (ภายหลังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น พลเอกพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) กับ หม่อมหลวงบัว กิติยากร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ณ บ้านของพลเอกเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) และท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) บิดาและมารดาของหม่อมหลวงบัว กิติยากร ตั้งอยู่ที่ 1808 ถนนพระรามที่ 6 อำเภอปทุมวัน จ.พระนคร ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "สิริกิติ์" มีความหมายว่า "ผู้เป็นศรีแห่งกิติยากร"
  • 2.บทบาทในการส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
  • 2.1ทรงเริ่มโครงการหัตถกรรม  เพื่อช่วยเหลือราษฏรเป็นครั้งแรกที่หมู่บ้านเขาเต่า  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2508  โดยชักชวนให้หญิงชาวบ้านเขาเต่าหัดทอผ้าฝ้ายขายเป็นอาชีพเสริม  ทรงให้ครูทอผ้าจากโรงงานทอผ้าบ้านไร่  จังหวัดราชบุรี  มาสอนการทอผ้าให้แก่ราษฎรบ้านเขาเต่า  สร้างกี่ทอผ้าขึ้นที่ท้ายวังไกลกังวลเพื่อให้ชาวบ้านมาหัดทอผ้า  เริ่มจากการทอผ้าขาวม้าและผ้าซิ่น  ชาวบ้านที่มาเรียนทอผ้าได้รับพระราชทานอาหารกลางวันและค่าแรง  ต่อมาเจ้าอาวาสวัดเขาเต่าและครูใหญ่โรงเรียนเขาเต่าช่วยดูแลต่อ  ปัจจุบันโครงการทอผ้าฝ้ายที่เขาเต่าอยู่ภายใต้การดูแลของกรมการพัฒนาชุมชน  โดยพัฒนากรอำเภอหัวหินเป็นผู้ดูแลโครงการตั้งแต่ พ.ศ. 2511  มีการสอนการทอผ้า  ย้อมสี  ตัดเย็บ  และสอนการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ป่านศรนารายณ์
  • 2.2 ทรงเริ่มโครงการศิลปาชีพ  โครงการแรก  คือ  โครงการทอผ้าไหมมัดหมี่  จังหวัดนครพนม  ทรงสนพระทัยซิ่นไหมมัดหมี่ที่หญิงชาวบ้านนุ่ง  เพราะมีความสวยงามแปลกตา  เหมาะที่จะเป็นอาชีพเสริมของชาวบ้านเนื่องจากทุกครัวเรือนจะทอใช้กันอยู่แล้ว  ทรงชักชวนให้ชาวบ้านประกอบอาชีพเสริมด้วยการทอผ้าไหมมัดหมี่  ทรงรับซื้อผ้าที่ชาวบ้านทอทุกผืน  โดยส่งรวมไป ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน  และทรงนำผ้าไหมมัดหมี่มาตัดฉลองพระองค์  ต่อมาได้จัดตั้งกลุ่มทอผ้าไหมขึ้นตามหมู่บ้านและรับชาวบ้านเข้าเป็นสมาชิก  ผู้ที่ทอผ้าไม่เป็นก็ให้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อเป็นวัตถุดิบแก่ผู้ทอ  โครงการนี้ต่อมาจึงได้ขยายออกไปทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเป็นโครงการส่งเสริมอาชีพที่สร้างรายได้ให้แก่ราษฎรอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน
     
  • 2.3 ทรงส่งเสริมให้ตั้งโรงฝึกงานหัตถกรรมและศูนย์ศิลปาชีพ  เช่น  โรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดา  ภายในบริเวณสวนจิตรลดา  พระราชวังดุสิต  กรุงเทพมหานคร  ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2520  เพื่อฝึกหัดงานหัตถกรรมไทยแขนงต่าง ๆ แก่นักเรียนซึ่งเป็นบุตรหลานของราษฎรที่มีฐานะยากจนแต่มีฝีมือทางศิลปะหรือพอจะฝึกหัดศิลปหัตถกรรมในขั้นที่ยากขึ้น  และเป็นศูนย์กลางรับซื้อ  เก็บรักษาและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งหมด  รวมทั้งเป็นที่ทำการของกองศิลปาชีพ  สำนักราชเลขาธิการ
     
  • ศูนย์ศิลปาชีพจังหวัดแม่ฮ่องสอน  ที่อำเภอเมือง  จังหวัดแม่ฮ่องสอน  จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2528  มีการฝึกสอนศิลปาชีพหลายประเภท  เช่น  ทอผ้าไหม  ตัดเย็บเสื้อผ้าตุ๊กตาชาวเขา  ดอกไม้ประดิษฐ์  จักสานหวาย  จักสานไม้ไผ่  เครื่องหนังและของชำร่วย  สมาชิกของศูนย์ ฯ  แบ่งเป็นสมาชิกชั่วคราวและสมาชิกประจำ  สำหรับผู้ที่เป็นสมาชิกชั่วคราวเมื่อเรียนจบแล้วก็สามารถกลับไปประกอบงานศิลปาชีพที่บ้าน  ส่วนผู้ที่เป็นสมาชิกประจำซึ่งมีฝีมือดี  ทางศูนย์ ฯ จะจ้างไว้เพื่อผลิตงาน

  • ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร  อำเภอบางไทร  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  อยู่ใกล้กับพระราชวังบางปะอิน  จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2524  โดยรับเกษตรกรที่มีฐานะยากจนจากจังหวัดต่าง ๆ มาฝึกอบรมด้านศิลปาชีพสาขาต่าง ๆ ประมาณ 30 สาขา  รวมทั้งมีแผนกเกษตรกรรมเพื่อให้ความรู้แก่เกษตรกรที่มาฝึกอบรมด้านศิลปาชีพ  นับได้ว่าโครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมของไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์เหล่านี้ได้มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยให้สืบทอดอยู่ในปัจจุบัน
  • 3.  นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาให้อยู่คู่กับสังคมได้โดยวิธีใดบ้าง
  • ศึกษางานหัตถกรรมพื้นบ้าน นำไปประกอบอาชีพ ชักชวนผู้อื่นมาร่วมทำ เพื่อที่จะได้ช่วยกันอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้านของไทยไว้

รูปภาพของ silavacharee

Frown  งานของท่านเยอะมาก แต่ทำได้นิดเดียว คะแนน 30 คะแนนนะจ๊ะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 347 คน กำลังออนไลน์