• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.117.9.138', 0, '66d93207d0e09bad847d02f367b6b013', 129, 1716088287) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3d7de15a2cf98bc4251c3807921dd05b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h3><span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: large; color: #888888\">ประวัติตะกร้อ<span style=\"font-size: larger\"><img align=\"left\" width=\"131\" src=\"http://iblog.siamhrm.com/wp-content/uploads/image/knowledge/tagraw.jpg\" height=\"136\" style=\"margin-right: 10px\" /></span></span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\">ในการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดประวัติตะกร้อ การกีฬาตะกร้อในอดีตนั้นยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้อย่างชัดเจนว่ากีฬาตะกร้อนั้นกำเนิดจากที่ใด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\">จากการสันนิษฐานคงจะได้หลายเหตุผลดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\">ประเทศพม่า เมื่อประมาณ พ.ศ. 2310 พม่ามาตั้งค่ายอยู่ที่โพธิ์สามต้น ก็เลยเล่นกีฬาตะกร้อกัน ซึ่งทางพม่าเรียกว่า “ชิงลง”</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\">ทางมาเลเซียก็ประกาศว่า ตะกร้อเป็นกีฬาของประเทศมาลายูเดิมเรียกว่า ซีปักรากา (Sepak Raga) คำว่า Raga หมายถึง ตะกร้า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\">ทางฟิลิปปินส์ ก็นิยมเล่นกันมานานแล้วแต่เรียกว่า Sipak</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\">ทางประเทศจีนก็มีกีฬาที่คล้ายกีฬาตะกร้อแต่เป็นการเตะตะกร้อชนิดที่เป็นลูกหนังปักขนไก่ ซึ่งจะศึกษาจากภาพเขียนและพงศาวดารจีน ชาวจีนกวางตุ้งที่เดินทางไปตั้งรกรากในอเมริกาได้นำการเล่นตะกร้อขนไก่นี้ไปเผยแพร่ แต่เรียกว่าเตกโก (Tek K’au) ซึ่งหมายถึงการเตะลูกขนไก่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\">ประเทศเกาหลี ก็มีลักษณะคล้ายกับของจีน แต่ลักษณะของลูกตะกร้อแตกต่างไป คือใช้ดินเหนียวห่อด้วยผ้าสำลีเอาหางไก่ฟ้าปัก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\">ประเทศไทยก็นิยมเล่นกีฬาตะกร้อมายาวนาน และประยุกต์จนเข้ากับประเพณีของชนชาติไทยอย่างกลมกลืนและสวยงามทั้งด้านทักษะและความคิด</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: larger\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><strong><span style=\"font-size: x-small\">ประวัติตะกร้อในประเทศไทย <img width=\"561\" src=\"http://202.44.68.33/files/u18198/1165904770_5B1_5D.jpg\" height=\"352\" style=\"width: 331px; height: 207px\" id=\"imgb\" /></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">ประวัติตะกร้อไทย ในสมัยโบราณนั้นประเทศไทยเรามีกฎหมายและวิธีการลงโทษผู้กระทำความผิด โดยการนำเอานักโทษใส่ลงไปในสิ่งกลมๆที่สานด้วยหวายให้ช้างเตะ แต่สิ่งที่ช่วยสนับสนุนประวัติของตะกร้อได้ดี คือ ในพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของรัชกาลที่ 2 ในเรื่องมีบางตอนที่กล่าวถึงการเล่นตะกร้อ และที่ระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเขียนเรื่องรามเกียรติ์ ก็มีภาพการเล่นตะกร้อแสดงไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับรู้</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">โดยภูมิศาสตร์ของไทยเองก็ส่งเสริมสนับสนุนให้เราได้ทราบประวัติของตะกร้อ คือประเทศของเราอุดมไปด้วยไม้ไผ่ หวายคนไทยนิยมนำเอาหวายมาสานเป็นสิ่งของเครื่องใช้ รวมถึงการละเล่นพื้นบ้านด้วย อีกทั้งประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศไทยก็มีหลายประเภท เช่น ตะกร้อวง ตะกร้อลอดห่วง ตะกร้อชิงธงและการแสดงตะกร้อพลิกแพลงต่างๆ ซึ่งการเล่นตะกร้อของประเทศอื่นๆนั้นมีการเล่นไม่หลายแบบหลายวิธีเช่นของไทยเรา</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">การเล่นตะกร้อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาตามลำดับทั้งด้านรูปแบบและวัตถุดิบในการทำจากสมัยแรกเป็นผ้า, หนังสัตว์, หวาย, จนถึงประเภทสังเคราะห์ (พลาสติก)</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<strong><span style=\"font-size: x-small\">ความหมาย</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">คำว่าตะกร้อ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความเอาไว้ว่า &quot;ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นตา สำหรับเตะ&quot;</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<strong><span style=\"font-size: x-small\">วิวัฒนาการการเล่น<img width=\"450\" src=\"http://www.pattaya.go.th/web4/images/stories/280152.jpg\" height=\"321\" style=\"width: 347px; height: 226px\" id=\"imgb\" /></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">การเล่นตะกร้อได้มีวิวัฒนาการในการเล่นมาอย่างต่อเนื่อง ในสมัยแรกๆ ก็เป็นเพียงการช่วยกันเตะลูกไม่ให้ตกถึงพื้นต่อมาเมื่อเกิดความชำนาญและหลีกหนีความจำเจ ก็คงมีการเริ่มเล่นด้วยศีรษะ เข่า ศอก ไหล่ มีการจัดเพิ่มท่าให้ยากและสวยงามขึ้นตามลำดับ จากนั้นก็ตกลงวางกติกาการเล่นโดยเอื้ออำนวยต่อผู้เล่นเป็นส่วนรวม อาจแตกต่างไปตามสภาพภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ แต่คงมีความใกล้เคียงกันมากพอสมควร</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<strong><span style=\"font-size: x-small\">ตะกร้อนั้นมีมากมายหลายประเภท เช่น</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ตะกร้อข้ามตาข่าย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ตะกร้อลอดบ่วง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ตะกร้อพลิกแพลงเป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">เมื่อมีการวางกติกาและท่าทางในการเล่นอย่างลงตัวแล้วก็เริ่มมีการแข่งขันกันเกิดขึ้นในประเทศไทยตาม</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">ประวัติของการกีฬาตะกร้อตั้งแต่อดีตที่ได้บันทึกไว้ดังนี้<img width=\"480\" src=\"http://img.kajeab.com/127330.jpg\" height=\"360\" style=\"width: 368px; height: 227px\" id=\"imgb\" /></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">พ.ศ. 2472 กีฬาตะกร้อเริ่มมีการแข่งขันครั้งแรกภายในสมาคมกีฬาสยาม</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">พ.ศ. 2476 สมาคมกีฬาสยามประชุมจัดร่างกติกาในการแข่งขันกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายและเปิดให้มีการแข่งขันในประเภทประชาชนขึ้นเป็นครั้งแรก</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">พ.ศ. 2479 ทางการศึกษาได้มีการเผยแพร่จัดฝึกทักษะในโรงเรียนมัธยมชายและเปิดให้มีแข่งขันด้วย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">พ.ศ. 2480 ได้มีการประชุมจัดทำแก้ไขร่างกฎระเบียบให้สมบูรณ์ขึ้น โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของ เจ้าพระยาจินดารักษ์ และกรมพลศึกษาก็ได้ออกประกาศรับรองอย่างเป็นทางการ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">พ.ศ. 2502 มีการจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 1 ขึ้นที่กรุงเทพฯ มีการเชิญนักตะกร้อชาวพม่ามาแสดงความสามารถในการเล่นตะกร้อพลิกแพลง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">พ.ศ. 2504 กีฬาแหลมทองครั้งที่ 2 ประเทศพม่าได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการแข่งขัน นักตะกร้อของไทยก็ได้ไปร่วมแสดงโชว์การเตะตะกร้อแบบพลิกแพลงด้วย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">พ.ศ. 2508 กีฬาแหลมทองครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่ประเทศมาเลเซีย ได้มีการบรรจุการเตะตะกร้อ 3 ประเภท เข้าไว้ในการแข่งขันด้วยก็คือ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">- ตะกร้อวง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ตะกร้อข้ามตาข่าย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ตะกร้อลอดบ่วง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">อีกทั้งมีการจัดประชุมวางแนวทางด้านกติกาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อสะดวกในการเล่นและการเข้าใจของผู้ชมในส่วนรวมอีกด้วย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<span style=\"font-size: x-small\">พอเสร็จสิ้นกีฬาแหลมทองครั้งที่ 3 กีฬาตะกร้อได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเป็นอันมาก บทบาทของประเทศมาเลเซียก็เริ่มมีมากขึ้น จากการได้เข้าร่วมในการประชุมตั้งกฎกติกากีฬาตะกร้อประเภทข้ามตาข่าย หรือที่เรียกว่า &quot;เซปักตะกร้อ&quot; และส่งผลให้กีฬาตะกร้อข้ามตาข่าย ได้รับการบรรจุเข้าในการแข่งขันกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 จนถึงปัจุบัน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><br />\n<strong><span style=\"font-size: x-small\">ประโยชน์และความมุ่งหมายของกีฬาตะกร้อ</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">ในประเทศไทย พลเมืองส่วนมากชอบที่จะดูและเล่นตะกร้อกันโดยทั่วไป แต่การที่จะเล่นให้ได้ดีต้องอาศัยเวลาในการฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและยาวนาน กีฬาตะกร้อเป็นกีฬาที่สนุกสนานต่อเนื่องเล่นได้ไม่จำกัด เพียงแต่เราฝึกหัดเบื้องต้นเพียงเล็กน้อยก็สามารถเล่นกีฬาตะกร้อได้แล้ว ราคาของอุปกรณ์ที่ถูกและทนทานใช้สถานที่ในการเล่นน้อย มีประโยชน์หลายอย่าง เช่น <br />\n- ช่วยให้ประสาททุกส่วนว่องไวและตอบสนองได้ดียิ่งขึ้น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ช่วยในการทรงตัว</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ช่วยด้านจิตใจ สุขุม รู้แพ้รู้ชนะ การให้อภัย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ลดความเครียด</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ทำให้ร่างกายแข็งแรง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">ความมุ่งหมาย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">กีฬาตะกร้อนั้นอาจจะสรุปความมุ่งหมายในธรรมชาติของกีฬาตะกร้อได้อย่างกว้างๆดังนี้คือ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- เล่นง่าย คือเล่นสนุกสนานแต่ถ้าเล่นให้ได้ดีก็ควรต้องมีการฝึกฝนอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ในการเล่น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์และเวลาในการเล่น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ทำให้เกิดการตื่นตัว</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ทำให้จิตใจสุขุมเยือกเย็น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- มีระบบในการตัดสินใจรวดเร็วและถูกต้อง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ทำให้มีระบบประสาททางความคิดดี</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงไร้โรคภัยต่างๆ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ทำให้เกิดความเพลิดเพลิน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ทำให้เกิดความสามัคคีทั้งในหมู่คณะและส่วนรวม</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ทำให้รู้จักการรวมกลุ่มในสังคม การเข้าสังคม</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- รู้จักการสร้างความปลอดภัยในการเล่น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- ใช้เป็นแนวทางในการเล่นกีฬาชนิดอื่นๆ ได้อย่างต่อเนื่อง เช่น ฟุตบอล</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: larger\"><span style=\"font-size: x-small\">- สามารถใช้เป็นแนวทางในการถ่ายทอดศิลปะและอนุรักษ์ศิลปะประจำชาติได้อีกด้วย<img width=\"200\" src=\"http://news.nipa.co.th/image/manager/img500/21140_552000016477901.JPEG\" height=\"268\" id=\"imgb\" /></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716088296, expire = 1716174696, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3d7de15a2cf98bc4251c3807921dd05b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ตระก้อ

ประวัติตะกร้อ

ในการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดประวัติตะกร้อ การกีฬาตะกร้อในอดีตนั้นยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้อย่างชัดเจนว่ากีฬาตะกร้อนั้นกำเนิดจากที่ใด

จากการสันนิษฐานคงจะได้หลายเหตุผลดังนี้

ประเทศพม่า เมื่อประมาณ พ.ศ. 2310 พม่ามาตั้งค่ายอยู่ที่โพธิ์สามต้น ก็เลยเล่นกีฬาตะกร้อกัน ซึ่งทางพม่าเรียกว่า “ชิงลง”

ทางมาเลเซียก็ประกาศว่า ตะกร้อเป็นกีฬาของประเทศมาลายูเดิมเรียกว่า ซีปักรากา (Sepak Raga) คำว่า Raga หมายถึง ตะกร้า

ทางฟิลิปปินส์ ก็นิยมเล่นกันมานานแล้วแต่เรียกว่า Sipak

ทางประเทศจีนก็มีกีฬาที่คล้ายกีฬาตะกร้อแต่เป็นการเตะตะกร้อชนิดที่เป็นลูกหนังปักขนไก่ ซึ่งจะศึกษาจากภาพเขียนและพงศาวดารจีน ชาวจีนกวางตุ้งที่เดินทางไปตั้งรกรากในอเมริกาได้นำการเล่นตะกร้อขนไก่นี้ไปเผยแพร่ แต่เรียกว่าเตกโก (Tek K’au) ซึ่งหมายถึงการเตะลูกขนไก่

ประเทศเกาหลี ก็มีลักษณะคล้ายกับของจีน แต่ลักษณะของลูกตะกร้อแตกต่างไป คือใช้ดินเหนียวห่อด้วยผ้าสำลีเอาหางไก่ฟ้าปัก

ประเทศไทยก็นิยมเล่นกีฬาตะกร้อมายาวนาน และประยุกต์จนเข้ากับประเพณีของชนชาติไทยอย่างกลมกลืนและสวยงามทั้งด้านทักษะและความคิด

ประวัติตะกร้อในประเทศไทย

ประวัติตะกร้อไทย ในสมัยโบราณนั้นประเทศไทยเรามีกฎหมายและวิธีการลงโทษผู้กระทำความผิด โดยการนำเอานักโทษใส่ลงไปในสิ่งกลมๆที่สานด้วยหวายให้ช้างเตะ แต่สิ่งที่ช่วยสนับสนุนประวัติของตะกร้อได้ดี คือ ในพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของรัชกาลที่ 2 ในเรื่องมีบางตอนที่กล่าวถึงการเล่นตะกร้อ และที่ระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเขียนเรื่องรามเกียรติ์ ก็มีภาพการเล่นตะกร้อแสดงไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับรู้


โดยภูมิศาสตร์ของไทยเองก็ส่งเสริมสนับสนุนให้เราได้ทราบประวัติของตะกร้อ คือประเทศของเราอุดมไปด้วยไม้ไผ่ หวายคนไทยนิยมนำเอาหวายมาสานเป็นสิ่งของเครื่องใช้ รวมถึงการละเล่นพื้นบ้านด้วย อีกทั้งประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศไทยก็มีหลายประเภท เช่น ตะกร้อวง ตะกร้อลอดห่วง ตะกร้อชิงธงและการแสดงตะกร้อพลิกแพลงต่างๆ ซึ่งการเล่นตะกร้อของประเทศอื่นๆนั้นมีการเล่นไม่หลายแบบหลายวิธีเช่นของไทยเรา


การเล่นตะกร้อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาตามลำดับทั้งด้านรูปแบบและวัตถุดิบในการทำจากสมัยแรกเป็นผ้า, หนังสัตว์, หวาย, จนถึงประเภทสังเคราะห์ (พลาสติก)


ความหมาย


คำว่าตะกร้อ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความเอาไว้ว่า "ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นตา สำหรับเตะ"


วิวัฒนาการการเล่น


การเล่นตะกร้อได้มีวิวัฒนาการในการเล่นมาอย่างต่อเนื่อง ในสมัยแรกๆ ก็เป็นเพียงการช่วยกันเตะลูกไม่ให้ตกถึงพื้นต่อมาเมื่อเกิดความชำนาญและหลีกหนีความจำเจ ก็คงมีการเริ่มเล่นด้วยศีรษะ เข่า ศอก ไหล่ มีการจัดเพิ่มท่าให้ยากและสวยงามขึ้นตามลำดับ จากนั้นก็ตกลงวางกติกาการเล่นโดยเอื้ออำนวยต่อผู้เล่นเป็นส่วนรวม อาจแตกต่างไปตามสภาพภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ แต่คงมีความใกล้เคียงกันมากพอสมควร


ตะกร้อนั้นมีมากมายหลายประเภท เช่น

- ตะกร้อข้ามตาข่าย

- ตะกร้อลอดบ่วง

- ตะกร้อพลิกแพลงเป็นต้น


เมื่อมีการวางกติกาและท่าทางในการเล่นอย่างลงตัวแล้วก็เริ่มมีการแข่งขันกันเกิดขึ้นในประเทศไทยตาม


ประวัติของการกีฬาตะกร้อตั้งแต่อดีตที่ได้บันทึกไว้ดังนี้


พ.ศ. 2472 กีฬาตะกร้อเริ่มมีการแข่งขันครั้งแรกภายในสมาคมกีฬาสยาม


พ.ศ. 2476 สมาคมกีฬาสยามประชุมจัดร่างกติกาในการแข่งขันกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายและเปิดให้มีการแข่งขันในประเภทประชาชนขึ้นเป็นครั้งแรก


พ.ศ. 2479 ทางการศึกษาได้มีการเผยแพร่จัดฝึกทักษะในโรงเรียนมัธยมชายและเปิดให้มีแข่งขันด้วย


พ.ศ. 2480 ได้มีการประชุมจัดทำแก้ไขร่างกฎระเบียบให้สมบูรณ์ขึ้น โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของ เจ้าพระยาจินดารักษ์ และกรมพลศึกษาก็ได้ออกประกาศรับรองอย่างเป็นทางการ


พ.ศ. 2502 มีการจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 1 ขึ้นที่กรุงเทพฯ มีการเชิญนักตะกร้อชาวพม่ามาแสดงความสามารถในการเล่นตะกร้อพลิกแพลง


พ.ศ. 2504 กีฬาแหลมทองครั้งที่ 2 ประเทศพม่าได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการแข่งขัน นักตะกร้อของไทยก็ได้ไปร่วมแสดงโชว์การเตะตะกร้อแบบพลิกแพลงด้วย


พ.ศ. 2508 กีฬาแหลมทองครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่ประเทศมาเลเซีย ได้มีการบรรจุการเตะตะกร้อ 3 ประเภท เข้าไว้ในการแข่งขันด้วยก็คือ


- ตะกร้อวง

- ตะกร้อข้ามตาข่าย

- ตะกร้อลอดบ่วง

อีกทั้งมีการจัดประชุมวางแนวทางด้านกติกาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อสะดวกในการเล่นและการเข้าใจของผู้ชมในส่วนรวมอีกด้วย


พอเสร็จสิ้นกีฬาแหลมทองครั้งที่ 3 กีฬาตะกร้อได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเป็นอันมาก บทบาทของประเทศมาเลเซียก็เริ่มมีมากขึ้น จากการได้เข้าร่วมในการประชุมตั้งกฎกติกากีฬาตะกร้อประเภทข้ามตาข่าย หรือที่เรียกว่า "เซปักตะกร้อ" และส่งผลให้กีฬาตะกร้อข้ามตาข่าย ได้รับการบรรจุเข้าในการแข่งขันกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 จนถึงปัจุบัน


ประโยชน์และความมุ่งหมายของกีฬาตะกร้อ

ในประเทศไทย พลเมืองส่วนมากชอบที่จะดูและเล่นตะกร้อกันโดยทั่วไป แต่การที่จะเล่นให้ได้ดีต้องอาศัยเวลาในการฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและยาวนาน กีฬาตะกร้อเป็นกีฬาที่สนุกสนานต่อเนื่องเล่นได้ไม่จำกัด เพียงแต่เราฝึกหัดเบื้องต้นเพียงเล็กน้อยก็สามารถเล่นกีฬาตะกร้อได้แล้ว ราคาของอุปกรณ์ที่ถูกและทนทานใช้สถานที่ในการเล่นน้อย มีประโยชน์หลายอย่าง เช่น
- ช่วยให้ประสาททุกส่วนว่องไวและตอบสนองได้ดียิ่งขึ้น

- ช่วยในการทรงตัว

- ช่วยด้านจิตใจ สุขุม รู้แพ้รู้ชนะ การให้อภัย

- ลดความเครียด

- ทำให้ร่างกายแข็งแรง

ความมุ่งหมาย

กีฬาตะกร้อนั้นอาจจะสรุปความมุ่งหมายในธรรมชาติของกีฬาตะกร้อได้อย่างกว้างๆดังนี้คือ

- เล่นง่าย คือเล่นสนุกสนานแต่ถ้าเล่นให้ได้ดีก็ควรต้องมีการฝึกฝนอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

- ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ในการเล่น

- ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์และเวลาในการเล่น

- ทำให้เกิดการตื่นตัว

- ทำให้จิตใจสุขุมเยือกเย็น

- มีระบบในการตัดสินใจรวดเร็วและถูกต้อง

- ทำให้มีระบบประสาททางความคิดดี

- มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงไร้โรคภัยต่างๆ

- ทำให้เกิดความเพลิดเพลิน

- ทำให้เกิดความสามัคคีทั้งในหมู่คณะและส่วนรวม

- ทำให้รู้จักการรวมกลุ่มในสังคม การเข้าสังคม

- รู้จักการสร้างความปลอดภัยในการเล่น

- ใช้เป็นแนวทางในการเล่นกีฬาชนิดอื่นๆ ได้อย่างต่อเนื่อง เช่น ฟุตบอล

- สามารถใช้เป็นแนวทางในการถ่ายทอดศิลปะและอนุรักษ์ศิลปะประจำชาติได้อีกด้วย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 230 คน กำลังออนไลน์