• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e5b67680d976d2d23bbafb634a728a5f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">การสลายโมเลกุลสารอาหารทำให้ได้พลังงานในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต กระบวนการสลายโมเลกุลของสารอาหารมีทั้งที่ใช้ออกซิเจน และไม่ใช้ออกซิเจน ในสิ่งมีชีวิตชั้นสูงมีอวัยวะที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สและนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่เซลล์โดยเฉพาะ. กระบวนการสลายโมเลกุลของสารอาหารภายในเซลล์เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนมาก ซึ่งเป็นสิ่งมหัศจรรย์เป็นอย่างมากที่เซลล์ทำงานที่ยุ่งยากได้อย่างเป็นระบบ</span></span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\"></span><span style=\"font-size: 10pt;\">เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อในขณะออกกำลังกาย เลือดลำเลียงออกซิเจนให้ไปไม่ทัน ทำให้ปริมาณของ ATP ในเซลล์ลดลงอย่างรวดเร็ว เซลล์จะสลายอาหารโดยกระบวรการหมักกรดแลกติก ( lactic acid fermentation ) กระบวนการนี้คล้ายกับการหมักแอลกอฮอล์ แต่ NDAH + H</span><sup><span style=\"font-size: 10pt;\">+</span></sup><span style=\"font-size: 10pt;\"> จะถ่ายทอดอะตอมของไฮโดรเจนให้แก่กรดไพรูวิก ดังภาพ</span></span></p>\n<p align=\"center\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no09/images/pic1small.gif\" alt=\"\" width=\"296\" height=\"266\" /></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">ไกลโคเจนที่กล้ามเนื่อลายสลายตัวหลายๆชั้นตามปฏิกิริยาที่เรียกว่า ไกลโคลิซิส แต่ละชั้นตอนใช้เอนไซม์หลายชนิด จนได้กรดแลกติกและพลังงาน ในช่วงนี้กล้ามเนื้อไม่ใช้ออกซิเจนเลย แต่ถ้าทำงานนานๆเข้าจะทำให้ได้กรดแลกติกซึ่งเป็นต้นเหตุทำให้เมื่อยล้า ( Fatique ) จนกระทั่งอาจเป็นตะคริว ( Cramp ) ดังนั้นจึงต้องทำให้หายเมื่อยล้าโดยการหายใจแบบใช้ออกซิเจน คือการนำเอาออกซิเจนเข้าไปทำปฏิกิริยากับกรดแลกติก1ใน 5 ส่วน ให้เกิดพลังงาน คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ พลังงานนี้นำคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้ำจะถูกส่งออกไปยังเส้นเลือดส่งไปที่ปอดและขับออกมากับลมหายใจ ดังสมการ</span></span><span style=\"font-size: 10pt;\"> </span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\"></span><span style=\"font-size: 10pt;\">1. กรดแลกติก (1ใน5ส่วน) + 3CO</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\"> <img src=\"http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no09/images/aniblue12_next.gif\" alt=\"aniblue12_next.gif\" width=\"29\" height=\"26\" align=\"top\" border=\"0\" /> 3CO</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\"> + 3H</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\">O + พลังงาน</span></span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">2. กรดแลกติก (4ใน5ส่วน ) + พลังงาน <img src=\"http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no09/images/aniblue12_next.gif\" alt=\"aniblue12_next.gif\" width=\"29\" height=\"26\" align=\"top\" border=\"0\" /> ไกลโคเจน</span></span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">การสลายกลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจน (โดยกระบวนการหมัก) ได้พลังงานน้อยกว่าแบบใช้ออกซิเจนเพราะขั้นตอนการสลายกลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจนจะหยุดลงเพียงชั้นไกลโคลิซิสเท่านั้น</span></span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">ไมโทคอนเดรียไม่มีความจำเป็นต่อการสลายกลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจนโดยการหมัก เพราะการสลายกลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจนไม่มีกระบวรการถ่ายทอดอิเล็กตรอน</span></span></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">เมื่อนำยีสต์มาเลี้ยงในน้ำตาลจะได้เอทานอลถึงแม้เอทานอลจะเป็นพิษต่อยีสต์ก็ตาม การหมักนั้นจะไม่ให้อากาศเข้าสู่ภาชนะที่ใช้หมักและให้อาหารยีสต์อย่างเพียงพอจะเกิดสมการดังนี้</span></span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">C</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">6</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\">H</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">12</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\">O</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">6</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\"> <img src=\"http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no09/images/aniblue12_next.gif\" alt=\"aniblue12_next.gif\" width=\"29\" height=\"26\" align=\"top\" border=\"0\" /> 2C</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\">H</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">5</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\">OH + 2CO</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub></span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">แต่ถ้าอากาศเข้าสู่ภาชนะที่ใช้หมักจะทำให้ยีสต์หายใจแบบใช้ออกซิเจน เกิดสมการดังนี้</span></span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">C</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">6</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\">H</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">12</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\">O</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">6</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\"> + 6O</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\"> <img src=\"http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no09/images/aniblue12_next.gif\" alt=\"aniblue12_next.gif\" width=\"29\" height=\"26\" align=\"top\" border=\"0\" /> 6CO</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\"> + H</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\">O + พลังงาน </span></span></p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">เอทานอลที่ได้จะมีพลังงานศักย์สะสมอยู่เพราะสามารถติดไฟได้ จึงกล่าวได้ว่าเป็นการสลายของอาหารที่ไม่สมบูรณ์ ส่วนสมการที่ใช้ O</span><sub><span style=\"font-size: 10pt;\">2</span></sub><span style=\"font-size: 10pt;\"> ไม่เหลือพลังงานอยู่ในส่วนของคาร์บอนไดออกไซด์</span></span></p>\n<p align=\"center\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">นักชีวิวิทยาบางท่านไม่จัดกระบวนการหมักเป็นการหายใจและเปรียบเทียบกระบวนการหายใจกับกระบวนการหมัก</span></span></p>\n', created = 1722036883, expire = 1722123283, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e5b67680d976d2d23bbafb634a728a5f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การหายใจ วิชา ชีววิทยา ชั้นม.5

รูปภาพของ admin

การสลายโมเลกุลสารอาหารทำให้ได้พลังงานในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต กระบวนการสลายโมเลกุลของสารอาหารมีทั้งที่ใช้ออกซิเจน และไม่ใช้ออกซิเจน ในสิ่งมีชีวิตชั้นสูงมีอวัยวะที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สและนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่เซลล์โดยเฉพาะ. กระบวนการสลายโมเลกุลของสารอาหารภายในเซลล์เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนมาก ซึ่งเป็นสิ่งมหัศจรรย์เป็นอย่างมากที่เซลล์ทำงานที่ยุ่งยากได้อย่างเป็นระบบ

เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อในขณะออกกำลังกาย เลือดลำเลียงออกซิเจนให้ไปไม่ทัน ทำให้ปริมาณของ ATP ในเซลล์ลดลงอย่างรวดเร็ว เซลล์จะสลายอาหารโดยกระบวรการหมักกรดแลกติก ( lactic acid fermentation ) กระบวนการนี้คล้ายกับการหมักแอลกอฮอล์ แต่ NDAH + H+ จะถ่ายทอดอะตอมของไฮโดรเจนให้แก่กรดไพรูวิก ดังภาพ

ไกลโคเจนที่กล้ามเนื่อลายสลายตัวหลายๆชั้นตามปฏิกิริยาที่เรียกว่า ไกลโคลิซิส แต่ละชั้นตอนใช้เอนไซม์หลายชนิด จนได้กรดแลกติกและพลังงาน ในช่วงนี้กล้ามเนื้อไม่ใช้ออกซิเจนเลย แต่ถ้าทำงานนานๆเข้าจะทำให้ได้กรดแลกติกซึ่งเป็นต้นเหตุทำให้เมื่อยล้า ( Fatique ) จนกระทั่งอาจเป็นตะคริว ( Cramp ) ดังนั้นจึงต้องทำให้หายเมื่อยล้าโดยการหายใจแบบใช้ออกซิเจน คือการนำเอาออกซิเจนเข้าไปทำปฏิกิริยากับกรดแลกติก1ใน 5 ส่วน ให้เกิดพลังงาน คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ พลังงานนี้นำคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้ำจะถูกส่งออกไปยังเส้นเลือดส่งไปที่ปอดและขับออกมากับลมหายใจ ดังสมการ

1. กรดแลกติก (1ใน5ส่วน) + 3CO2 aniblue12_next.gif 3CO2 + 3H2O + พลังงาน

2. กรดแลกติก (4ใน5ส่วน ) + พลังงาน aniblue12_next.gif ไกลโคเจน

การสลายกลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจน (โดยกระบวนการหมัก) ได้พลังงานน้อยกว่าแบบใช้ออกซิเจนเพราะขั้นตอนการสลายกลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจนจะหยุดลงเพียงชั้นไกลโคลิซิสเท่านั้น

ไมโทคอนเดรียไม่มีความจำเป็นต่อการสลายกลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจนโดยการหมัก เพราะการสลายกลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจนไม่มีกระบวรการถ่ายทอดอิเล็กตรอน

 

เมื่อนำยีสต์มาเลี้ยงในน้ำตาลจะได้เอทานอลถึงแม้เอทานอลจะเป็นพิษต่อยีสต์ก็ตาม การหมักนั้นจะไม่ให้อากาศเข้าสู่ภาชนะที่ใช้หมักและให้อาหารยีสต์อย่างเพียงพอจะเกิดสมการดังนี้

C6H12O6 aniblue12_next.gif 2C2H5OH + 2CO2

แต่ถ้าอากาศเข้าสู่ภาชนะที่ใช้หมักจะทำให้ยีสต์หายใจแบบใช้ออกซิเจน เกิดสมการดังนี้

C6H12O6 + 6O2 aniblue12_next.gif 6CO2 + H2O + พลังงาน

เอทานอลที่ได้จะมีพลังงานศักย์สะสมอยู่เพราะสามารถติดไฟได้ จึงกล่าวได้ว่าเป็นการสลายของอาหารที่ไม่สมบูรณ์ ส่วนสมการที่ใช้ O2 ไม่เหลือพลังงานอยู่ในส่วนของคาร์บอนไดออกไซด์

นักชีวิวิทยาบางท่านไม่จัดกระบวนการหมักเป็นการหายใจและเปรียบเทียบกระบวนการหายใจกับกระบวนการหมัก

สร้างโดย: 
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 263 คน กำลังออนไลน์