• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9d90eb4ac7d396685d1b972bd6c307f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หน่วยการเรียนรู้ที่1 </span><span style=\"font-size: 20pt; color: red\"></span><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>เรื่องอิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ที่ทำให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติ</span><span style=\"font-size: 20pt; color: red\"></span> <span style=\"font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img width=\"450\" src=\"http://202.44.68.33/files/u1281/11_134.jpg\" height=\"338\" style=\"width: 591px; height: 308px\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong>ภูมิศาสตร์</strong></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">     <span lang=\"TH\"> เป็นเรื่องราวการบรรยายหรือพรรณนาเกี่ยวกับโลก ในปี ค.ศ. 1950 คณะกรรมการอภิธานศัพท์ภูมิศาสตร์ของอังกฤษ ได้ให้ความหมายภูมิศาสตร์ว่า เป็นศาสตร์ที่บรรยายเกี่ยวกับเปลือกโลก ในแง่ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์ </span> <span lang=\"TH\">ของ พื้นที่ต่าง ๆ พจนานุกรมอเมริกันได้กล่าวว่า ภูมิศาสตร์เป็นศาสตร์เกี่ยวกับความแตกต่างของพื้นผิวโลกในแง่ของ ลักษณะเด่น การกำหนดและความสัมพันธ์ระหว่างสารประกอบของโลก พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยได้ให้ความหมาย ภูมิศาสตร์ ไว้ว่า </span> <span lang=\"TH\">เป็นศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม</span>  </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิศาสตร์จึงเป็นศาสตร์มีความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมิติสัมพันธ์ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">    </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">1. ภูมิศาสตร์กายภาพ </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">1. ภูมิศาสตร์กายภาพ</span>  (Physical Geography)<span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็น วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมทางกายภาพของมนุษย์และความ สัมพันธ์ของมัน เนื้อหาของวิชาจึงคาบเกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพหลายวิชาที่สำคัญ ได้แก่ วิชา อุตุนิยมวิทยา อากาศวิทยา สมุทรศาสตร์ ธรณีวิทยา ปฐพีวิทยา นิเวศน์วิทยาของพืช และธรณีสัณฐานวิทยา แต่วิชาภูมิศาสตร์กายภาพมิได้เป็นเพียงการนำเอาเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพสาขาต่าง ๆ มารวมกันเท่านั้น แต่ได้นำเอาเนื้อหาเหล่านี้มาผสมผสานกันในแง่ที่เป็นสภาพแวดล้อมที่มี อิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสาขาหนึ่งในวิชาภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์กายภาพเน้นความสัมพันธ์ทางพื้นที่ นั่นคือ เน้นการกระจายบนพื้นผิวโลกหรือที่เรียกว่า รูปแบบทางภูมิศาสตร์ (</span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">geographic<span lang=\"TH\"> </span>pattern) <span lang=\"TH\">ของ สภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นผลลัพธ์จากปฏิกิริยาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของธรรมชาติในบริเวณ ต่างๆ บนพื้นผิวโลก การศึกษารูปแบบทางภูมิศาสตร์ของสภาพแวดล้อมนี้ จะเป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นแก่นของระบบสภาพ แวดล้อมของโลก โครงสร้างและระบบกลไกการทำงานอันเป็นพื้นฐานของธรรมชาติมักถูกลืม ในยุคที่มนุษย์ต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมอย่างหนักเช่นในปัจจุบัน ความเข้าใจโครงสร้างของสภาพแวดล้อมอย่างกว้างๆ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกลไกการทำงานของขบวนการต่างๆในสภาพแวดล้อมจึงเป็น ประโยชน์อย่างมาก ได้แก่ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">      <span lang=\"TH\">2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (</span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">Regional Geography) <span lang=\"TH\">คือ การเข้าถึงระบบเทศสัมพันธ์ (</span>Spatial interaction)<span lang=\"TH\">ด้วย การแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ในการอธิบายผิวโลกที่มีมนุษย์อาศัยนั้น นักภูมิศาสตร์ใช้วิธีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นขนาดต่างๆ กันตามเกณฑ์และวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการกำหนดพื้นที่นั้นมีหลายอย่าง โดยทั่วไปต้องรวมเอาปัจจัยทางด้านกายภาพและวัฒนธรรมเข้าไว้ด้วยกัน นักภูมิศาสตร์นิยมแบ่งภูมิภาคออกตามระบบอากาศ เช่น ภูมิภาคเขตร้อนชื้น ภูมิภาคเขตอบอุ่น และภูมิภาคเขตทะเลทราย เป็นต้น หรือแบ่งภูมิภาคตามกลุ่มวัฒนธรรม คือ ยึดเอาเนื้อที่ของประเทศต่างๆ เป็นเกณฑ์ เพราะสะดวกในเรื่องข้อมูลภายในพื้นที่นั้น ในปัจจุบันได้มีการแบ่งภูมิภาคออกตามบทบาทหน้าที่เด่นของพื้นที่นั้น เช่น ภูมิภาคของเมืองหรือเขตที่เมืองมีอิทธิพลต่อบริเวณรอบนอกตลอดจนเขตบริการ ต่าง ๆ อันจัดเป็นภูมิภาคขนาดเล็กแต่ก็มีประสิทธิภาพในการจัดพื้นที่ (</span>Hartshorne, <span lang=\"TH\">1959) ได้แก่ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">        <span lang=\"TH\">องค์ประกอบของภูมิศาสตร์กายภาพแบ่งเป็น 3 ประการคือ</span>  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">  </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"><o:p><img width=\"379\" src=\"http://www.bs.ac.th/2548/e_bs/G4/pupachat/all/pics/thumb.jpg\" height=\"409\" style=\"width: 501px; height: 206px\" id=\"imgb\" /></o:p></span> </p>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span></span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span></span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span></span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<u><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span></span></span></u><u></u>\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">           <span lang=\"TH\">1. ลักษณะภูมิประเทศ</span>  <span lang=\"TH\"></span><span lang=\"TH\">ลักษณะภูมิประเทศ</span>  <span lang=\"TH\">หมายถึง</span>  <span lang=\"TH\"> ลักษณะของแผ่นดินที่อาจมีลักษณะสูงๆ</span> <span lang=\"TH\">ต่ำๆ เป็นภูเขาที่ราบ ที่ราบสูง</span>  <span lang=\"TH\">แม่น้ำ หนอง บึง ซึ่งลักษณะภูมิประเทศแต่ละแบบ</span> <span lang=\"TH\">ต่างมีความสำคัญต่อชีวิต</span> <span lang=\"TH\"> ความเป็นอยู่ของประชากรที่อาศัยในภูมิประเทศนั้น</span>  <span lang=\"TH\"> </span> <span lang=\"TH\">ก่อให้เกิดอาชีพสำคัญต่างๆ</span> <span lang=\"TH\"> กันเช่น</span>   <span lang=\"TH\">บริเวณที่ราบลุ่มหรือ</span>    <span lang=\"TH\">ที่ราบริมฝั่งแม่น้ำ</span>  <span lang=\"TH\"> มักมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น</span>   <span lang=\"TH\">มีอาชีพทำการประมง</span>   <span lang=\"TH\"> และทำการเพาะปลูก</span> <span lang=\"TH\">เป็นอาชีพหลัก ส่วนบริเวณที่สูงหรือแถบเทือกเขา</span> <span lang=\"TH\"> มักมีประชากรเบาบางประกอบ อาชีพต่างๆกัน</span>  <span lang=\"TH\">เช่นทำป่าไม้ทำเหมืองแร่</span> <span lang=\"TH\"> หรือเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ตามแต่ทรัพยากร</span> <span lang=\"TH\">ในบริเวณนั้นๆ</span>  <span lang=\"TH\">จะอำนวยจากแผนที่แสดง</span>  <span lang=\"TH\"> ลักษณะภูมิประเทศ</span>   <span lang=\"TH\">ของประเทศไทย </span> <span lang=\"TH\">เราสามารถ</span> <span lang=\"TH\"> แบ่งลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทยได้เป็น</span>  <span lang=\"TH\">6 เขต คือ เขตภูเขา </span> <span lang=\"TH\">และที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ</span>  <span lang=\"TH\"> เขตที่ราบ ภาคกลาง</span>    <span lang=\"TH\">เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก</span>  <span lang=\"TH\"> เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่ง คาบสมุทรภาคใต้</span>     <span lang=\"TH\">และเขตภูเขาภาคตะวันตก</span>  <span lang=\"TH\"> ลงสู่แม่น้ำสาละวิน</span>   <span lang=\"TH\">เขตภูเขา และที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\">  </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">              <span lang=\"TH\">2.ลักษณะภูมิอากาศ</span> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">       <span lang=\"TH\">ปัจจัย สำคัญที่มีอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้าอากาศของทวีปแอฟริกา คือ ความใกล้ ไกลทะเล มี กระแสน้ำอุ่นและเย็นเลียบรายฝั่ง อิทธิพลของลมประจำฤดูที่พัดผ่านตำแหน่งที่ตั้งของทวีปซึ่งตั้งอยู่ทั้งในซีก โลกเหนือและซีกโลกใต้ รวมทั้งมีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านเกือบตอนกลางของทวีป </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">               <span lang=\"TH\">3 . ทรัพยากรธรรมชาติ</span> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\">        <span lang=\"TH\">ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่จำเป็นแก่มนุษย์ ซึ่งได้มีการนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆมากมาย การที่มีการนำทรัพยากรไปใช้มากทำให้เกิดปัญหาตามมา การใช้ทรัพยากรอย่างผิดวิธี และการใช้อย่างสิ้นเปลือง อาจทำให้ทรัพยากรที่มีคุณค่าลดน้อยลงไปอย่างรวดเร็ว เราจึงควรีรู้จักประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติ รวมไปถึง วิธีอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ</span>          </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">มีการแบ่งทรัพยากรธรรมชาติ ออกเป็นหมวดหมู่ คือ </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. ดิน<br />\n2. น้ำ<br />\n3. ป่าไม้<br />\n4. แร่ธาตุ </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\">  </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และยังมีทรัพยากรประเภทที่ช่วยสร้างความสวยงามให้ธรรมชาติอีกก็คือ ทรัพยากรเพื่อการนันทนาการ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span> <b><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"><o:p> </o:p></span></b> <b><span style=\"font-weight: normal; font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สภาพทางภูมิศาสตร์ที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติ</span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia\"></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"> <b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภัยพิบัติทางธรรมชาติ </span></b><span lang=\"TH\">หมายถึง มหันตภัยที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันเป็นการนำมาซึ่งการทำลายล้างทั้งชีวิตและทรัพย์สิน และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพดั้งเดิม โดยยากที่จะคาดการณ์ได้ (</span>Webster’s New Encyclopedic Dictionary, 1994) <span lang=\"TH\">ภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยจำแนกออกเป็น</span> 8 <span lang=\"TH\">ประเภท ประกอบด้วย</span><br />\n<span lang=\"TH\">วาตภัย จำแนกได้ </span>2 <span lang=\"TH\">ประเภท ดังนี้</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<img width=\"450\" src=\"http://hilight.kapook.com/img_cms/flash/01_278.jpg\" height=\"299\" style=\"width: 382px; height: 223px\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\">1.1 <span lang=\"TH\">วาตภัยจากพายุฤดูร้อน</span></span></b><span lang=\"TH\"> เกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน เกิดจากถูกกระแสอากาศกระทำให้ลอยขึ้นสู่เบื้องบนอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการกลั่นตัวของไอน้ำเป็นละอองน้ำและมีการเสียดสีระหว่างลิงน้ำกับอากาศจนเกิดประจุไฟฟ้า จึงทำให้ เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและอาจมีลูกเห็บทำความเสียหายได้ในบริเวณเล็กๆ ช่วงเวลาสั้นๆ ความเร็วลมประมาณ </span>50 <span lang=\"TH\">กิโลเมตรต่อชั่วโมง</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span><img width=\"399\" src=\"http://www.tmd.go.th/info/images/photos/pic_danger04.jpg\" height=\"337\" style=\"width: 346px; height: 218px\" id=\"imgb\" /></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><br />\n<b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\">1.2 <span lang=\"TH\">วาตภัยจากพายุฤดูหมุนเขตร้อน</span></span></b><span lang=\"TH\"> จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน เป็นพายุที่เกิดขึ้นเหนือทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิกในเขตร้อน มีศูนย์กลางประมาณ </span>200 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร มีลมพัดเวียนรอบศูนย์กลางทิศทวนเข็มนาฬิกาในซึกโลกเหนือ ศูนย์กลางเป็นวงกลมประมาณ </span>15-60 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร</span><br />\n<span lang=\"TH\">อุทกภัย เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน มีสาเหตุจาก พายุหมุนเขตร้อน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังแรง ร่องความกดอากาศต่ำกำลังแรง และแผ่นดินไหวทำให้เขื่อนแตก อุทกภัยแบ่งได้ </span>2 <span lang=\"TH\">ประเภท</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><img width=\"532\" src=\"http://www.moph.go.th/ops/iprg/news_pic/น้ำท่วม3.jpg\" height=\"426\" style=\"width: 402px; height: 257px\" id=\"imgb\" /></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\">1.1</span></b> <b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อุทกภัยจากน้ำบ่าไหลหลากและน้ำท่วมฉับพลัน</span></b><span lang=\"TH\"> เกิดจากฝนตกหนักติดต่อกันหลายชั่วโมง ดินซึมซาบน้ำไม่ทัน น้ำฝนไหลบ่าเหนือผิวดินลงสู่พื้นราบอย่างรวดเร็ว ความแรงของน้ำทำลายต้นไม้ อาคาร ถนน สะพาน ชีวิต ทรัพย์สิน</span><br />\n<b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\">1.2 <span lang=\"TH\">อุทกภัยจากน้ำท่วมขังและน้ำเอ่อนอง</span></span></b><span lang=\"TH\"> เกิดจากน้ำในแม่น้ำ ลำธารล้นตลิ่ง มีระดับสูงเกินจากสภาวะปกติ ท่วมและแช่ขัง ทำให้การคมนาคมชะงัก เกิดโรคระบาด ทำลายสาธารณูปโภค และพืชผลการเกษตร</span></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span></span></p>\n<p>\n<b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทุกขภิกขภัย</span></b><span lang=\"TH\"> ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจาก ฝนแล้ง ไม่ตกตามฤดูกาล มีสาเหตุจาก พายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านประเทศไทยน้อย ร่องความกดอากาศต่ำมีกำลังอ่อน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังอ่อน เกิดสภาวะฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน หรือเกิดปรากฏการณ์เอลนิโนรุนแรง ทำให้ฝนน้อยกว่าปกติ ทำให้ผลผลิตการเกษตรเสียหาย</span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พายุฝนฟ้าคะนอง</span></b><span lang=\"TH\"> ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากฝนฟ้าคะนอง และลมแรง อากาศร้อนลอยสูงขึ้น อากาศข้างเคียงไหลเข้ามาแทนที่ ไอน้ำกลั่นตัวเป็นเมฆ ทวีความสูงมากขึ้น มองเห็นคล้ายทั่งตีเหล็กสีเทาเข้ม มีฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง บางครั้งมีลูกเห็บ หากตกต่อเนื่องหลายชั่วโมง อาจเกิดน้ำป่าไหลหลาก น้ำท่วมฉับพลัน อาจ เกิดพายุลมหมุนหรือ พายุงวงช้างมีลมแรงมาก ทำความเสียหายบริเวณที่เคลื่อนผ่าน</span>\n</p>\n<p><span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-weight: normal; font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span></span><span lang=\"TH\">แผ่นดินไหว</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยพลังงานใต้พิภพ จากการเกิดภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินเลื่อน แผ่นดินถล่ม และเกิดจากมนุษย์ เช่นระเบิดปรมาณู แผ่นดินไหวในประเทศไทยมักเกิดขึ้นบริเวณภาคเหนือ มักเกิดแผ่นดินไหวขนาด </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">3-4 <span lang=\"TH\">ริกเตอร์ และเคยเกิดขนาดใหญ่สุดที่บันทึกได้ </span>5.6 <span lang=\"TH\">ริกเตอร์ ที่ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก วันที่ </span>17 <span lang=\"TH\">ก.พ.</span>2518<br />\n<span lang=\"TH\">แผ่นดินถล่ม การเคลื่อนที่ของแผ่นดินและกระบวนการซึ่งเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดินและหิน เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก ตามความลาดชันของลาดเขา</span></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span></span></p>\n<p>\n<b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไฟป่า</span></b><span lang=\"TH\"> ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากมนุษย์เป็นส่วนมาก ได้แก่การเผาหาของป่า เผาทำไร่เลื่อนลอย เผากำจัดวัชพืช ส่วนน้อยที่เกิดจากการเสียดสีของต้นไม้แห้ง ปลายเดือนกุมภาพันธ์-ต้นพฤษภาคม ทำให้เกิดมลพิษในอากาศมากขึ้น ผงฝุ่น ควันไฟกระจายในอากาศทั่วไป ไม่สามารถลอยขึ้นเบื้องบนได้ มองเห็นไม่จัดเจน สุขภาพเสื่อม พืชผลการเกษตรด้อยคุณภาพ แหล่งทรัพยากรลดลง</span><br />\n<span lang=\"TH\">สึนามิ (</span>Tsunami) <span lang=\"TH\">เป็นคลื่นขนาดยักษ์ที่เกิดจากการแทนที่น้ำอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเกิดการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ในลักษณะเดียวกันกับการโยนก้อนหินลงในน้ำ แล้วเกิดระลอกคลื่นแผ่ออกจากจุดที่ก้อนหินตกกระทบ ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง ได้แก่ ภูเขาไฟระเบิดในทะเล แผ่นดินไหวหรือแผ่นดินถล่มในทะเล และอุกกาบาต หรือดาวหางที่ตกลงในทะเล จะทำให้เกิดปรากฏการณ์แทนที่น้ำในลักษณะดังกล่าวอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง เกิดเป็นคลื่นสึนามิที่มีพลังงานมหาศาลและมีความเร็วสูงมาก ในระหว่างที่สึนามิเคลื่อนที่อยู่ในมหาสมุทรจะมีลักษณะเป็นคลื่นใต้น้ำ ที่เห็นเป็นเพียงระลอกสูงราว</span> 30 <span lang=\"TH\">เซนติเมตร ถึง </span>1 <span lang=\"TH\">เมตรเท่านั้น แต่เมื่อสึนามิเคลื่อนที่เข้าหาฝั่ง สู่เขตน้ำตื้น ความเร็วจะลดลง ในขณะที่ความสูงของคลื่นกลับยิ่งทวีขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\">เมื่อวันอาทิตย์ที่ </span>26 <span lang=\"TH\">ธันวาคม </span>2547 <span lang=\"TH\">เวลา </span>7:58:53 <span lang=\"TH\">ได้เกิดแผ่นดินไหวบริเวณใต้น้ำอย่างรุนแรง มีขนาดความรุนแรงระดับ </span>9 <span lang=\"TH\">ตามมาตราริคเตอร์ บริเวณเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ทำให้เกิดคลื่นสึนามิเคลื่อนเข้าสู่ชายฝั่งทะเลด้านทะเลอันดามันและชายฝั่ง ทะเลด้านตะวันออกของประเทศอินเดียและชายฝั่งทะเลของประเทศศรีลังกา รวมถึงทำให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล ในประเทศไทยเองก็ได้รับผลกระทบและก่อให้เกิดความเสียหายใน </span>6 <span lang=\"TH\">จังหวัดทางภาคใต้ได้แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล มีผู้เสียชีวิต ผู้บาดเจ็บและผู้สูญหายจากภัยพิบัติในครั้งนี้เป็นจำนวนมาก</span>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">แผ่นดินไหว</span></span></b><span lang=\"TH\"> เป็นปรากฎการณ์ธรรมชาติ เกิดจากการเคลื่อนตัวโดยฉับพลันของเปลือกโลก ส่วนใหญ่แผ่นดินไหวมักเกิดตรงบริเวณขอบ ของแผ่นเปลือกโลกเป็นแนวแผ่นดินไหวของโลก การเคลื่อนตัวดังกล่าว เกิดขึ้นเนื่องจากชั้นหินหลอมละลาย ที่อยู่ภายใต้เปลือกโลก ได้รับพลังงานความร้อนจากแกนโลก และลอยตัวผลักดันให้เปลือกโลกตอนบนตลอดเวลา ทำให้เปลือกโลกแต่ละชิ้นมีการเคลื่อนที่ในทิศทางต่าง ๆ กันพร้อมกับสะสมพลังงานไว้ภายใน บริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกจึงเป็นส่วนที่ชนกันเสียดสีกัน หรือแยกจากกัน หากบริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกใด ๆ ไม่ผ่านหรืออยู่ใกล้กับประเทศใดประเทศนั้น ก็จะมีความเสี่ยงต่อภัยแผ่นดินไหวสูง เช่น ประเทศญี่ปุ่น ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศอินโดนีเซีย นิวซีแลนด์ เป็นต้น</span> <b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ที่มา </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red\"><a href=\"http://www.rdi.ku.ac.th/exhibition/Year2548/01-KasetNational/Project/index_74.htm\">http://www.rdi.ku.ac.th/exhibition/Year<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2548/01-</span>KasetNational/Project/index_<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">74.</span>htm</a></span></b> <b><span style=\"font-size: 18pt; color: red\"><o:p> </o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 18pt; color: red\"><o:p> </o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 18pt; color: red\"><o:p> </o:p></span></b> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nคณะผู้จัดทำ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">1.นางสาว วรัญญา เวสูงเนิน เลขที่ 21<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><br />\n2.นางสาว ออลดา คงศรีดี เลขที่ 22<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><br />\n3.นางสาว จิราภรณ์ ประทุมทอง เลขที่ 23<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><br />\n4.นางสาวอลิสสา โมอ่อน เลขที่ 24<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><br />\n5.นาย เสฏฐวุฒิ อำมะลา เลขที่ 27<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><br />\n6.นางสาว ชลลดา เบ้าจรรยา เลขที่ 32<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 </span>\n</p>\n', created = 1715475123, expire = 1715561523, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9d90eb4ac7d396685d1b972bd6c307f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หน่วยการเรียนรู้ที่1

รูปภาพของ sila17271

หน่วยการเรียนรู้ที่1  เรื่องอิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ที่ทำให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติ  

 

ภูมิศาสตร์      เป็นเรื่องราวการบรรยายหรือพรรณนาเกี่ยวกับโลก ในปี ค.ศ. 1950 คณะกรรมการอภิธานศัพท์ภูมิศาสตร์ของอังกฤษ ได้ให้ความหมายภูมิศาสตร์ว่า เป็นศาสตร์ที่บรรยายเกี่ยวกับเปลือกโลก ในแง่ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์  ของ พื้นที่ต่าง ๆ พจนานุกรมอเมริกันได้กล่าวว่า ภูมิศาสตร์เป็นศาสตร์เกี่ยวกับความแตกต่างของพื้นผิวโลกในแง่ของ ลักษณะเด่น การกำหนดและความสัมพันธ์ระหว่างสารประกอบของโลก พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยได้ให้ความหมาย ภูมิศาสตร์ ไว้ว่า  เป็นศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม   ภูมิศาสตร์จึงเป็นศาสตร์มีความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมิติสัมพันธ์ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ       1. ภูมิศาสตร์กายภาพ    2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค    1. ภูมิศาสตร์กายภาพ  (Physical Geography) เป็น วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมทางกายภาพของมนุษย์และความ สัมพันธ์ของมัน เนื้อหาของวิชาจึงคาบเกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพหลายวิชาที่สำคัญ ได้แก่ วิชา อุตุนิยมวิทยา อากาศวิทยา สมุทรศาสตร์ ธรณีวิทยา ปฐพีวิทยา นิเวศน์วิทยาของพืช และธรณีสัณฐานวิทยา แต่วิชาภูมิศาสตร์กายภาพมิได้เป็นเพียงการนำเอาเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพสาขาต่าง ๆ มารวมกันเท่านั้น แต่ได้นำเอาเนื้อหาเหล่านี้มาผสมผสานกันในแง่ที่เป็นสภาพแวดล้อมที่มี อิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสาขาหนึ่งในวิชาภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์กายภาพเน้นความสัมพันธ์ทางพื้นที่ นั่นคือ เน้นการกระจายบนพื้นผิวโลกหรือที่เรียกว่า รูปแบบทางภูมิศาสตร์ (geographic pattern) ของ สภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นผลลัพธ์จากปฏิกิริยาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของธรรมชาติในบริเวณ ต่างๆ บนพื้นผิวโลก การศึกษารูปแบบทางภูมิศาสตร์ของสภาพแวดล้อมนี้ จะเป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นแก่นของระบบสภาพ แวดล้อมของโลก โครงสร้างและระบบกลไกการทำงานอันเป็นพื้นฐานของธรรมชาติมักถูกลืม ในยุคที่มนุษย์ต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมอย่างหนักเช่นในปัจจุบัน ความเข้าใจโครงสร้างของสภาพแวดล้อมอย่างกว้างๆ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกลไกการทำงานของขบวนการต่างๆในสภาพแวดล้อมจึงเป็น ประโยชน์อย่างมาก ได้แก่ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ       2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (Regional Geography) คือ การเข้าถึงระบบเทศสัมพันธ์ (Spatial interaction)ด้วย การแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ในการอธิบายผิวโลกที่มีมนุษย์อาศัยนั้น นักภูมิศาสตร์ใช้วิธีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นขนาดต่างๆ กันตามเกณฑ์และวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการกำหนดพื้นที่นั้นมีหลายอย่าง โดยทั่วไปต้องรวมเอาปัจจัยทางด้านกายภาพและวัฒนธรรมเข้าไว้ด้วยกัน นักภูมิศาสตร์นิยมแบ่งภูมิภาคออกตามระบบอากาศ เช่น ภูมิภาคเขตร้อนชื้น ภูมิภาคเขตอบอุ่น และภูมิภาคเขตทะเลทราย เป็นต้น หรือแบ่งภูมิภาคตามกลุ่มวัฒนธรรม คือ ยึดเอาเนื้อที่ของประเทศต่างๆ เป็นเกณฑ์ เพราะสะดวกในเรื่องข้อมูลภายในพื้นที่นั้น ในปัจจุบันได้มีการแบ่งภูมิภาคออกตามบทบาทหน้าที่เด่นของพื้นที่นั้น เช่น ภูมิภาคของเมืองหรือเขตที่เมืองมีอิทธิพลต่อบริเวณรอบนอกตลอดจนเขตบริการ ต่าง ๆ อันจัดเป็นภูมิภาคขนาดเล็กแต่ก็มีประสิทธิภาพในการจัดพื้นที่ (Hartshorne, 1959) ได้แก่ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม         องค์ประกอบของภูมิศาสตร์กายภาพแบ่งเป็น 3 ประการคือ  

  


           1. ลักษณะภูมิประเทศ  ลักษณะภูมิประเทศ  หมายถึง   ลักษณะของแผ่นดินที่อาจมีลักษณะสูงๆ ต่ำๆ เป็นภูเขาที่ราบ ที่ราบสูง  แม่น้ำ หนอง บึง ซึ่งลักษณะภูมิประเทศแต่ละแบบ ต่างมีความสำคัญต่อชีวิต  ความเป็นอยู่ของประชากรที่อาศัยในภูมิประเทศนั้น    ก่อให้เกิดอาชีพสำคัญต่างๆ  กันเช่น   บริเวณที่ราบลุ่มหรือ    ที่ราบริมฝั่งแม่น้ำ   มักมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น   มีอาชีพทำการประมง    และทำการเพาะปลูก เป็นอาชีพหลัก ส่วนบริเวณที่สูงหรือแถบเทือกเขา  มักมีประชากรเบาบางประกอบ อาชีพต่างๆกัน  เช่นทำป่าไม้ทำเหมืองแร่  หรือเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ตามแต่ทรัพยากร ในบริเวณนั้นๆ  จะอำนวยจากแผนที่แสดง   ลักษณะภูมิประเทศ   ของประเทศไทย  เราสามารถ  แบ่งลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทยได้เป็น  6 เขต คือ เขตภูเขา  และที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   เขตที่ราบ ภาคกลาง    เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก   เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่ง คาบสมุทรภาคใต้     และเขตภูเขาภาคตะวันตก   ลงสู่แม่น้ำสาละวิน   เขตภูเขา และที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ  
              2.ลักษณะภูมิอากาศ         ปัจจัย สำคัญที่มีอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้าอากาศของทวีปแอฟริกา คือ ความใกล้ ไกลทะเล มี กระแสน้ำอุ่นและเย็นเลียบรายฝั่ง อิทธิพลของลมประจำฤดูที่พัดผ่านตำแหน่งที่ตั้งของทวีปซึ่งตั้งอยู่ทั้งในซีก โลกเหนือและซีกโลกใต้ รวมทั้งมีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านเกือบตอนกลางของทวีป
               3 . ทรัพยากรธรรมชาติ 
        ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่จำเป็นแก่มนุษย์ ซึ่งได้มีการนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆมากมาย การที่มีการนำทรัพยากรไปใช้มากทำให้เกิดปัญหาตามมา การใช้ทรัพยากรอย่างผิดวิธี และการใช้อย่างสิ้นเปลือง อาจทำให้ทรัพยากรที่มีคุณค่าลดน้อยลงไปอย่างรวดเร็ว เราจึงควรีรู้จักประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติ รวมไปถึง วิธีอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ            มีการแบ่งทรัพยากรธรรมชาติ ออกเป็นหมวดหมู่ คือ 1. ดิน
2. น้ำ
3. ป่าไม้
4. แร่ธาตุ 
  และยังมีทรัพยากรประเภทที่ช่วยสร้างความสวยงามให้ธรรมชาติอีกก็คือ ทรัพยากรเพื่อการนันทนาการ   สภาพทางภูมิศาสตร์ที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติ   ภัยพิบัติทางธรรมชาติ หมายถึง มหันตภัยที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันเป็นการนำมาซึ่งการทำลายล้างทั้งชีวิตและทรัพย์สิน และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพดั้งเดิม โดยยากที่จะคาดการณ์ได้ (Webster’s New Encyclopedic Dictionary, 1994) ภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยจำแนกออกเป็น 8 ประเภท ประกอบด้วย
วาตภัย จำแนกได้ 2 ประเภท ดังนี้



1.1 วาตภัยจากพายุฤดูร้อน เกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน เกิดจากถูกกระแสอากาศกระทำให้ลอยขึ้นสู่เบื้องบนอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการกลั่นตัวของไอน้ำเป็นละอองน้ำและมีการเสียดสีระหว่างลิงน้ำกับอากาศจนเกิดประจุไฟฟ้า จึงทำให้ เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและอาจมีลูกเห็บทำความเสียหายได้ในบริเวณเล็กๆ ช่วงเวลาสั้นๆ ความเร็วลมประมาณ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง


1.2 วาตภัยจากพายุฤดูหมุนเขตร้อน จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน เป็นพายุที่เกิดขึ้นเหนือทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิกในเขตร้อน มีศูนย์กลางประมาณ 200 กิโลเมตร มีลมพัดเวียนรอบศูนย์กลางทิศทวนเข็มนาฬิกาในซึกโลกเหนือ ศูนย์กลางเป็นวงกลมประมาณ 15-60 กิโลเมตร
อุทกภัย เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน มีสาเหตุจาก พายุหมุนเขตร้อน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังแรง ร่องความกดอากาศต่ำกำลังแรง และแผ่นดินไหวทำให้เขื่อนแตก อุทกภัยแบ่งได้ 2 ประเภท


1.1 อุทกภัยจากน้ำบ่าไหลหลากและน้ำท่วมฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนักติดต่อกันหลายชั่วโมง ดินซึมซาบน้ำไม่ทัน น้ำฝนไหลบ่าเหนือผิวดินลงสู่พื้นราบอย่างรวดเร็ว ความแรงของน้ำทำลายต้นไม้ อาคาร ถนน สะพาน ชีวิต ทรัพย์สิน
1.2 อุทกภัยจากน้ำท่วมขังและน้ำเอ่อนอง เกิดจากน้ำในแม่น้ำ ลำธารล้นตลิ่ง มีระดับสูงเกินจากสภาวะปกติ ท่วมและแช่ขัง ทำให้การคมนาคมชะงัก เกิดโรคระบาด ทำลายสาธารณูปโภค และพืชผลการเกษตร

ทุกขภิกขภัย ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจาก ฝนแล้ง ไม่ตกตามฤดูกาล มีสาเหตุจาก พายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านประเทศไทยน้อย ร่องความกดอากาศต่ำมีกำลังอ่อน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังอ่อน เกิดสภาวะฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน หรือเกิดปรากฏการณ์เอลนิโนรุนแรง ทำให้ฝนน้อยกว่าปกติ ทำให้ผลผลิตการเกษตรเสียหาย

พายุฝนฟ้าคะนอง ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากฝนฟ้าคะนอง และลมแรง อากาศร้อนลอยสูงขึ้น อากาศข้างเคียงไหลเข้ามาแทนที่ ไอน้ำกลั่นตัวเป็นเมฆ ทวีความสูงมากขึ้น มองเห็นคล้ายทั่งตีเหล็กสีเทาเข้ม มีฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง บางครั้งมีลูกเห็บ หากตกต่อเนื่องหลายชั่วโมง อาจเกิดน้ำป่าไหลหลาก น้ำท่วมฉับพลัน อาจ เกิดพายุลมหมุนหรือ พายุงวงช้างมีลมแรงมาก ทำความเสียหายบริเวณที่เคลื่อนผ่าน

แผ่นดินไหว ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยพลังงานใต้พิภพ จากการเกิดภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินเลื่อน แผ่นดินถล่ม และเกิดจากมนุษย์ เช่นระเบิดปรมาณู แผ่นดินไหวในประเทศไทยมักเกิดขึ้นบริเวณภาคเหนือ มักเกิดแผ่นดินไหวขนาด 3-4 ริกเตอร์ และเคยเกิดขนาดใหญ่สุดที่บันทึกได้ 5.6 ริกเตอร์ ที่ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก วันที่ 17 ก.พ.2518
แผ่นดินถล่ม การเคลื่อนที่ของแผ่นดินและกระบวนการซึ่งเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดินและหิน เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก ตามความลาดชันของลาดเขา

ไฟป่า ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากมนุษย์เป็นส่วนมาก ได้แก่การเผาหาของป่า เผาทำไร่เลื่อนลอย เผากำจัดวัชพืช ส่วนน้อยที่เกิดจากการเสียดสีของต้นไม้แห้ง ปลายเดือนกุมภาพันธ์-ต้นพฤษภาคม ทำให้เกิดมลพิษในอากาศมากขึ้น ผงฝุ่น ควันไฟกระจายในอากาศทั่วไป ไม่สามารถลอยขึ้นเบื้องบนได้ มองเห็นไม่จัดเจน สุขภาพเสื่อม พืชผลการเกษตรด้อยคุณภาพ แหล่งทรัพยากรลดลง
สึนามิ (Tsunami) เป็นคลื่นขนาดยักษ์ที่เกิดจากการแทนที่น้ำอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเกิดการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ในลักษณะเดียวกันกับการโยนก้อนหินลงในน้ำ แล้วเกิดระลอกคลื่นแผ่ออกจากจุดที่ก้อนหินตกกระทบ ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง ได้แก่ ภูเขาไฟระเบิดในทะเล แผ่นดินไหวหรือแผ่นดินถล่มในทะเล และอุกกาบาต หรือดาวหางที่ตกลงในทะเล จะทำให้เกิดปรากฏการณ์แทนที่น้ำในลักษณะดังกล่าวอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง เกิดเป็นคลื่นสึนามิที่มีพลังงานมหาศาลและมีความเร็วสูงมาก ในระหว่างที่สึนามิเคลื่อนที่อยู่ในมหาสมุทรจะมีลักษณะเป็นคลื่นใต้น้ำ ที่เห็นเป็นเพียงระลอกสูงราว 30 เซนติเมตร ถึง 1 เมตรเท่านั้น แต่เมื่อสึนามิเคลื่อนที่เข้าหาฝั่ง สู่เขตน้ำตื้น ความเร็วจะลดลง ในขณะที่ความสูงของคลื่นกลับยิ่งทวีขึ้น

เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2547 เวลา 7:58:53 ได้เกิดแผ่นดินไหวบริเวณใต้น้ำอย่างรุนแรง มีขนาดความรุนแรงระดับ 9 ตามมาตราริคเตอร์ บริเวณเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ทำให้เกิดคลื่นสึนามิเคลื่อนเข้าสู่ชายฝั่งทะเลด้านทะเลอันดามันและชายฝั่ง ทะเลด้านตะวันออกของประเทศอินเดียและชายฝั่งทะเลของประเทศศรีลังกา รวมถึงทำให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล ในประเทศไทยเองก็ได้รับผลกระทบและก่อให้เกิดความเสียหายใน 6 จังหวัดทางภาคใต้ได้แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล มีผู้เสียชีวิต ผู้บาดเจ็บและผู้สูญหายจากภัยพิบัติในครั้งนี้เป็นจำนวนมาก

 แผ่นดินไหว เป็นปรากฎการณ์ธรรมชาติ เกิดจากการเคลื่อนตัวโดยฉับพลันของเปลือกโลก ส่วนใหญ่แผ่นดินไหวมักเกิดตรงบริเวณขอบ ของแผ่นเปลือกโลกเป็นแนวแผ่นดินไหวของโลก การเคลื่อนตัวดังกล่าว เกิดขึ้นเนื่องจากชั้นหินหลอมละลาย ที่อยู่ภายใต้เปลือกโลก ได้รับพลังงานความร้อนจากแกนโลก และลอยตัวผลักดันให้เปลือกโลกตอนบนตลอดเวลา ทำให้เปลือกโลกแต่ละชิ้นมีการเคลื่อนที่ในทิศทางต่าง ๆ กันพร้อมกับสะสมพลังงานไว้ภายใน บริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกจึงเป็นส่วนที่ชนกันเสียดสีกัน หรือแยกจากกัน หากบริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกใด ๆ ไม่ผ่านหรืออยู่ใกล้กับประเทศใดประเทศนั้น ก็จะมีความเสี่ยงต่อภัยแผ่นดินไหวสูง เช่น ประเทศญี่ปุ่น ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศอินโดนีเซีย นิวซีแลนด์ เป็นต้น  ที่มา http://www.rdi.ku.ac.th/exhibition/Year2548/01-KasetNational/Project/index_74.htm      

 

คณะผู้จัดทำ

1.นางสาว วรัญญา เวสูงเนิน เลขที่ 21


2.นางสาว ออลดา คงศรีดี เลขที่ 22


3.นางสาว จิราภรณ์ ประทุมทอง เลขที่ 23


4.นางสาวอลิสสา โมอ่อน เลขที่ 24


5.นาย เสฏฐวุฒิ อำมะลา เลขที่ 27


6.นางสาว ชลลดา เบ้าจรรยา เลขที่ 32

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3

รูปภาพของ silavacharee

Kiss

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 294 คน กำลังออนไลน์